หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตัวชวี้ ัด
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 62
น้ำท่วม (ว 3.2 ป.6/6)
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 63 (ว 3.2 ป. 6/7)
การกัดเซาะชายฝั่ง
(ว 3.2 ป.6/6)
(ว 3.2 ป. 6/7)
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 64 (ว 3.2 ป.6/6)
ดนิ ถลม่ (ว 3.2 ป. 6/7)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 65 (ว 3.2 ป.6/6)
แผ่นดินไหว (ว 3.2 ป. 6/7)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 66 (ว 3.2 ป.6/6)
สนึ ามิ (ว 3.2 ป. 6/7)
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 67 (ว 2.3 ป. 6/7)
ปรากฏการณ์ดารา ปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา (ว 2.3 ป. 6/8)
ศาสตร์และเทคโนโลยี และจันทรปุ ราคา
(ว 2.3 ป. 6/7)
อวกาศ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 68 (ว 2.3 ป. 6/8)
การเกดิ เงามืด เงามัว (1)
๑๔
สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ชั่วโมง)
นำ้ ทว่ มเปน็ ภัยธรรมชาติและธรณพี ิบตั ภิ ยั ที่เกดิ จากพื้นท่ีหน่ึง 1
ไดร้ ับปรมิ าณน้ำเกินกวา่ ทจ่ี ะกกั เกบ็ ได้ ทำใหแ้ ผ่นดนิ จมอยู่ใตน้ ้ำ
การกัดเซาะชายฝั่งเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิด 1
จากการกัดเซาะของคลื่นหรือลม ทำใหต้ ะกอนจากบริเวณหนึ่งไปตก
ทับถมในอกี บริเวณหน่ึง แนวของชายฝั่งเดิมจึงเปลยี่ นแปลงไป
ดินถล่มเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของมวลดินหรือหินจำนวนมากลงมาตามลาดเขาเนื่องจาก 1
แรงโนม้ ถว่ งของโลก
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดจากการ
เคลอื่ นทีอ่ ยา่ งกะทันหนั ของแผ่นเปลือกโลก
สึนามิเป็นภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่เกิดขึ้นหลังจาก 1
การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ หรือดินถล่มในมหาสมุทร ซึ่งโดย
ส่วนใหญ่สึนามิเกิดจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทรที่มีขนาดตั้งแต่ 7.0
ขึน้ ไป
ปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคาเกิดจากดวง 1 17
อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน เกิด
การบงั กันของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์
เงาเกดิ จากการนำวัตถทุ บึ แสงมากั้นเสน้ ทางการเคล่ือนท่ีของ 1
แสง ทำให้เกิดเงาบนฉากรับแสงที่อยู่ด้านหลัง เงาที่เกิดขึ้นมี 2
ประเภท คอื เงามืดและเงามัว
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนร/ู้
ตัวช้ีวดั
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 69
การเกิดเงามืด เงามวั (2) (ว 2.3 ป. 6/7)
(ว 2.3 ป. 6/8)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 70 (ว 3.1 ป. 6/1)
ปรากฏการณ์สุรยิ ุปราคา (1)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 71
ปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา (2)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 72
ปรากฏการณ์สุริยุปราคา (3)
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 73
ปรากฏการณจ์ ันทรปุ ราคา
(1)
๑๕
สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ชัว่ โมง)
การมองแหล่งกำเนิดแสงจากบริเวณเงามืด บริเวณเงามัว 1
และบริเวณท่ไี มเ่ กิดเงา ทำให้มองเหน็ แหล่งกำเนิดแสงแตกต่างกัน
สุริยปุ ราคาเปน็ ปรากฏการณท์ ่เี กิดจากดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ 1
และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทำให้ดวงจันทร์บังดวง 1
อาทิตย์ เป็นผลให้เงาของดวงจันทร์ทอดมายังโลก สุริยุปราคามี 3 1
แบบ ได้แก่ สรุ ิยปุ ราคาเต็มดวง สุริยุปราคาบางส่วน และสรุ ิยุปราคา
วงแหวน
สุรยิ ุปราคาเกิดจากการทด่ี วงจนั ทรโ์ คจรมาอยใู่ นแนวเส้นตรง
เดียวกันกับดวงอาทิตย์และโลก ทำให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ไว้
เป็นผลให้เงามืด เงามัวของดวงจันทร์ทอดมายังโลก ซึ่งผู้สังเกตบน
โลกที่อยู่บริเวณเงามืด เงามัวของดวงจันทร์จะมองเห็นดวงอาทิตย์
มืดทัง้ ดวงหรือบางส่วน
การดูสุริยปุ ราคาอย่างปลอดภยั มี 2 วิธี คือ การดสู ุริยุปราคา
โดยทางตรงและการดสู ุรยิ ุปราคาโดยทางออ้ ม
จันทรุปราคาเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดจากดวงอาทิตย์ โลก 1
และดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน ทำให้โลกบังดวง
อาทิตย์เกิดเป็นเงามืด เงามัวขึ้น จันทรุปราคามี 3 แบบ ได้แก่
จันทรุปราคาเต็มดวง จันทรุปราคาบางส่วน และจันทรุปราคาในเงา
มวั
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้
ตวั ช้ีวดั
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 74
ปรากฏการณ์จันทรปุ ราคา
