The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

00วิเคราะห์หลักสูตรวิทย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chantapichaya, 2022-09-16 02:06:37

00วิเคราะห์หลักสูตรวิทย์

00วิเคราะห์หลักสูตรวิทย์

วเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

ครผู ูส้ อน
นางสาวฉันทพชิ ญา รัตนบตุ ร

โรงเรยี นวดั ควนชะลกิ อาเภอหัวไทร
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 3
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ

กระบวนการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.
256๑) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 เลม่ น้จี ดั ทำ
ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และวางแผนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม

ทั้งนี้ทางผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากระบวนวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนและสามารถพัฒนาองค์ความรู้ผู้เรียนให้ประสบผลสำเร็จ
ตามจุดประสงค์ของหลักสตู รต่อไป

ฉันทพชิ ญา รัตนบุตร

สารบัญ ข

เรอ่ื ง หน้า

สรปุ หลกั สูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1
เป้าหมายของวทิ ยาศาสตร์ 2
ความสำคัญของสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2
วสิ ัยทศั น์ หลกั การ จุดหมาย 4
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 5
คุณภาพผ้เู รียน 6
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 9
สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ารเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10
โครงสรา้ งเวลาเรียน 12
ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 13
โครงสรา้ งรายวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 22
คำอธบิ ายรายวชิ า 39
กำหนดหน่วยการเรียนรู้ 40



สรุปหลกั สตู รฯ กกลลมุ่ มุ่ สสาราะรกะารกเรายี รนเรรู้วยีิทนยารศูว้าสิทตยร์าศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี ได้กำหนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น
4 สาระ ไดแ้ ก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลกและ
อวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และ
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

องคป์ ระกอบของหลกั สูตร ทั้งในด้านของเนอ้ื หา การจดั การเรียนการสอน และการวดั และประเมินผล
การเรียนรนู้ ้นั มีความสำคญั อย่างยงิ่ ในการวางรากฐานการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรข์ องผู้เรยี นในแตล่ ะระดับช้ันให้มี
ความต่อเน่ืองเชื่อมโยงกนั ตัง้ แต่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 จนถงึ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเป็น
พื้นฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้นี้ไปใช้ในการดำรงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชพี ที่ต้องใชว้ ิทยาศาสตร์ได้ โดย
จัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิด
วิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการ
ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
ตดั สินใจโดยใช้ขอ้ มลู หลากหลายและประจักษ์พยานทตี่ รวจสอบได้

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพือ่ ให้มคี วามสอดคลอ้ ง
และเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย
นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพือ่ ให้มีความทันสมัยตอ่ การเปลี่ยนแปลงและความเจรญิ ก้าวหน้าของวิทยาการต่าง
ๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ ซ่งึ สรุปได้ ดังแผนภาพ

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1-ว 2.3

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 1.1-ว 1.3 และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 3.1-ว 3.2

วทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม - สาระชวี วทิ ยา สาระท่ี 4 เทคโนโลยี - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
มาตรฐาน ว 4.1-ว 4.2

- สาระเคมี - สาระฟสิ กิ ส์



เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์

ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนไดค้ ้นพบความรู้ดว้ ยตนเองมากท่ีสุด เพื่อให้ได้
ทง้ั กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แลว้ นำผลทไ่ี ดม้ าจัดระบบเป็น
หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้

การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จงึ มเี ปา้ หมายทส่ี ำคญั ดังนี้
๑. เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการ ทฤษฎีและกฎท่เี ป็นพื้นฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์
๒. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษาวิชา
วิทยาศาสตร์
๓. เพ่อื ให้มีทกั ษะทส่ี ำคญั ในการศึกษาค้นคว้าและคดิ ค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ
สภาพแวดลอ้ มในเชงิ ทมี่ ีอิทธิพลและผลกระทบซึ่งกันและกนั
๕. เพือ่ นำความรู้ ความเข้าใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสังคม
และการดำรงชีวติ
๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ
ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ
๗. เพือ่ ให้เป็นผ้ทู ีม่ จี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

ความสำคญั ของสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรม์ งุ่ เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นได้ค้นพบความรู้ดว้ ยตนเองมากทสี่ ดุ เพ่อื ใหไ้ ด้ทงั้
กระบวนการและความรู้ จากวธิ ีการสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลทีไ่ ด้มาจดั ระบบ
เป็นหลกั การ แนวคิด และองค์ความรู้
การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจ์ งึ มเี ปา้ หมายท่ีสำคญั ดงั น้ี

๑. เพื่อใหเ้ ข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎท่เี ปน็ พนื้ ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์
๒. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวชิ าวทิ ยาศาสตร์และข้อจำกดั ในการศกึ ษาวิชาวทิ ยาศาสตร์
๓. เพ่อื ให้มีทกั ษะทสี่ ำคญั ในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยี
๔. เพ่อื ใหต้ ระหนักถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์ แลสภาพแวดลอ้ ม
ในเชิงที่มอี ิทธิพลและผลกระทบซง่ึ กันและกนั
๕. เพื่อนำความรู้ ความเขา้ ใจ ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสงั คมและ
การดำรงชวี ติ
๖. เพ่อื พฒั นากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทกั ษะ
ในการส่อื สาร และความสามารถในการตัดสินใจ
๗. เพ่อื ให้เปน็ ผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มในการใช้วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์



ทำไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับ
ทุกคนทง้ั ในชีวิตประจำวันและการงานอาชพี ต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครอื่ งมือเคร่ืองใชแ้ ละผลผลิตต่าง ๆ
ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์
ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อืน่ ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ ได้พัฒนาวิธคี ดิ ทั้งความคิดเป็น
เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวเิ คราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคญั ในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถใน
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมลู ที่หลากหลายและมีประจกั ษ์พยานที่ตรวจสอบได้
วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซ่ ึง่ เปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ (knowledge-based society) ดังนั้น
ทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาใหร้ ู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือทีจ่ ะมคี วามรคู้ วามเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี
ท่มี นุษยส์ รา้ งสรรค์ข้นึ สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมเี หตผุ ล สรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม

เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์มุ่งหวงั ให้ผู้เรียนได้เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ท่เี นน้ การเชื่อมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปญั หาท่หี ลากหลาย ใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มกี ารทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏบิ ัติ
จรงิ อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชัน้ โดยกำหนดสาระสำคญั ดงั นี้

- วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิต
ของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สงิ่ มชี ีวติ

- วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนที่
พลังงาน และคลน่ื

- วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ เรยี นรู้เกีย่ วกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสมั พนั ธ์ภายในระบบ
สรุ ิยะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สง่ิ มีชวี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

- เทคโนโลยี

การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นร้เู ก่ียวกับเทคโนโลยเี พื่อการดำรงชวี ติ ในสงั คมทมี่ กี าร
เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่นื ๆ เพ่ือ
แกป้ ญั หาหรอื พัฒนาอย่างมคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี
อย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

วทิ ยาการคำนวณ เรียนรเู้ ก่ียวกบั การคดิ เชิงคำนวณ การคดิ วิเคราะห์ แกป้ ญั หาเป็นข้นั ตอน
และเป็นระบบ ประยกุ ต์ใช้ความร้ดู า้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร ในการ
แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจรงิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ



วิสยั ทัศน์ หลกั การ จุดหมาย

วสิ ัยทัศน์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มุ่งให้ผู้เรียน มีความสามารถในการเรียนรู้ กระบวนการสืบเสาะหา

ความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา โดยใช้ทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ รวมท้ังพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีเจตคติ
คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมท่ีเหมาะสมตอ่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและสิ่งแวดล้อม

หลกั การ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดควนชะลิก ได้ใช้หลักการพัฒนาหลักสูตรตามแบบของหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานซงึ่ มีหลักการทีส่ ำคัญ ดงั นี้
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้

เปน็ เปา้ หมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ คี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพืน้ ฐาน ของความเป็น
ไทยควบค่กู บั ความเปน็ สากล

๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิ่น

๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่มี ีโครงสรา้ งยืดหย่นุ ทง้ั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัด
การเรียนรู้

๕. เป็นหลกั สตู รการศึกษาทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรสถานศึกษามีความมุ่งหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มศี ักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปน็ จดุ หมายเพือ่ ให้เกิดกับผู้เรียน เมอ่ื จบการศกึ ษา
ขน้ั พืน้ ฐาน ดังนี้

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต
๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นิสยั และรกั การออกกำลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวติ และการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มจี ติ สาธารณะทีม่ ุง่ ทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งทดี่ งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสขุ



เป้าประสงค์
๑. จดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รการศกึ ษา และมาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐานอยา่ งเขม้ แข็ง
๒. ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สำนึกในความเป็นไทยมีความรู้ และทักษะด้านอาชีพ

มคี วามสามารถด้านการคดิ วเิ คราะห์ มีสุขภาพอนามยั ดี ดำรงชีวติ โดยใชป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓. ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาใหม้ มี าตรฐานตามมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
๔. ผ้เู รยี นไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาท่มี คี ุณภาพอย่างทว่ั ถึง และเท่าเทยี มกนั ท้ังเดก็ ปกติ เดก็ ด้อยโอกาส

และเดก็ พิเศษ
๕. ครเู ป็นครูยุคใหมเ่ ป็นครูมอื อาชพี มีความทันสมัย กระตอื รอื รน้ มีสมรรถนะในการทำงานสูง
๖. โรงเรยี นมคี วามพรอ้ มทางด้านกายภาพ อาคารสถานท่ี สภาพแวดลอ้ ม เปน็ ระเบยี บ สะอาด รม่ รน่ื

สวยงามและปลอดภยั
๗. โรงเรียนมีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และการมีส่วนร่วมของชุมชน

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ และองคก์ รอื่นๆ

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดควนชะลิก (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๓)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานทก่ี ำหนด ซึง่ จะชว่ ยให้ผ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดควนชะลิก (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๓) มุ่งให้ผู้เรียนเกิด

สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสังคม การเลือกรบั หรอื ไม่รับข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพือ่ นำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่ือการตดั สินใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมีกาตัดสนิ ใจที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น



๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี า้ นต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดควนชะลิก (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอย่รู ่วมกับผูอ้ ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รกั ษช์ าติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซ่ือสตั ย์สุจรติ
๓. มวี ินัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุง่ มัน่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ เป็นสาธารณะ

คณุ ภาพผเู้ รยี น

จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

❖ เขา้ ใจลกั ษณะทป่ี รากฏ ชนิดและสมบัตบิ างประการของวสั ดทุ ่ีใชท้ ำวตั ถุ และการเปล่ียนแปลง
ของวสั ดุรอบตวั

❖ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนทีข่ อง
วตั ถุ พลงั งานไฟฟา้ และการผลติ ไฟฟา้ การเกิดเสยี ง แสงและการมองเห็น

❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของ 8 ดวง
อาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์
ลักษณะและความสำคญั ของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชน์และโทษของลม

❖ ตง้ั คำถามหรอื กำหนดปัญหาเกี่ยวกับส่ิงทจ่ี ะเรียนรตู้ ามทกี่ ำหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต
สำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมขอ้ มูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบดว้ ยการ
เขียนหรือวาดภาพ และสือ่ สารสงิ่ ท่เี รียนรู้ดว้ ยการเลา่ เรื่อง หรือดว้ ยการแสดงท่าทางเพ่ือใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ

❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสารเบ้อื งตน้ รกั ษาข้อมลู สว่ นตวั

❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคดิ สร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี
กำหนดให้หรือตามความสนใจ มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรับฟงั ความคิดเห็นผู้อื่น

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด
ซ่ือสัตย์ จนงานลลุ ว่ งเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผูอ้ ่ืนอยา่ งมีความสขุ

❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
ศึกษาหาความร้เู พม่ิ เติม ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามท่ีกำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ



จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

❖ เข้าใจโครงสรา้ ง ลกั ษณะเฉพาะและการปรบั ตวั ของสง่ิ มชี ีวติ รวมทงั้ ความสัมพันธ์ของส่ิงมชี วี ติ
ในแหลง่ ทอ่ี ยู่ การทำหน้าทขี่ องส่วนตา่ ง ๆ ของพืช และการทำงานของระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์

❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสารการละลาย
การเปล่ียนแปลงทางเคมี การเปล่ียนแปลงท่ผี นั กลบั ได้และผันกลบั ไม่ได้ และการแยกสารอย่างง่าย

❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลก แรงลพั ธ์ แรงเสยี ดทาน แรงไฟฟา้ และผลของแรงตา่ งๆ
ผลท่เี กิดจากแรงกระทำตอ่ วตั ถุ ความดัน หลกั การทม่ี ตี ่อวัตถุ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ปรากฏการณเ์ บ้ืองต้นของ
เสียง และแสง

❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
องคป์ ระกอบของระบบสรุ ิยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และ ดาวฤกษ์ การ
ขึน้ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์ การใชแ้ ผนทีด่ าว การเกดิ อปุ ราคา พฒั นาการและประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของแหล่งนำ้ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง หยาด
น้ำฟ้า กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก
ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก

❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผล
เชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าที่
ของตน เคารพสิทธขิ องผ้อู ่ืน

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ
คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บ
รวบรวมข้อมลู ทัง้ เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ

❖ วเิ คราะหข์ ้อมลู ลงความเหน็ และสรุปความสัมพนั ธข์ องขอ้ มูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รูปแบบทเ่ี หมาะสม เพอื่ ส่อื สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ลและหลกั ฐานอ้างองิ

❖ แสดงถงึ ความสนใจ มุ่งมน่ั ในส่ิงที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรคเ์ กยี่ วกับเรื่องท่ีจะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คดิ เห็นผู้อ่นื

❖ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด
ซื่อสตั ย์ จนงานลุล่วงเป็นผลสำเร็จ และทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื อย่างสรา้ งสรรค์

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามทก่ี ำหนดให้หรือตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากร
ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอยา่ งรคู้ ณุ คา่



จบชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3

❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำงานของ
ระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายมนษุ ย์ การดำรงชีวติ ของพชื การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงของ
ยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการ
ถา่ ยทอดพลังงานในสง่ิ มีชีวติ

❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธิ์ สารผสม หลักการแยกสาร
การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ
สมบตั ิทางกายภาพ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุประเภท พอลเิ มอร์ เซรามิกสแ์ ละวสั ดผุ สม

❖ เข้าใจการเคล่ือนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงที่ปรากฏ
ในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์
พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธข์ องปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
พลงั งานไฟฟ้า และหลักการเบอื้ งตน้ ของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์

❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคลื่นแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเหของแสง
และทัศนปู กรณ์

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวง
อาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชน์ของเทคโนโลยี
อวกาศ และความกา้ วหนา้ ของโครงการสำรวจอวกาศ

❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยทีม่ ีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ
ผลกระทบของพายฟุ า้ คะนอง พายหุ มนุ เขตรอ้ น การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ
โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์
ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน
กระบวนการเกิดดนิ แหลง่ น้ำผิวดนิ แหลง่ น้ำใตด้ ิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภัยธรรมชาติ และธรณี
พิบัตภิ ยั

❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ ื่น โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณติ ศาสตร์ วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ
และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ
อาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้ังคำนึงถงึ ทรัพยส์ ินทางปญั ญา

❖ นำขอ้ มูลปฐมภมู ิเข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ วเิ คราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้
ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย
เพ่ือช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารอย่างรู้เท่าทันและรับผิดชอบตอ่ สังคม

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มี
การกำหนดและควบคุมตวั แปร คดิ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมตฐิ านทีส่ ามารถนำไปสกู่ ารสำรวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ



เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภยั

❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบจาก
พยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและส่ือสาร
ความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อ่ืน
เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิด
สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง
เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเห็นผู้อืน่
และยอมรบั การเปล่ยี นแปลงความรทู้ คี่ น้ พบ เม่อื มีข้อมลู และประจกั ษพ์ ยานใหม่เพม่ิ ขึน้ หรอื โต้แยง้ จากเดิม

❖ ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีท่ใี ช้ในชีวติ ประจำวัน ใช้ความรู้
และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม
ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทาง
วิทยาศาสตรต์ ่อส่ิงแวดล้อมและตอ่ บริบทอ่นื ๆ และศึกษาหาความร้เู พ่มิ เตมิ ทำโครงงานหรือสร้างชิน้ งาน
ตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
และความหลากหลายทางชวี ภาพ

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เป็นทักษะการคิดของนกั วิทยาศาสตร์ท่ีนำมาใชใ้ นการศึกษาค้นคว้า สบื เสาะหาความรู้ และแก้ปัญหา
ตา่ งๆ ทักษะกระบวนทางวทิ ยาศาสตร์ ข้ันพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ดงั นี้

1.ทักษะการสังเกต
เปน็ การใชป้ ระสาทสมั ผัสทงั้ 5 อยา่ งใด อยา่ งหนงึ่ หรือ ใช้หลายอยา่ งร่วมกนั ไดแ้ ก่ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย
เพอ่ื ค้นหาและบอกรายละเอียดของส่ิงต่าง ๆ ท่ีสงั เกต โดยที่ไมใ่ สค่ วามคดิ เห็นของผสู้ งั เกตลงไป

2.ทักษะการจำแนกประเภท
เป็นการแบ่งพวก การจัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ หรือการเรียงลำดับ วัตถุ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆออกเป็นหมวดหมู่
โดยใช้ความเหมือนกันหรือ ความแตกต่างกัน มาเป็นเกณฑ์ในการจำแนกวัตถุ เหตุการณ์ หรือสิ่งต่าง ๆ ออก
จากกนั

3.ทักษะการวดั
เป็นการเลือกและการใช้เครอ่ื งมือต่าง ๆ เพอ่ื หาคา่ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ ออกมาเป็นตวั เลขได้ถูกตอ้ งและเหมาะสม กบั
สิง่ ท่ตี ้องการวัดรวมทงั้ บอกหรอื ระบุหนว่ ยของตัวเลขท่ีได้มาจากการวัดอย่างถกู ตอ้ ง

๑๐

4.ทักษะการใชจ้ ำนวน
เป็นการใช้ความรู้สึกเชิงจำนวนและการคำนวณ โดยการนับจำนวนหรือคิดคำนวณเพื่อบรรยายหรือระบุ
รายละเอียดเชิงปรมิ าณของสงิ่ ท่สี งั เกตหรอื ทดลองได้

5.ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู
เป็นการใช้ความคิดเห็นจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม เพื่ออธิบายข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผล
โดยอาศัยข้อมลู หรือสารสนเทศทเ่ี คยเกบ็ รวบรวมไวใ้ นอดีต

6.ทักษะการจัดกระทำและสอ่ื ความหมายข้อมลู
เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากวิธีการต่าง ๆ มาจัดกระทำให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายหรือ มี
ความสัมพันธ์กันมากขึ้น รวมทั้งนำข้อมูลมาจัดกระทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ
การเขยี นบรรยาย สมการ เพือ่ ให้ผอู้ ืน่ เข้าใจความหมายได้ง่ายขนึ้

7.ทกั ษะการหาความสมั พนั ธ์ของสเปซกับเวลา แบง่ ได้ 2 แบบคือ
การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ เป็นการหาความสมั พันธร์ ะหว่างพนื้ ทีท่ วี่ ตั ถตุ ่าง ๆ ครอบครองอยู่
การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับเวลา เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ที่วัตถุครอบครอง เมื่อเวลา
ผา่ นไป

8.ทกั ษะการพยากรณ์
เป็นการคาดคะเนผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสังเกตหรือการทดลองไว้ล่วงหน้า โดยอาศัย
ขอ้ มูล หรอื ประสบการณ์ของเร่ืองน้ัน ทีเ่ กิดซ้ำ ๆ เป็นแบบรปู มาชว่ ยในการคาดการณ์สงิ่ ท่ีจะเกิดขึ้นสาระและ
มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ

สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งนำความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่มี ผี ลตอ่ สงิ่ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ
สงิ่ มีชวี ิต รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

๑๑

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะการ
เคลอื่ นที่แบบต่างๆของวตั ถุ รวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่าง
สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และ
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ิภัย กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศแลภูมิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อ
ส่งิ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง

อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รูเ้ ท่าทัน และมีจริยธรรม

๑๒

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดควนชะลิก

เวลาเรยี น(ช่วั โมง/ป)ี

กลมุ่ สาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม ระดบั ประถมศกึ ษา

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓

 กลุม่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

วิทยาการคำนวณ - - - - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐

สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

ประวตั ิศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐

การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

ภาษาตา่ งประเทศ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐

 รายวชิ าเพม่ิ เติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
หน้าท่ีพลเมอื ง - - - - - - ๘๐ ๘๐ ๘๐
การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ - - - - - - ๔๐ - -
เศรษฐกจิ พอเพียง - - - - - - ๔๐ - -
การปลกู พชื ผักสวนครวั - - - - - - - ๔๐
เกษตรทฤษฎใี หม่ - - - - - - - ๔๐
การเลย้ี งปลาน้ำจืด - ------ ๔๐
การทำปยุ๋ หมกั ชีวภาพ - ------ ๔๐
การแปรรูปอาหาร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
รวมเวลาเรยี น (เพิม่ เติม) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กิจกรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๒๕ ๒๕ ๒๕
กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมลูกเสอื /เนตรนารี
- ชุมนุม

กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๕ ๑๕
สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี ๑,๒๐๐ ช่วั โมง/ปี

หมายเหตุ วชิ าภาษาอังกฤษ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ - ๓ จดั การเรียนการสอนเป็นรายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๖๐ ช่ัวโมงตอ่ ปี และ
จัดเป็นกิจกรรมเสริมหลักสตู ร ๔๐ ชว่ั โมงต่อปี รวมเวลาเรยี นวิชาภาษาอังกฤษทั้งหมด จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง

๑๓

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ ไม่มชี ีวิตกับสง่ิ มีชวี ติ และ

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชีวิตกบั สิง่ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การ

เปลย่ี นแปลงแทนท่ใี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบทม่ี ีต่อ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการ

แก้ไขปญั หาสง่ิ แวดล้อมรวมทัง้ นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

-- -

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวติ หน่วยพืน้ ฐานของส่ิงมีชวี ติ การลาเลยี งสารผ่านเซลลค์ วามสมั พนั ธ์

ของโครงสร้าง และหนา้ ทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ทที่ ำงานสัมพันธก์ นั
ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธก์ ันรวมท้งั
นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.6 ว 1.2 ป 6/1ระบสุ ารอาหาร - สารอาหารทีอ่ ยใู่ นอาหารมี 6 ประเภท
และบอกประโยชน์ของ ได้แก่ คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั เกลอื แร่ วติ ามินและนำ้
สารอาหารแตล่ ะประเภท - อาหารแตล่ ะชนดิ ประกอบดว้ ยสารอาหาร ที่ แตกตา่ งกนั
จากอาหารทต่ี นเอง อาหารบางอยา่ งประกอบดว้ ยสารอาหารประเภทเดียว
รับประทาน อาหารบางย่างประกอบด้วยสารอาหารมากกวา่ หน่งึ ประเภท
ว 1.2 ป 6/2บอกแนวทาง - สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ตอ่ รา่ งกายแตกต่างกัน
ในการเลอื กรับประทาน โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และไขมนั เป็นสารอาหารที่ให้
อาหารใหไ้ ดส้ ารอาหาร พลงั งานแก่รา่ งกาย สว่ นเกลอื แร่ วติ ามินและน้ำ เปน็
ครบถ้วนในสัดส่วนที่ สารอาหารที่ไมใ่ ห้พลงั งานแก่รา่ งกาย แตช่ ว่ ยให้รา่ งกาย
เหมาะสมกบั เพศและวยั ทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ – การรบั ประทานอาหารเพอื่ ใหร้ ่างกาย
รวมท้ังความปลอดภัยตอ่ เจริญ เติบโต มกี ารเปล่ียนแปลงของร่างกายตามเพศและวัย
สุขภาพ และ มสี ขุ ภาพดี จำเป็นต้องรับประทานใหไ้ ดพ้ ลงั งาน
ว 1.2 ป 6/3 ตระหนกั ถึง เพยี งพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย และใหไ้ ดส้ ารอาหาร
ความสำคญั ของสารอาหาร ครบถ้วนในสดั สว่ นท่เี หมาะสมกบั เพศ และวัย รวมทัง้ ตอ้ ง
โดยการเลอื กรับประทาน คำนงึ ถึงชนดิ และปริมาณของวัตถุ เจือปนในอาหารเพือ่ ความ
อาหารท่มี สี ารอำหาร ปลอดภัยต่อสขุ ภาพ

ครบถ้วนในสัดสว่ นที่
เหมาะสมกับเพศและวัย
รวมทง้ั ปลอดภัยตอ่ สุขภาพ

๑๔

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.6 ว 1.2 ป 6/4 สรา้ ง - ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวยั วะต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ปาก
แบบจำลองระบบย่อย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไสเ้ ล็ก ลำไสใ้ หญ่ ทวาร
อาหาร และบรรยายหนา้ ท่ี หนกั ตบั และตับอ่อน ซึ่งทำหน้าทีร่ ว่ มกนั ในการยอ่ ยและดดู
ของอวัยวะในระบบย่อย ซึมสารอาหาร
อาหาร รวมท้ังอธบิ ายการ - ปาก มฟี ันชว่ ยบดเคยี้ วอำหารใหม้ ีขนาดเล็กลงและมลี ้ินช่วย
ยอ่ ยอาหารและการดดู ซึม คลกุ เคลา้ อาหารกบั นำ้ ลาย ในนำ้ ลาย มเี อนไซมย์ ่อยแป้งให้
สารอาหาร เป็นน้ำตาล
– หลอดอาหาร ทำหน้าทล่ี ำเลยี งอาหารจากปาก ไปยัง
กระเพาะอาหาร ภายในกระเพาะอาหารมกี ารย่อยโปรตีนโดย
กรดและเอนไซมท์ ส่ี ร้างจากกระเพาะอาหาร
- ลำไสเ้ ล็กมเี อนไซม์ที่สร้างจากผนังลำไส้เล็กเองและจากตับ
ออ่ นท่ีช่วยย่อยโปรตีน คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั โดยโปรตีน
คารโ์ บไฮเดรต และไขมนั ท่ผี า่ นการยอ่ ยจนเป็นสารอาหาร
ขนาดเลก็ พอท่จี ะ ดูดซมึ ได้ รวมถึงนำ้ เกลอื แร่ และวติ ามิน
จะ
ถกู ดูดซมึ ทีผ่ นังลำไส้เล็กเขา้ สู่กระแสเลอื ด เพื่อลำเลียงไปยัง
สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย ซงึ่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมนั
จะถกู นำไปใช้เป็นแหลง่ พลังงานสำหรับใชใ้ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ส่วนนำ้ เกลอื แร่ และวติ ามิน จะชว่ ยใหร้ ่างกายทำงานไดเ้ ปน็
ปกติ
- ตับสรา้ งน้ำดแี ลว้ สง่ มายงั ลำไส้เลก็ ช่วยใหไ้ ขมันแตกตวั
- ลำไสใ้ หญท่ ำหน้าทด่ี ดู นำ้ และเกลือแร่ เปน็ บริเวณที่มี
อาหารทยี่ อ่ ยไม่ได้ หรอื ยอ่ ยไม่หมด เปน็ กากอาหาร ซึ่งจะถูก
กำจดั ออกทางทวารหนัก
- อวยั วะตา่ ง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหาร
มีความสำคัญ จงึ ควรปฏบิ ัตติ น ดูแลรกั ษาอวัยวะใหท้ ำงาน
เปน็ ปกติ

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลีย่ นแปลงทางพันธกุ รรมทมี่ ีผลตอ่ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและ
ววิ ฒั นาการของสิง่ มชี ีวติ รวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

-- -

๑๕

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั
โครงสร้างและแรงยดึ เหนีย่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี
ชนั้ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.6 ว 2.1 ป 6/1อธบิ ายและ - สารผสมประกอบด้วยสารตง้ั แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไปผสมกัน เช่น
เปรยี บเทยี บการแยกสาร นำ้ มนั ผสมน้ำ ขา้ วสารปนกรวดทราย วธิ ีการ ท่ีเหมาะสมใน
ผสม โดยการหยิบออก การ การแยกสารผสมข้นึ อยกู่ บั ลกั ษณะและสมบัติของสารท่ผี สม
รอ่ น การใช้แมเ่ หลก็ ดึงดดู กนั ถา้ องค์ประกอบของสารผสมเปน็ ของแขง็ กับของแขง็ ท่มี ี
การรินออก การกรอง และ ขนาดแตกตา่ งกันอยา่ งชดั เจน อาจใช้วธิ กี ารหยิบออกหรือการ
การตกตะกอน โดยใช้ รอ่ นผา่ นวสั ดุ ทมี่ รี ู ถ้ำมสี ารใดสารหน่ึงเป็นสารแม่เหลก็ อาจใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ วธิ ี การใชแ้ ม่เหล็กดึงดูด ถ้ำองคป์ ระกอบเป็นของแข็ง
รวมทัง้ ระบุวิธีแก้ปญั หาใน ท่ไี ม่ละลายในของเหลว อาจใชว้ ธิ ีการรินออก การกรอง หรอื
ชวี ติ ประจำวันเกย่ี วกับการ การตกตะกอน ซ่ึงวธิ กี ารแยกสารสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์
แยกสาร ในชีวติ ประจำวนั ได้