(2)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 75 (ว 3.1 ป. 6/2)
เทคโนโลยอี วกาศ
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 76 (ว 3.1 ป. 6/2)
ความก้าวหน้าของ (ว 3.1 ป. 6/2)
เทคโนโลยีอวกาศ (ว 3.1 ป. 6/2)
(ว 3.1 ป. 6/2)
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 77
เทคโนโลยีอวกาศท่ใี ชใ้ นการ
สำรวจอวกาศ (1)
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 78
เทคโนโลยีอวกาศที่ใช้ในการ
สำรวจอวกาศ (2)
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 79
ประโยชนข์ องเทคโนโลยี
อวกาศ
๑๖
สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ชวั่ โมง)
จันทรุปราคาเกิดจากดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนว 1
เส้นตรงเดียวกนั กับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทรเ์ คลื่อนที่ผ่านเข้าไปใน
เงามืดของโลก ทำให้ผู้สังเกตบนโลกมองเห็นดวงจันทร์มืดลงทั้งดวง
หรอื บางสว่ น
เทคโนโลยีอวกาศเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจ 1
และศึกษาวัตถุท้องฟ้า ทั้งในและนอกระบบสุริยะ เพื่อนำความรู้ที่
ได้จากการสำรวจและศึกษามาใชป้ ระโยชนใ์ นด้านตา่ งๆ
เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อขยาย 1
ขอบเขตในการเรียนรู้ของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์และอวกาศ 1
และยังมีการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกใน 1
การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์อีกด้วย 1
จรวดเป็นยานพาหนะที่ทำหนา้ ทส่ี ง่ ยานอวกาศหรือดาวเทียม
ขึ้นไปเหนือชั้นบรรยากาศ โดยใช้การเผาไหม้เชื้อเพลิงให้เกิดแก๊ส
ร้อนที่พุ่งออกมาทางด้านท้ายและผลักดันให้จรวดเคลื่อนที่ไป
ขา้ งหน้าด้วยแรงมหาศาล
ดาวเทียม ยานอวกาศ และยานขนส่งอวกาศ เป็นเทคโนโลยี
อวกาศท่ใี ช้ในการสำรวจอวกาศ มหี นา้ ที่สำรวจอวกาศแตกต่างกนั
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ได้แก่ การใช้ดาวเทียม
สื่อสาร การใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และการใช้ดาวเทียมสำรวจ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/
ตวั ชี้วัด
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 80
ประโยชน์ของเทคโนโลยี (ว 3.1 ป. 6/2)
อวกาศ
การทดสอบปลายปี -
รวมระห
ปลาย
รวม
๑๗
สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
(ช่ัวโมง)
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ ได้แก่ การใช้ดาวเทียม 1
สื่อสาร การใช้ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และการใช้ดาวเทียมสำรวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ
-
หวา่ งปี 80 70
ยปี - 30
ม 80 100
๑
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง
คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ สารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหาร การเลือกรับประทาน
อาหารที่เหมาะสมกบั เพศและวัย และความปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ ระบบย่อยอาหาร หน้าที่ของอวัยวะในระบบ
ยอ่ ยอาหาร การย่อยอาหารและการดูดซมึ สารอาหาร ความสำคญั ของระบบยอ่ ยอาหาร การดูแลรักษาอวยั วะ
ในระบบย่อยอาหาร การแยกสารผสม การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง
และการตกตะกอน การแยกสารในชีวิตประจำวัน การเกิดแรงไฟฟ้าจากการขัดถูของวัตถุ ส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานและการ
นำไปใช้ประโยชน์ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและขนานและการนำไปใช้ประโยชน์ การเกิดเงามืด เงามวั
ปรากฏการณ์สุริยุปราคา และจันทรุปราคา พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศและการใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร วัฏจักรหิน ประโยชน์ของหินและแร่ใน
ชีวิตประจำวัน การเกิดซากดึกดำบรรพ์ และสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลม
ทะเล และมรสมุ ผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะ
ชายฝั่ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย การปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จากภยั ธรรมชาติ การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก การใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบาย
และออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา การออกแบบ การเขยี นโปรแกรมและการตรวจหาข้อผดิ พลาด การค้นหาข้อมูล
ในอนิ เทอรเ์ นต็ อย่างมีประสิทธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงานรว่ มกนั
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สร้าง
แบบจำลอง และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรข์ ั้นพื้นฐานและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารเบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อธิบายและ
ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหา และตรวจหา
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงาน
ร่วมกัน
เพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้และ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
หน้าทขี่ องตน เคารพในสทิ ธิของผอู้ ืน่ มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม
รหสั ตัวช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมท้ังหมด ๓๐ ตวั ช้ีวัด
๒
หน่วยการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6
หน่วย ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ เนื้อหา มาตรฐานการเรียนรู้ เวลา
ท่ี และตัวชีว้ ดั (ชั่วโมง)
ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียน 1
1 เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ • วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 3
• ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ -
• จิตวิทยาศาสตร์
2 อาหารและการย่อยอาหาร • อาหารหลกั 5 หมู่ (ว 1.2 ป.6/1) 12
• สารอาหาร (ว 1.2 ป. 6/2)
• ธงโภชนาการ
(ว 1.2 ป. 6/3)
• อาหารในกลมุ่ เดยี วกนั ทรี่ บั ประทาน
ทดแทนกนั ได้ (ว 1.2 ป. 6/4)
(ว 1.2 ป. 6/5)
• ความต้องการพลังงานทคี่ วรไดร้ บั ใน
1 วนั สำหรบั คนไทย
• พลังงานที่เหมาะสมซึ่งได้รบั จาก
อาหาร
• วติ ามินในอาหาร
• ระบบยอ่ ยอาหาร (2)
• การย่อยอาหาร
• อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร
• การเพมิ่ พนื้ ท่ใี นการยอ่ ยอาหาร
3 ไฟฟา้ นา่ รู้ • การถ่ายโอนประจไุ ฟฟา้ (ว 2.2 ป.6/1) 14
• ผลของแรงไฟฟ้า (ว 2.2 ป. 6/1)
(ว 2.3 ป. 6/1)
• สญั ลักษณแ์ ละส่วนประกอบของ (ว 2.3 ป. 6/2)
วงจรไฟฟ้า
• ส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ (ว 2.3 ป. 6/1)
(ว 2.3 ป. 6/2)
• วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย (ว 2.3 ป. 6/1)
• ตัวนำไฟฟา้ (ว 2.3 ป. 6/1)
• แหล่งพลงั งานไฟฟ้า (ว 2.3 ป. 6/1)
• การตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้า (ว 2.3 ป. 6/3)
(ว 2.3 ป. 6/4)
• แผนภาพวงจรไฟฟา้ (1) (ว 2.3 ป. 6/2)
๓
หนว่ ย ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ เนื้อหา มาตรฐานการเรยี นรู้ เวลา
ท่ี และตัวช้ีวัด (ชั่วโมง)
• แผนภาพวงจรไฟฟา้ (2) (ว 2.3 ป. 6/2)
(ว 2.3 ป. 6/5)
• การตอ่ หลอดไฟฟา้ (ว 2.3 ป. 6/5)
(ว 2.3 ป. 6/6)
• การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรม (ว 2.3 ป. 6/5)
(ว 2.3 ป. 6/6)
• การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและ
แบบขนาน
• การใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งปลอดภยั
4 การแยกสาร • การจำแนกสาร (ว 2.1 ป. 6/1) 9
ในชีวติ ประจำวนั • การแยกของแข็งออกจากของแข็ง
• การแยกของแข็งท่ีไม่ละลายใน
ของเหลวออกจากของเหลว
• การแยกสารแม่เหลก็ ออกจากสาร
ผสม
• การแยกสารในชวี ิตประจำวัน
การทดสอบกลางปี
5 ปรากฏการณ์และ • ลมบก ลมทะเล และมรสุม (ว 3.2 ป. 6/4) 11
การเปล่ยี นแปลงของ • ลมบก ลมทะเล (ว 3.2 ป. 6/5) 16
อากาศ • ประโยชน์ของลมบก ลมทะเล (ว 3.2 ป. 6/8)
(ว 3.2 ป. 6/9)
• มรสุม
(ว 3.2 ป.6/1)
• ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก (ว 3.2 ป.6/2)
6 ปรากฏการณ์และ • ประเภทของหนิ (ว 3.2 ป.6/3)
(ว 3.2 ป.6/6)
การเปลย่ี นแปลงของโลก • วัฏจักรหิน (ว 3.2 ป.6/7)
(ว 2.3 ป. 6/8)
• สมบตั ทิ างกายภาพของแร่
• ประเภทของแร่
• ประเภทของซากดกึ ดำบรรพ์
• กระบวนการเกดิ ซากดกึ ดำบรรพ์
• ซากดกึ ดำบรรพ์ดรรชนีและ
• การค้นพบซากดกึ ดำบรรพใ์ น
ประเทศไทย
• ภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัติภัย
• การปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั จากภัย
ธรรมชาตแิ ละธรณพี ิบตั ภิ ยั
หนว่ ย ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ เน้อื หา ๔
ท่ี
มาตรฐานการเรียนรู้ เวลา
และตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง)
• น้ำท่วม
• การกดั เซาะชายฝงั่
• ดนิ ถล่ม
• แผ่นดินไหว
• สนึ ามิ
7 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ • ปรากฏการณส์ รุ ยิ ุปราคาและ (ว 3.1 ป. 6/2) 14
80
และเทโนโลยีอวกาศ จันทรุปราคา
• การเกิดเงามดื เงามวั
• ปรากฏการณ์สรุ ิยปุ ราคา
• ปรากฏการณ์จันทรปุ ราคา
• เทคโนโลยอี วกาศ
• ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศ
• เทคโนโลยีอวกาศทใ่ี ชใ้ นการสำรวจ
อวกาศ
• ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ
การทดสอบปลายปี
รวม
ลงชื่อ...................................................
(นางสาวฉันทพชิ ญา รตั นบุตร)
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