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงท่กี ระทาตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการเคล่อื นที่
แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.6 ว 2.2 ป 6/1 อธิบายการเกิด - วตั ถุ 2 ชนดิ ทผ่ี ่านการขัดถแู ลว้ เม่อื นำเข้าใกลก้ ัน
และผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจาก อาจดงึ ดดู หรือผลกั กนั แรงทเี่ กดิ ขน้ึ นี้เป็นแรงไฟฟา้ ซ่ึง
วัตถทุ ผ่ี ่านการขดั ถโู ดยใช้ เป็นแรงไมส่ ัมผัส เกดิ ขน้ึ ระหว่างวตั ถุทม่ี ีประจุไฟฟา้ ซึ่ง
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ประจไุ ฟฟา้ มี 2 ชนิด คอื ประจไุ ฟฟา้ บวกและประจุ
ไฟฟ้าลบ วัตถุที่มปี ระจุไฟฟ้าชนิดเดยี วกันผลกั กนั ชนดิ
ตรงขา้ มกนั ดึงดูดกนั

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์

ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี

เก่ียวข้องกบั เสียง แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.6 ว 2.3 ป 6/1 ระบสุ ว่ นประกอบ - วงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายประกอบดว้ ย
และบรรยายหนา้ ที่ ของแต่ละ แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ สายไฟฟา้ และเครื่องใช้ไฟฟา้ หรอื
สว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า อยา่ ง อปุ กรณ์ไฟฟา้ แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ เชน่ ถา่ นไฟฉาย
ง่ายจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ หรอื แบตเตอรี่ ทำหน้าทใี่ หพ้ ลงั งานไฟฟ้า สายไฟฟ้า
ว 2.3 ป 6/2 เขยี นแผนภาพและ เปน็ ตวั นำไฟฟา้ ทำหน้าทเี่ ช่อื มต่อระหว่างแหลง่ กำเนดิ
ต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ไฟฟา้ และเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ เข้าด้วยกัน เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ามี
หนา้ ทเี่ ปลี่ยนพลงั งานไฟฟ้าเปน็
พลงั งานอ่ืน

๑๖

ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ว 2.3 ป 6/3 ออกแบบกำรทดลอง - เมอ่ื นำเซลลไ์ ฟฟา้ หลายเซลลม์ าต่อ
และทดลองด้วยวิธีท่เี หมาะสมใน เรยี งกัน โดยใหข้ ้ัวบวกของเซลลไ์ ฟฟา้ เซลลห์ น่งึ ตอ่ กับ
การอธบิ ายวธิ กี ารและผลของการ ข้ัวลบของอกี เซลล์หน่ึงเป็นการตอ่ แบบอนุกรม ทำให้มี
ตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรม พลังงานไฟฟา้ เหมาะสมกับเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ซ่งึ การตอ่
ว 2.3ป 6/4 ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนุกรมสามารถนำไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ของความรขู้ องการตอ่ เซลล์ไฟฟ้า ชวี ติ ประจำวนั เช่น การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ในไฟฉาย
แบบอนกุ รมโดยบอกประโยชนแ์ ละ
การประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั

ว 2.3ป 6/5 ออกแบบการทดลอง - การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมเมอ่ื
และทดลองดว้ ยวธิ ที ี่เหมาะสมใน ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนง่ึ ออกทำให้หลอดไฟฟ้า
การอธบิ ายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ ทเ่ี หลอื ดบั ทัง้ หมด ส่วนการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน
อนกุ รมและแบบขนาน เมื่อถอดลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนึง่ ออก หลอดไฟฟา้ ท่ี
เหลือกย็ งั สว่างได้ การตอ่ หลอดไฟฟา้ แตล่ ะแบบ
ว 2.3 ป 6/6 ตระหนกั ถึง
ประโยชนข์ องความรู้ของการตอ่ สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ เชน่ การต่อหลอดไฟฟ้า
หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบ หลายดวงในบ้านจงึ ตอ้ งต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเพื่อ
ขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด เลือกใชห้ ลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหนึง่ ไดต้ ามตอ้ งการ

และการประยกุ ตใ์ ชใ้ น

ชีวิตประจำวนั

ว 2.3 ป 6/7 อธิบายการเกิดเงามืด - เมื่อนำวตั ถทุ ึบแสงมากน้ั แสงจะเกิดเงาบนฉากรับแสง
เงามวั จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ทอ่ี ยดู่ ้านหลังวตั ถุ โดยเงามีรปู ร่างคลา้ ยวตั ถุที่ทำให้เกิด
ว 2.3 ป 6/8เขียนแผนภาพรังสี เงา เงามวั เปน็ บริเวณที่มแี สงบางส่วนตกลงบนฉาก
ของแสงแสดงการเกิดเงามดื เงามวั ส่วนเงามืดเป็นบริเวณทไ่ี มม่ ีแสงตกลงบนฉากเลย

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซีดาวฤกษ์
และระบบสรุ ิยะ รวมทั้งปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในระบบสุริยะท่ีสง่ ผลต่อส่ิงมชี ีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีอวกาศ

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.6 ว 3.1 ป 6/1 สรา้ ง - เม่อื โลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยใู่ นแนวเสน้ ตรงเดยี วกนั
แบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกดิ กับดวงอาทติ ยใ์ นระยะทางที่เหมาะสม ทำให้ดวงจนั ทรบ์ งั ดวง
และเปรยี บเทียบ อาทิตย์ เงาของดวงจันทรท์ อดมายังโลก ผสู้ งั เกตท่อี ยบู่ ริเวณ
ปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคา เงาจะมองเห็น ดวงอาทติ ย์มดื ไป เกดิ ปรากฏการณ์สรุ ยิ ุปรำคำ
และจนั ทรุปราคา ซงึ่ มที ้งั สุรยิ ุปราคาเต็มดวง สุรยิ ุปราคาบางสว่ น และ
สุริยปุ ราคาวงแหวน
หากดวงจนั ทรแ์ ละโลกโคจรมาอยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกันกับ
ดวงอาทติ ย์ แลว้ ดวงจันทร์เคลอ่ื นทผ่ี ่านเงาของโลก จะ
มองเห็นดวงจันทร์มดื ไป เกิดปรากฏการณจ์ ันทรุปราคา ซึ่งมี
ทง้ั จันทรุปราคาเตม็ ดวง และจันทรุปราคาบางสว่ น

๑๗

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ว 3.1 ป 6/2 อธบิ าย - เทคโนโลยอี วกาศเริ่มจากความต้องการของมนษุ ย์ในการ
พัฒนาการของเทคโนโลยี สำรวจวตั ถทุ อ้ งฟ้าโดยใชต้ าเปลา่ กลอ้ ง-โทรทรรศน์ และได้
อวกาศ และยกตวั อยา่ งการ พัฒนาไปสู่การขนส่งเพอ่ื สำรวจอวกาศดว้ ยจรวดและยาน
นำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ ขนสง่ อวกาศ และยงั คงพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง ปจั จบุ นั มกี ารนำ
ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เทคโนโลยีอวกาศบางประเภทมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ เชน่ การใช้ดาวเทยี มเพื่อการสื่อสาร การพยากรณอ์ ากาศ
หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชำติ การใชอ้ ุปกรณว์ ดั ชพี จร
และการเตน้ ของหวั ใจ หมวกนริ ภยั ชดุ กฬี า

๑๘

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบ และความสมั พันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก

และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัตภิ ยั กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู อิ ากาศโลก

รวมทง้ั ผลตอ่ ส่ิงมีชีวิตและส่งิ แวดล้อม

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.6 ว 3.2 ป 6/1เปรยี บเทียบ - หนิ เปน็ วสั ดุแขง็ เกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชำติ ประกอบ ด้วยแร่

กระบวนการเกดิ หินอัคนี หิน ตัง้ แตห่ นึง่ ชนิดขน้ึ ไป สามารถจำแนกหินตำมกระบวนการเกดิ

ตะกอน และหนิ แปรและอธบิ ายวัฏ ได้เปน็ 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหนิ แปร

จกั รหินจากแบบจำลอง - หินอคั นีเกิดจากการเยน็ ตวั ของแมกมา เนอ้ื หิน มีลักษณะเป็น

ผลกึ ทั้งผลึกขนาดใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเปน็ เน้ือแก้ว

หรอื มีรูพรุน

- หินตะกอน เกดิ จากการทับถมของตะกอนเมือ่ ถูกแรงกดทับ

และมีสารเช่อื มประสานจงึ เกดิ เปน็ หิน เนอ้ื หนิ กลุ่มนี้ส่วนใหญม่ ี

ลักษณะเปน็ เมด็ ตะกอน มีท้งั เนอ้ื หยาบและเนื้อละเอียด บาง

ชนิดเปน็ เน้ือผลึกทย่ี ดึ เกาะกันเกิดจากการตกผลกึ หรือ

ตกตะกอนจากนำ้ โดยเฉพาะนำ้ ทะเล บางชนดิ มลี กั ษณะเปน็ ชั้น

ๆ จงึ เรียกอีกชอื่ วา่ หนิ ชั้น

- หินแปร เกดิ จากการแปรสภาพของหินเดมิ ซึ่งอาจเป็นหินอัคนี

หินตะกอน หรอื หนิ แปร โดยการกระทำของความร้อน ความ

ดนั และปฏิกริ ิยาเคมี เนอ้ื หนิ ของหนิ แปรบางชนิดผลึกของแร่

เรียงตัวขนานกัน เป็นแถบ บางชนิดแซะออกเปน็ แผ่นได้ บาง

ชนิด เปน็ เนอ้ื ผลึกทีม่ ีความแข็งมาก

- หินในธรรมชาตทิ งั้ ประเภท มีการเปลย่ี นแปลงจากประเภท

หน่ึงไปเป็นอีกประเภทหน่งึ หรอื ประเภทเดิมได้ โดยมีแบบ

รูปการเปลย่ี นแปลงคงทแี่ ละตอ่ เน่ืองเป็นวัฏจกั ร

ป.6 ว 3.2 ป 6/2 บรรยายและ หนิ และแรแ่ ต่ละชนดิ มีลกั ษณะและสมบตั แิ ตกต่างกนั มนษุ ยใ์ ช้

ยกตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชน์ของหนิ ประโยชน์จากแรใ่ นชวี ิตประจำวัน ในลักษณะต่าง ๆ เช่น นำแร่

และแร่ในชีวิตประจำวันจากข้อมลู มาทำเครือ่ งสำอาง ยำสฟี นั เครอื่ งประดบั อปุ กรณ์ทาง

ท่ีรวบรวมได้ การแพทย์ และนำหินมาใชใ้ นงานก่อสรา้ งตา่ ง ๆ เป็นตน้

ว 3.2 ป 6/3สรา้ งแบบจำลองที่ - ซากดกึ ดำบรรพเ์ กิดจากการทบั ถม หรอื การประทบั รอยของ

อธิบายการเกิด ซากดึกดำบรรพ์ สิ่งมีชวี ติ ในอดตี จนเกดิ เปน็ โครงสรา้ งของซากหรอื รอ่ งรอยของ

และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มใน สิ่งมีชีวติ ทป่ี รากฏอยูใ่ นหนิ ในประเทศไทยพบซากดกึ ดำบรรพ์

อดีตของซากดึกดำบรรพ์ ท่หี ลากหลาย เช่น พืช ปะกำรัง หอย ปลา เตา่ ไดโนเสาร์ และ

รอยตีนสัตว์

- ซากดกึ ดำบรรพส์ ามารถใช้เป็นหลกั ฐานหนง่ึ ท่ีช่วยอธบิ าย

ภาพแวดลอ้ มของพนื้ ท่ใี นอดตี ขณะเกิดสิ่งมชี วี ติ น้ัน เชน่ หาก

พบซากดึกดำบรรพข์ อง หอยน้ำจดื สภาพแวดล้อมบริเวณนน้ั

อาจเคยเป็นแหล่งนำ้ จืดมากอ่ น และหากพบซากดึกดำบรรพ์

๑๙

ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ของพืช สภาพแวดลอ้ มบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่ามาก่อน

นอกจากนซี้ ากดกึ ดำบรรพย์ ังสามารถใช้ระบุอายขุ องหิน และ

เปน็ ข้อมลู ในการศึกษาววิ ฒั นาการของส่ิงมีชวี ติ

ว 3.2 ป 6/5 อธิบายผลของมรสมุ - มรสมุ เปน็ ลมประจำฤดเู กิดบรเิ วณเขตร้อนของโลก ซึง่ เปน็

ต่อการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย บรเิ วณกว้างระดับภูมภิ าค ประเทศไทยไดร้ ับผลจากมรสุม

จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ตะวันออกเฉยี งเหนือในช่วงประมาณกลางเดือนตลุ ำคมจนถงึ

เดือนกุมภาพันธท์ ำใหเ้ กดิ ฤดูหนาว และไดร้ บั ผลจากมรสมุ

ตะวนั ตกเฉยี งใต้ในชว่ งประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง

กลางเดือนตุลำคมทำใหเ้ กดิ ฤดูฝน ส่วนชว่ งประมาณกลางเดอื น

กมุ ภาพันธจ์ นถึงกลางเดอื นพฤษภาคมเปน็ ชว่ งเปล่ยี นมรสมุ

และประเทศไทยอยูใ่ กล้เสน้ ศนู ย์สตู ร แสงอาทิตยเ์ กือบตง้ั ตรง

และตั้งตรงประเทศไทย ในเวลาเท่ียงวันทำให้ไดร้ บั ความรอ้ น

จำกดวงอาทติ ย์อย่างเต็มทอ่ี ากาศจึงร้อนอบอ้าวทำให้เกดิ ฤดู

รอ้ น

ป.6 ว 3.2 ป 6/6 - นำ้ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝง่ั ดินถล่ม แผน่ ดนิ ไหว และ สนึ ามิ

บรรยายลกั ษณะและผลกระทบ มผี ลกระทบตอ่ ชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ มแตกตา่ งกัน

ของ นำ้ ท่วม การกดั เซาะชายฝง่ั - มนุษยค์ วรเรยี นรวู้ ธิ ปี ฏิบัติตนให้ปลอดภัย เชน่ ติดตาม

ดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ ข่าวสารอยา่ งสม่ำเสมอ เตรียมถุงยงั ชีพ ให้พรอ้ มใชต้ ลอดเวลา

ว 3.2 ป 6/7ตระหนกั ถึงผลกระทบ และปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ปกครองและเจา้ หน้าที่อยา่ ง
ของภยั ธรรมชำตแิ ละธรณีพิบตั ภิ ยั เคร่งครัดเม่ือเกดิ ภยั ทางธรรมชำติและธรณพี บิ ตั ภิ ัย

โดยนำเสนอแนวทางในการเฝา้

ระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย

จากภยั ธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ิภยั

ทีอ่ าจเกิดในทอ้ งถ่ิน

ว 3.2 ป 6/8 - ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกเกดิ จากแกส๊ เรอื นกระจกในชน้ั

สร้างแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ บรรยากาศของโลก กกั เกบ็ ความรอ้ นแล้ว คายความรอ้ น

ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผล บางสว่ นกลบั สู่ผวิ โลก ทำให้อากาศ บนโลกมอี ณุ หภูมิเหมะสม

ของปรากฏการณเ์ รอื นกระจกตอ่ ตอ่ การดำรงชวี ติ

ส่งิ มชี ีวติ - หากปรากฏการณ์เรือนกระจกรุนแรงมากขึน้ จะมผี ลตอ่ การ

ว 3.2 ป 6/9ตระหนกั ถึงผลกระทบ เปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก มนุษย์ จงึ ควรร่วมกนั ลดกิจกรรมท่ี
ของปรากฏการณเ์ รือนกระจกโดย ก่อให้เกิดแกส๊ เรือนกระจก

นำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพือ่

ลดกจิ กรรมทก่ี อ่ ให้เกิดแกส๊ เรอื น

กระจก

๒๐

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพอื่ การดำรงชีวิตในสังคมทมี่ กี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว

ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพือ่ แก้ปัญหา หรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
-- -

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ิตจรงิ อย่างเป็นข้นั ตอนและเป็น

ระบบใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้

อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ร้เู ทา่ ทัน และมจี ริยธรรม

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.6 ว 4.2 ป 6/1ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ - การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนจะชว่ ยใหแ้ ก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี

ในการอธบิ ายและออกแบบ ประสิทธิภาพ

วธิ กี ารแกป้ ัญหาท่พี บใน - การใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะเปน็

ชวี ิตประจำวัน การนำกฎเกณฑ์ หรือเงอ่ื นไขทคี่ รอบคลมุ ทุกกรณมี าใชพ้ จิ ารณา

ในการแกป้ ญั หา

- แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซำ้ และเง่ือนไข

- กำรพิจารณากระบวนการทำงานท่ีมกี ารทำงานแบบวนซ้ำ หรอื

เง่อื นไขเปน็ วธิ ีการท่ีจะชว่ ยใหก้ ารออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หาเปน็ ไป

อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

- ตวั อยา่ งปัญหา เช่น การคน้ หาเลขหนา้ ที่ตอ้ งการใหเ้ ร็วทส่ี ุด

การทายเลข 1 – 1,000,000 โดยตอบให้ถูกภายใน 20 คำถาม,

การคำนวณเวลาในการเดนิ ทาง โดยคำนึงถึงระยะทาง เวลา

จุดหยุดพกั

ว 4.2 ป 6/2ออกแบบและเขยี น - การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดยเขยี น เปน็ ข้อความ หรอื
โปรแกรมอย่างงา่ ย เพ่อื แก้ปญั หา ผงั งาน
ในชวี ิตประจำวนั ตรวจหาขอ้ ผิด - การออกแบบและเขยี นโปรแกรม
พลาด ของโปรแกรมและแกไ้ ข ที่มกี ารใชต้ วั แปร การวนซำ้

การตรวจสอบเงอ่ื นไข
– หากมขี ้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบ
การทำงาน ทีละคำสง่ั เมือ่ พบจดุ ทที่ ำให้ผลลัพธ์ไมถ่ กู ตอ้ ง ใหท้ ำ
การแก้ไขจนกวา่ จะไดผ้ ลลัพธ์ที่ถูกต้อง
- การฝึกตรวจหำข้อผดิ พลาดจากโปรแกรมของผอู้ น่ื จะช่วยพฒั นา
ทกั ษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดยี ่งิ ข้ึน

๒๑

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

- ตวั อยา่ งปัญหา เช่น โปรแกรมเกม โปรแกรมหาค่า ค.ร.น เกมฝกึ

พิมพ์

- ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo

ป.6 ว 4.2 ป 6/3 ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตใน - การคน้ หาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เป็นการค้นหาขอ้ มูลทไ่ี ดต้ รงตาม
การค้นหาข้อมลู อย่างมี ความต้องการในเวลาทรี่ วดเร็วจากแหล่งข้อมลู ที่นา่ เชอื่ ถอื หลาย
ประสทิ ธภิ าพ แหลง่ และขอ้ มูล มคี วามสอดคล้องกนั – การใชเ้ ทคนิคการคน้ หา
ข้ันสงู เชน่ การใช้ ตวั ดำเนนิ การ การระบรุ ูปแบบของขอ้ มูล หรอื
ชนดิ ของไฟล์
- การจัดลำดบั ผลลพั ธ์จากกาค้นหาของโปรแกรมค้นหา
- การเรยี บเรยี ง สรปุ สำระสำคญั (บรู ณาการกบั วชิ าภาษาไทย)

ว 4.2 ป 6/4 ใชเ้ ทคโนโลยี - อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม ทางอนิ เทอรเ์ นต็
สารสนเทศทำงานรว่ มกนั อยา่ ง แนวทางในการปอ้ งกนั
ปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ - วธิ กี ำหนดรหสั ผ่าน
ของตน เคารพในสทิ ธิของผูอ้ ื่น - การกำหนดสิทธก์ิ ารใชง้ าน (สทิ ธ์ใิ นการเขา้ ถึง)
แจง้ ผเู้ ก่ยี วขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรือ - แนวทางการตรวจสอบและป้องกัน
บคุ คลทไี่ มเ่ หมาะสม มัลแวร์ – อันตรายจากการตดิ ตง้ั ซอฟต์แวรท์ ีอ่ ยบู่ นอินเทอรเ์ น็ต

โครงสรา้ ง

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโน

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลาเรยี น 80 ช

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 ตัวชี้วัด
เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงใน
-
การเรียน

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 -
วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ -

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3
ทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์



งรายวิชา รหสั วชิ า ว16101
คะแนนเต็ม 100 คะแนน
นโลยี
ช่วั โมง

สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชวั่ โมง)

การปฐมนเิ ทศเปน็ การสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกันระหว่างครู 1 -

กับนักเรียน เป็นการตกลงกันในเบื้องต้นก่อนที่จะเริ่มการเรียนการ

สอน ครูได้รู้จักนักเรียนดียิ่งขึ้น รับทราบความต้องการ ความรู้สึก

และเจตคติต่อวิชาที่เรียน ในขณะเดียวกันนักเรียนได้ทราบความ

ต้องการของครู แนวทางในการจดั การเรยี นการสอน และการวดั และ

ประเมินผล สิ่งต่างๆ ดังกล่าวจะนำไปสู่การเรียนการสอนที่มี

ประสิทธิภาพ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง

เหมาะสม ช่วยให้นักเรียนคลายความวิตกกังวล สามารถเรียนได้

อยา่ งมคี วามสขุ อันจะสง่ ผลให้นกั เรียนประสบความสำเร็จบรรลตุ าม

เปา้ หมายทีไ่ ดก้ ำหนดไว้

วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นขั้นตอนการทำงานอย่างเป็น 1 4

ระบบที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

โดยมีการนำขอ้ มูลที่ไดม้ าวิเคราะห์เพือ่ พสิ ูจน์หาข้อเท็จจริงของเรื่อง

นั้นๆ หรืออาจเชื่อมโยงไปสู่ความรู้ใหม่สำหรับใช้ในการศึกษาต่อไป

ในอนาคต

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่แสดงให้ 1

เห็นถึงกระบวนการสืบเสาะค้นหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ผ่านการ

สังเกต การสำรวจ การทดลอง การสืบค้นข้อมูล หรือวิธีการอื่นๆ

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตัวชี้วดั

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 -
จติ วิทยาศาสตร์
(ว 1.2 ป.6/1)
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 5
อาหารและการยอ่ ย อาหารหลกั 5 หมู่ (ว1.2 ป.6/1)
(ว 1.2 ป. 6/2)
อาหาร (ว 1.2 ป. 6/3)

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6
สารอาหาร
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7
ธงโภชนาการ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 8 (ว 1.2 ป. 6/2)
อาหารในกลุ่มเดียวกันท่ี
รับประทานทดแทนกันได้ (ว 1.2 ป. 6/2)
(ว 1.2 ป. 6/3)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง)

อย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถค้นหาคำตอบและแก้ปัญหาต่างๆ ได้

อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

จิตวิทยาศาสตร์เป็นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคล 1

ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

อาหารหลัก 5 หมู่ มีดังนี้ หมู่ที่ 1 ได้แก่ เนื้อสัตว์ นม ไข่ งา 1 15

และถัว่ ชนดิ ต่างๆ หมู่ท่ี 2 ไดแ้ ก่ ขา้ ว แป้ง นำ้ ตาล เผอื ก และมัน หมู่

ที่ 3 ได้แก่ ผักชนิดต่างๆ หมู่ที่ 4 ได้แก่ ผลไม้ชนิดต่างๆ และหมู่ท่ี 5

ไดแ้ ก่ เนย น้ำมัน และไขมันจากพืชและสัตว์

สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี 6 ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต 1
โปรตีน ไขมัน เกลอื แร่ วติ ามนิ และน้ำ

ธงโภชนาการ คือ แนวทางการรับประทานอาหารที่ให้คุณค่า

ทางอาหารครบถ้วนตรงกับความต้องการของร่างกาย โดยการนำ

อาหารหลัก 5 หมู่ มาจัดแบ่งออกเป็นชั้นๆ ตามสัดส่วน ปริมาณ 1

และความหลากหลายท่คี วรรบั ประทานใน 1 วัน เพื่อช่วยให้ผ้บู รโิ ภค

เลือกรบั ประทานอาหารหลัก 5 หมู่ ได้เหมาะสมกบั เพศและวัย

อาหารบางชนิดอยู่ในกลุ่มเดียวกันและสามารถรับประทาน 1

ทดแทนกันได้

การใช้พลังงานในการทำกิจกรรมของแต่ละคนแตกต่างกัน 1
การรับประทานอาหารในแต่ละวัน จึงต้องเลือกรับประทานให้ถูก
สดั สว่ นและในปรมิ าณท่เี พยี งพอตอ่ ความต้องการของรา่ งกาย

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ช้ีวัด
ความต้องการพลังงานทีค่ วร
ได้รบั ใน 1 วัน สำหรับคน (ว 1.2 ป. 6/2)
ไทย (ว 1.2 ป. 6/3)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 10
พลังงานทเ่ี หมาะสมซึ่งได้รบั
จากอาหาร

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 (ว 1.2 ป. 6/3)
วิตามนิ ในอาหาร

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 12 (ว 1.2 ป. 6/4)
ระบบย่อยอาหาร (1)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 13 (ว 1.2 ป. 6/4)
ระบบย่อยอาหาร (2) (ว 1.2 ป. 6/4)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 14
การย่อยอาหาร

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 15 (ว 1.2 ป. 6/4)
อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชั่วโมง)

การรับประทานอาหารเพื่อให้ร่างกายเจริญเติบโตตามเพศ 1
และวัย และมีสุขภาพดี จำเป็นต้องรับประทานให้ได้พลังงาน 1
เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและให้ได้สารอาหารครบถ้วน 1
ในสัดสว่ นทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวัย 1
1
วิตามินแม้จะเป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่ร่างกายและ 1
ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่ร่างกายจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะ
ทำใหร้ ะบบตา่ งๆ ของรา่ งกายทำงานไม่เปน็ ปกติ

ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ปาก
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก ตับ
และตับอ่อน

ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ซึ่งทำหน้าที่
รว่ มกันในการย่อยอาหารและดูดซมึ สารอาหาร

การย่อยอาหารเป็นกระบวนการที่ทำให้โมเลกุลของอาหาร
เปลี่ยนสภาพไปเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก พอที่ร่างกายจะดูดซึมและ
ลำเลยี งไปยงั เซลลต์ า่ งๆ ได้

อวัยวะต่างๆ ในระบบย่อยอาหารทำงานร่วมกันเพื่อทำให้
สารอาหารทอี่ ยู่ในอาหารมีขนาดเล็กลงจนรา่ งกายสามารถดูดซึมเข้า
สหู่ ลอดเลอื ดและนำไปใชไ้ ด้

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตวั ชวี้ ัด
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 16
การเพม่ิ พืน้ ทใ่ี นการย่อย (ว 1.2 ป. 6/5)
อาหาร

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 17 (ว 2.2 ป.6/1)
ไฟฟ้าน่ารู้ การถา่ ยโอนประจไุ ฟฟา้ (ว 2.2 ป. 6/1)

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 18
ผลของแรงไฟฟา้

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 19 (ว 2.3 ป.6/1)
สัญลักษณ์และส่วนประกอบ (ว 2.3 ป.6/2)
ของวงจรไฟฟา้



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชวั่ โมง)

การเคี้ยวอาหารให้ละเอียดเป็นการเพิ่มพื้นที่ในการย่อย 1

อาหาร เนอื่ งจากช่วยเพ่ิมพ้นื ท่ีใหอ้ าหารที่รับประทานเข้าไปมีโอกาส

สัมผสั เอนไซมไ์ ดม้ าก

วัตถุสามารถถ่ายโอนประจุลบกับวัตถุอื่นได้ วัตถุทุกชนิดมี 1 20
ประจุไฟฟ้า เมื่อนำวัตถุต่างชนิดกันมาขัดถูกันจะทำให้เกิดประจุ 1
ไฟฟ้าทสี่ ะสมบนวัตถุ
1
แรงไฟฟ้าเกิดจากประจุไฟฟ้า 2 ชนิด คือ ประจุบวกและ
ประจุลบ ถ้านำวัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการถูมาเข้าใกล้กันแล้วเกิดแรง
ดึงดูด แสดงว่าวัตถุทั้ง 2 ชนิดเกิดประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน แต่ถ้านำ
วัตถุ 2 ชนิดที่ผ่านการถูมาเข้าใกล้กันแล้วเกิดแรงผลักกัน แสดงว่า
วัตถทุ ั้ง 2 ชนิดเกิดประจุไฟฟา้ ชนิดเดยี วกัน

วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า
สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยวงจรไฟฟ้าท่ี
กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด และวงจรไฟฟ้าที่
กระแสไฟฟ้าไหลไมค่ รบวงจร เรียกว่า วงจรเปิด

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชว้ี ัด
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 20
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ (ว 2.3 ป.6/1)
(ว 2.3 ป.6/2)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 (ว 2.3 ป. 6/1)
วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 22 (ว 2.3 ป. 6/1)
ตวั นำไฟฟ้า (ว 2.3 ป. 6/1)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 23
แหล่งพลงั งานไฟฟ้า

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 (ว 2.3 ป. 6/3)
การตอ่ เซลล์ไฟฟา้ (ว 2.3 ป. 6/4)



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง)

วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยแหล่งกำเนิดไฟฟ้า 1

สายไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าแหล่งกำเนิดไฟฟ้า

เชน่ ถ่านไฟฉาย หรอื แบตเตอรี่ ทำหนา้ ที่ใหพ้ ลงั งานไฟฟ้า สายไฟฟา้

เป็นตัวนำไฟฟ้าทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิดไฟฟ้าและ

เครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าด้วยกัน เครื่องใช้ไฟฟ้ามีหน้าที่เปลี่ยนพลังงาน

ไฟฟ้าเป็นพลงั งานอืน่

วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า 1

สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยวงจรไฟฟ้าที่

กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด และวงจรไฟฟ้าที่

กระแสไฟฟ้าไหลไมค่ รบวงจร เรยี กว่า วงจรเปดิ

ตัวนำไฟฟ้าเป็นวัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ เช่น ทองแดง 1

เหล็ก สังกะสี และอะลูมิเนียม ใช้ทำสายไฟฟ้าและทำชิ้นส่วน

อปุ กรณ์ไฟฟ้าหรือเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้

ถ่านไฟฉายประกอบด้วย วัสดุสองชนดิ ทำหน้าท่ีเป็นข้ัวไฟฟ้า 1

บวกและขั้วไฟฟ้าลบ และสารที่เป็นของผสมเปียกชื้นที่นำไฟฟ้าได้

ถ้าต่อขั้วไฟฟ้าบวกและลบด้วยสายไฟฟ้าจนครบวงจร จะมี

กระแสไฟฟ้าในวงจรถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือ

ไดนาโม และไฟฟ้าจากสงิ่ มชี วี ติ เปน็ แหล่งพลังงาน

เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อกัน โดยให้ขั้วบวกของ 1

เซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่งต่อกับขั้วลบของอีกเซลล์หนึ่งเป็นการต่อแบบ

อนุกรม ทำใหม้ ีพลงั งานไฟฟ้าเหมาะสมกับเคร่อื งใช้ไฟฟา้

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตวั ช้วี ัด
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 25
แผนภาพวงจรไฟฟ้า (1) (ว 2.3 ป. 6/2)

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 26 (ว 2.3 ป. 6/2)
แผนภาพวงจรไฟฟ้า (2)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27 (ว 2.3 ป. 6/5)
การตอ่ หลอดไฟฟา้

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 28 (ว 2.3 ป. 6/5)
การตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบ (ว 2.3 ป. 6/6)
อนุกรม



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชัว่ โมง)

การสื่อสารและการอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าให้เข้าใจตรงกัน 1

สามารถใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า และ

เขียนอธิบายด้วยแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูปส่วนประกอบ

ของวงจรไฟฟา้

การสื่อสารและการอธิบายการต่อวงจรไฟฟา้ ให้เข้าใจตรงกนั 1

สามารถใช้สัญลักษณ์ต่างๆ แทนส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า และ

เขียนอธิบายด้วยแผนภาพวงจรไฟฟ้าแทนการวาดรูปส่วนประกอบ

ของวงจรไฟฟา้

การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม หลอดไฟฟ้าจะต่อเรียงกัน 1

และกระแสไฟฟ้าจะผา่ นหลอดไฟฟ้าเปน็ ปริมาณเดียวกนั

การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเป็นการนำปลายข้างเดียวกัน

(ขั้วเดียวกัน) ของแต่ละหลอดไฟฟ้ามารวมกันก่อนแล้วจึงต่อเข้ากับ

เซลล์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะแยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด โดย

กระแสไฟฟ้ารวมในวงจรไฟฟ้าเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่แยกผ่านหลอด

ไฟฟา้ แต่ละหลอดรวมกัน

การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม เมอื่ ถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใด 1
หลอดหนึ่งออกจะทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือดับทั้งหมด ส่วนการต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่งึ ออก
หลอดไฟฟ้าทเ่ี หลอื ยังคงสวา่ งอยู่

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้
ตวั ชว้ี ดั

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29 (ว 2.3 ป. 6/5)
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบ (ว 2.3 ป. 6/6)
อนุกรมและแบบขนาน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30 (ว 2.3 ป. 6/5)
การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย (ว 2.3 ป. 6/6)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 31 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกสาร การจำแนกสาร (1) (ว 2.1 ป. 6/1)

ในชวี ติ ประจำวัน

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 32
การจำแนกสาร (2)

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 33 (ว 2.1 ป. 6/1)
การจำแนกสาร (2)



สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชัว่ โมง)

การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รม เมอื่ ถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใด 1 10
หลอดหนึ่งออกทำให้หลอดไฟฟ้าที่เหลือดับทั้งหมด ส่วนการต่อ
หลอดไฟฟา้ แบบขนาน เมื่อถอดหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่งึ ออก 1
หลอดไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบ 1
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เชน่ การต่อหลอดไฟฟ้าหลายหลอดใน
บ้านต้องตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบขนาน เพื่อเลือกใช้หลอดไฟฟา้ หลอดใด
หลอดหน่งึ ไดต้ ามต้องการ

การต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
แตกต่างกัน เช่น ถ้าต้องการใช้สวิตช์ 1 ตัวควบคุมหลอดไฟฟ้า
ทั้งหมด ต้องต่อแบบอนุกรม แต่ถ้าต้องการให้หลอดไฟฟ้าหลอดอื่น
ยังคงใช้ไดเ้ มื่อมีบางหลอดเสีย ตอ้ งต่อแบบขนาน

สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน เรา
สามารถจำแนกสารผสมเป็น 2 ประเภทได้ คอื สารเนอ้ื เดียวและสาร
เนอ้ื ผสม โดยใชล้ กั ษณะของเนือ้ สารเปน็ เกณฑ์

สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน เรา 1
สามารถจำแนกสารผสมเป็น 2 ประเภทได้ คอื สารเน้ือเดียวและสาร
เนอื้ ผสม โดยใชล้ ักษณะของเน้ือสารเป็นเกณฑ์

สารเนื้อเดียวจะมองเห็นสารที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน เนื้อสาร 1
มีลักษณะเหมือนกันและมีสมบัติเหมือนกันทั่วทั้งเนื้อสาร ส่วนสาร

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตัวชว้ี ัด

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 34 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกของแขง็ ออกจาก (ว 2.1 ป. 6/1)
ของแข็ง (1) (ว 2.1 ป. 6/1)
(ว 2.1 ป. 6/1)
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 35 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกของแขง็ ออกจาก
ของแข็ง (2)

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 36
การแยกของแข็งทีไ่ ม่
ละลายในของเหลวออก
จากของเหลว (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37
การแยกของแขง็ ทีไ่ ม่ละลาย
ในของเหลวออกจาก
ของเหลว (2)
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 38
การแยกสารแมเ่ หลก็ ออก
จากสารผสม



สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง)

เนือ้ ผสมจะมองเห็นสารที่ผสมแยกกันอย่างชดั เจน เน้อื สารมลี กั ษณะ

แตกตา่ งกันและมีสมบตั ิของเนอ้ื สารไมส่ มำ่ เสมอ

วิธีการที่เหมาะสมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับลักษณะและ 1

สมบัติของสารทีผ่ สมกนั สารผสมทม่ี ีองค์ประกอบเป็นของแข็งขนาด

แตกต่างกันชัดเจนมาผสมกัน สามารถแยกสารได้ด้วยการหยิบออก

การฝดั และการร่อน ซ่งึ แต่ละวธิ มี ีหลักการแยกสารทีแ่ ตกตา่ งกนั

การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจากของแข็งสามารถทำ 1

ได้ด้วยการหยิบออก การฝัด และการร่อน ซึ่งแต่ละวธิ ีเหมาะกับการ

แยกของแขง็ ที่มลี ักษณะแตกต่างกนั

สารผสมที่มอี งคป์ ระกอบเป็นของแขง็ ทไี่ ม่ละลายในของเหลว 1
ผสมกับของเหลว สามารถแยกสารด้วยการตกตะกอน การรินออก
และการกรอง ซ่ึงแตล่ ะวธิ ีมหี ลกั การแยกสารท่แี ตกต่างกัน

การแยกสารผสมที่เป็นของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลวออก 1
จากของเหลวสามารถทำได้ดว้ ยการตกตะกอน การรินออก และการ 1
กรอง ซง่ึ แตล่ ะวธิ เี หมาะกบั การแยกสารผสมทีม่ ีลักษณะแตกตา่ งกนั

การแยกสารท่ีใช้ประโยชน์จากสมบัติเฉพาะของสาร คือ การ
ใช้แม่เหล็กดึงดูด โดยถ้ามีสารใดสารหนง่ึ เปน็ สารแม่เหล็กสามารถใช้
วธิ ีการใชแ้ มเ่ หล็กดึงดูดเพื่อแยกสารได้

หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ช้ีวัด

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 39 (ว 2.1 ป. 6/1)
การแยกสารใน
ชีวติ ประจำวนั

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40 -
การทดสอบกลางปี (ว 3.2 ป. 6/4)

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 41 (ว 3.2 ป. 6/4)
ปรากฏการณ์และ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ
การเปลี่ยนแปลงของ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 42
อากาศ ลมบก ลมทะเล (1)

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 43 (ว 3.2 ป. 6/4)
ลมบก ลมทะเล (2)



สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชัว่ โมง)

การแยกสารวธิ ตี า่ งๆ ต้องสงั เกตลกั ษณะและสมบตั ิของสารท่ี 1
ผสมกัน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเลือกวิธีการที่เหมาะสมเพื่อใช้
แยกสาร ซึง่ การแยกสารบางชนิดในชวี ิตประจำวันอาจต้องใช้วิธีแยก
สารมากกว่า 1 วิธี เพื่อให้ไดส้ ารทต่ี อ้ งการ

เมื่ออุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำบริเวณ - 14
ชายทะเลแตกต่างกันจะทำให้เกิดลมบก ลมทะเลขึ้น และเม่ือ 1
อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นทวีปและพื้นมหาสมุทรบริเวณเขตร้อน 1
ของโลกแตกตา่ งกนั จะทำใหเ้ กิดมรสุมขึน้
1
ลมบก ลมทะเลเกิดขึน้ เม่ือพื้นดนิ และพน้ื นำ้ ทะเลดูดกลืนและ
คายความร้อนทีไ่ ด้รับจากดวงอาทิตย์ในแต่ละช่วงเวลาไม่เท่ากัน ทำ
ให้อุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำทะเลแตกต่างกัน จึง
เกิดการเคลื่อนท่ีของอากาศจากบริเวณท่ีมีอณุ หภมู ติ ่ำไปยังบริเวณท่ี
มีอณุ หภมู สิ งู

ลมบกเป็นลมที่พัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเลในเวลากลางคืน
เนื่องจากพืน้ น้ำทะเลคายความร้อนได้ชา้ กว่าพื้นดิน พื้นน้ำทะเลจึงมี
อุณหภูมิสูงกว่าพื้นดิน ทำให้อากาศเหนือพื้นน้ำทะเลลอยตัวขึ้น
ส่งผลให้อากาศเหนือพื้นดินซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่าเคลื่อนเข้ามาแทนท่ี

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร้/ู
ตวั ชี้วดั

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 44 (ว 3.2 ป. 6/4)
ประโยชนข์ องลมบก ลม
ทะเล

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 45 (ว 3.2 ป. 6/4)
มรสุม (1) (ว 3.2 ป. 6/5)

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 46 (ว 3.2 ป. 6/4)
มรสุม (2) (ว 3.2 ป. 6/5)

๑๐

สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ช่วั โมง)

ส่วนลมทะเลเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าสู่ชายฝั่งในเวลากลางวัน

เนื่องจากพื้นดินดูดกลืนความร้อนได้เร็วกว่าพื้นน้ำทะเล พื้นดินจึงมี

อุณหภูมิสูงกว่า ทำให้อากาศเหนือพื้นดินลอยตัวสูงขึ้น ส่งผลให้

อากาศเหนอื พื้นน้ำทะเลซง่ึ มอี ุณหภมู ิต่ำกว่าเคลอื่ นเข้ามาแทนท่ี

ลมบก ลมทะเลเป็นลมประจำถิ่นที่พบบริเวณชายทะเล โดย 1

ลมบกเกิดขึ้นเวลากลางคืน ทำให้มีลมพัดจากชายฝั่งไปสู่ทะเล ส่วน

ลมทะเลเกิดขึ้นเวลากลางวัน ทำให้มีลมพัดจากทะเลเข้าสู่ชายฝ่ัง

ลมบก ลมทะเลสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้มากมาย เชน่ ใช้เล่นวา่ ว

ใช้แล่นเรือใบ และเล่นกระดานโต้คลื่น และยังสามารถใช้ผลิต

กระแสไฟฟา้ จากกังหนั ลมได้อีกด้วย

มรสุมเป็นลมประจำฤดู เกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่ง 1
เป็นบริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุม 1
ตะวันตกเฉียงใต้และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีผลต่อการเกิด
ฤดูตา่ งๆ ของประเทศไทย

มรสุมเป็นลมประจำฤดู เกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซ่ึง
เป็นบริเวณกว้างระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึง
กลางเดือนตุลาคมทำให้เกิดฤดูฝน และได้รับอิทธิพลจากมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมจนถึงเดือน
กุมภาพันธ์ ทำให้เกิดฤดูหนาว ส่วนช่วงประมาณกลางเดือน
กุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงเปลี่ยนมรสุมและ

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตัวช้ีวดั

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 47 (ว 3.2 ป. 6/8)
ปรากฏการณเ์ รือนกระจก (ว 3.2 ป. 6/9)
(1)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 48 (ว 3.2 ป. 6/8)
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก (ว 3.2 ป. 6/9)
(2)
(ว 3.2 ป. 6/8)
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 49 (ว 3.2 ป. 6/9)
ปรากฏการณ์เรอื นกระจก
(3)

๑๑

สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง)

ประเทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร แสงจากดวงอาทิตย์เกือบตั้งตรง

หรอื อาจตงั้ ตรงกบั ประเทศไทยในเวลาเทีย่ งวัน ทำใหไ้ ดร้ บั ความรอ้ น

อย่างเตม็ ท่ี อากาศจึงร้อนอบอา้ ว และทำใหเ้ กดิ ฤดรู อ้ น

ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิดจากแก๊สเรือนกระจกในชั้น 1
บรรยากาศของโลกกักเก็บความร้อนแลว้ คายความรอ้ นบางส่วนกลับ
สู่ผิวโลก ทำให้อากาศบนโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต 1
ของสิ่งมชี ีวิตบนโลก หากปรากฏการณ์เรอื นกระจกรนุ แรงมากขึ้นจะ 1
ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมของโลกได้ ดังนั้นมนุษย์จึงควร
ร่วมกนั ลดกจิ กรรมทีก่ อ่ ให้เกิดแก๊สเรือนกระจก

การทำกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มีการปล่อยแก๊สเรือน
กระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ปรากฏการณ์
เรือนกระจกรนุ แรงมากข้นึ และกลายเป็นภาวะโลกรอ้ น

การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกที่รุนแรงมากขึ้นและ
กลายเป็นภาวะโลกร้อน สง่ ผลใหภ้ ูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง
และทำให้อณุ หภมู ขิ องโลกไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต
บนโลก

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ช้วี ัด
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 50
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก (ว 3.2 ป. 6/8)
(4) (ว 3.2 ป. 6/9)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 51 (ว 3.2 ป. 6/8)
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (ว 3.2 ป. 6/9)
(5)

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 52 (ว 3.2 ป.6/1)
ปรากฏการณแ์ ละ ประเภทของหิน (1)
การเปล่ียนแปลงของ (ว 3.2 ป. 6/1)
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 53 (ว 3.2 ป. 6/2)
โลก ประเภทของหิน (2) (ว 3.2 ป. 6/1)

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 54 (ว 3.2 ป. 6/2)
วัฏจกั รหิน

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 55
สมบตั ทิ างกายภาพของแร่

๑๒

สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชั่วโมง)

ปรากฏการณ์เรือนกระจกทีร่ ุนแรงมากขึ้นจนกลายเป็นภาวะ 1

โลกร้อนจะส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมของโลกได้ ดังน้ัน

มนษุ ยจ์ งึ ควรร่วมกันลดกจิ กรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจก

เมื่อดวงอาทิตย์แผ่ความร้อนมากระทบกับพื้นผิวโลก แก๊ส 1

เรือนกระจกจะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้และคายความร้อน

บางส่วนออกไปนอกโลก เพื่อรักษาสมดุลของอุณหภูมิให้เหมาะสม

ต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า

ปรากฏการณ์เรือนกระจก

หินสามารถจำแนกตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท 1 20
ได้แก่ หินอัคนี หนิ ตะกอน และ หนิ แปร 1
1
หินแต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกันจึงสามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ตกต่างกนั 1

หินอัคนี หินตะกอน และหินแปรมีการเปลี่ยนแปลงจาก
ประเภทหนึ่งไปเป็นอีกประเภทหนึ่ง หรือประเภทเดิมได้ โดยมีแบบ
รปู การเปลี่ยนแปลงคงทแ่ี ละต่อเน่ืองเปน็ วฏั จกั ร

แร่แต่ละชนิดมีการเรียงตัวและธาตุที่เป็นองค์ประกอบ
แตกต่างกัน จึงทำให้แร่แต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน
เช่น สี สีผงละเอียด ผลึก ความแข็ง ความวาว ความโปร่งใส รอย
แตก และความหนาแน่น

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชวี้ ัด
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 56
ประเภทของแร่ (ว 3.2 ป. 6/2)

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 57 (ว 3.2 ป. 6/3)
ประเภทของซากดกึ ดำ
บรรพ์ (ว 3.2 ป. 6/3)

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 58 (ว 3.2 ป. 6/3)
กระบวนการเกิดซากดึกดำ
บรรพ์ (ว 3.2 ป.6/6)
(ว 3.2 ป. 6/7)
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 59 (ว 3.2 ป.6/6)
ซากดึกดำบรรพ์ดรรชนีและ (ว 3.2 ป. 6/7)
การคน้ พบซากดกึ ดำบรรพ์
ในประเทศไทย

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 60
ภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัติ
ภัย

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 61
การปฏิบัติตนใหป้ ลอดภัย
จากภยั ธรรมชาติและธรณี
พบิ ตั ิภยั

๑๓

สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชัว่ โมง)

แร่แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แร่ประกอบหิน คือ แร่ที่เป็น 1
ส่วนประกอบสำคัญภายในหิน และแร่เศรษฐกิจ คือ แร่ที่มีคุณค่า
ทางเศรษฐกิจ สามารถนำมาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้ แบ่งเป็น 2

ประเภท คอื แรโ่ ลหะและแร่อโลหะ

ซากดึกดำบรรพ์แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ซากดึกดำบรรพ์ 1
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ซากดึกดำบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง ซาก
ดกึ ดำบรรพพ์ ชื และรอ่ งรอยของสัตว์ดกึ ดำบรรพ์

ซากดึกดำบรรพ์เกิดจากการทับถมหรือการประทับรอยของ 1
สิ่งมีชีวิตในอดีต จนเกิดเป็นโครงสร้างของซากหรือร่องรอยของ
สงิ่ มีชีวิตทป่ี รากฏอยู่ในหิน

ซากดึกดำบรรพ์ดรรชนีเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกอายุได้ 1
ค่อนข้างแน่นอน มีลักษณะสำคัญ คือ เป็นร่างของสิ่งมีชีวิตที่มีชีวิต
อยู่เฉพาะในช่วงระยะเวลาอันสั้น แพร่หลายเป็นบริเวณกว้าง และมี

ววิ ัฒนาการอย่างรวดเร็ว

ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจาก 1
การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ โดย ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติ
ภยั แต่ละชนดิ มีผลกระทบตอ่ ส่งิ มีชีวิตและส่งิ แวดล้อมแตกต่างกนั

มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เช่น ติดตาม 1
ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ เตรียมถุงยังชีพให้พร้อมใช้ตลอดเวลา และ

ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่างเคร่งครัดเมื่อเกิด
ภัยธรรมชาติและธรณพี ิบตั ภิ ัย


Click to View FlipBook Version