The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่3 การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanchaiwangdee, 2021-08-26 04:50:53

การงานอาชีพ ม.3 หน่วยที่3 การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ

หน่วยที่3 การประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ

การประดิษฐ์บรรจภุ ัณฑ์

จากวัสดธุ รรมชาติ

ความหมาย ลกั ษณะทด่ี ี ประเภทของ วสั ดุธรรมชาติ หลกั การ ข้นั ตอน
ความเป็ นมา ของบรรจุภัณฑ์ บรรจุภณั ฑ์ ทใี่ ช้ประดษิ ฐ์ ออกแบบบรรจุ การประดษิ ฐ์
และประโยชน์ของ บรรจุภัณฑ์ ภณั ฑ์จากวสั ดุ บรรจุภัณฑ์
การบรรจุภณั ฑ์
ธรรมชาติ

ความหมาย ความเป็ นมา และ
ประโยชน์ของการบรรจุภณั ฑ์

๑. ความหมายของการบรรจุภณั ฑ์

๒. ความเป็ นมาของการบรรจุภณั ฑ์

๓. ประโยชน์ของการบรรจุภณั ฑ์

ความหมายของการบรรจุภณั ฑ์

บรรจุภณั ฑ์ หมายถึง รูปแบบวสั ดุภายนอกท่ีทา บรรจุภัณฑ์สาหรับรองรับผลติ ภัณฑ์

หนา้ ที่รองรับหรือห่อหุม้ ผลิตภณั ฑภ์ ายในรวมถึงภาชนะ
ท่ีใชเ้ พ่ือการขนส่งผลิตภณั ฑจ์ ากแหล่งผลิตไปยงั ผบู้ ริโภค
เพ่ือทาหน้าท่ีป้องกันหรื อรักษาผลิตภัณฑ์จากความ
เสียหายต่าง ๆ อานวยความสะดวกในการขนส่งและ
ก า ร เ ก็บ รั ก ษ า ใ ห้ค ง ส ภ า พ แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ ใ ห้ม า ก ท่ี สุ ด
รวมถึงช่วยกระตุน้ การซ้ือขายตลอดจนแจ้งรายละเอียด
ของผลิตภณั ฑใ์ หแ้ ก่ผบู้ ริโภค

ความเป็ นมาของการบรรจุภณั ฑ์

มนุษยร์ ู้จกั นาวสั ดุจาก พฒั นาจนมีรูปแบบของ เร่ิมออกแบบเพื่อการแขง่ ขนั
ธรรมชาติมาใชห้ อ้ หุม้ อาหาร บรรจุภณั ฑห์ ลายชนิด ดา้ นความตลาด โดยใช้
และส่ิงของต้งั แต่สมยั โบราณ
เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั

ต่อมามนุษยค์ ิดคน้ และเรียนรู้ ก่อนหนา้ น้ีบรรจุภณั ฑถ์ ูก
วิธีการประดิษฐภ์ าชนะ ออกแบบใหใ้ ส่สิ่งของเพ่ือ
รูปแบบต่าง ๆ จาหน่ายหรือเคลื่อนยา้ ยได้

อยา่ งสะดวก

ประโยชน์ของการบรรจุภณั ฑ์ ๒. รักษาคุณภาพหรือป้องกนั ผลิตภณั ฑ์
แปรสภาพอนั เกิดจากสิ่งแวดลอ้ มต่าง ๆ
๑. ช่วยรองรับสินคา้ ใหร้ วมเป็นกลุม่ ตามรูปทรง
ของบรรจุภณั ฑ์ สะดวกต่อการเคลื่อนยา้ ย

๗. ช่วยใหส้ ะดวกตอ่ การควบคุม ๓. ป้องกนั ผลิตภณั ฑใ์ หอ้ ยใู่ นสภาพ
จานวนและประหยดั เม่ือตอ้ งจดั ใกลเ้ คียงเมื่อแรกผลิตมากท่ีสุด
กิจกรรมส่งเสริมการจาหน่าย
๕. บรรจุภณั ฑท์ ่ีสวยสะดุดตาทาหนา้ ท่ี ๔. สามารถส่ือความหมาย
๖. ช่วยสร้างมูลคา่ เพิ่ม หรือ แนะนาผลิตภณั ฑห์ รือดึงความสนใจ และรายละเอียดต่างๆ ของ
ยกระดบั ราคาใหแ้ ก่ ผบู้ ริโภคใหซ้ ้ือสินคา้ ผลิตภณั ฑไ์ ด้
ผลิตภณั ฑ์ สร้างความ
น่าเช่ือถือและเป็ นที่ยอมรับ
ของผบู้ ริโภค

ลกั ษณะทดี่ ขี องบรรจุภณั ฑ์

บรรจุภณั ฑแ์ บ่งไดเ้ ป็น ๒ แบบ คือ บรรจุภัณฑ์
เพื่อการขนส่งซ่ึงเป็นภาชนะบรรจุช้นั นอกทาหนา้ ที่อานวยความ
สะดวกในการลาเลียงขนส่ง รวมท้งั ช่วยป้องกนั สินคา้ มิให้
เสียหายในระหวา่ งการขนส่ง และบรรจุภัณฑ์เพ่ือการขายปลกี คือ
ภาชนะบรรจุหน่วยสินคา้ ยอ่ ยท่ีผบู้ ริโภคสามารถสมั ผสั ได้
โดยตรง

ลกั ษณะทดี่ ีของบรรจุภัณฑ์ ๒. ๓. ๔.

๑.

ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ใชไ้ ดก้ บั เคร่ืองมือการ ควรผลิตบรรจุภณั ฑใ์ ห้ กระบวนการผลิตและ
สวยงาม วสั ดุท่ีใชม้ ี บรรจุท่ีมีอยแู่ ลว้ หรือ สนองกบั ความตอ้ งการ การนาไปบรรจุภณั ฑ์
ลกั ษณะกลมกลืนกบั จดั หามาได้ ของตลาดหรือผบู้ ริโภค สะดวก เสียหายนอ้ ย
สินคา้ รูปร่างแปลกใหม่ โดยวเิ คราะห์บรรจุ รวดเร็ว ไม่ซบั ซอ้ นผลิต
และสีสันท่ีสะดุดตา ภณั ฑเ์ ทียบกบั คู่แข่งที่มี ไดค้ ร้ังละมาก ๆ ช่วย
กลุม่ เป้าหมายเดียวกนั ประหยดั เวลา แรงงาน
และลดตน้ ทุนการผลิต

๕. มีความแขง็ แรงและทนทาน

๖. ใชบ้ รรจุภณั ฑอ์ ยา่ งมีเหตุผลและมีประสิทธิภาพ เช่น

ขนาดของบรรจุภณั ฑไ์ ม่ใหญ่เกินไป เพราะสิ้นเปลืองวสั ดุ ทาใหต้ น้ ทุนสูงและขนส่งยาก
ผลิตจากวสั ดุท่ีมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกบั ลกั ษณะของสินคา้
สามารถนาเสนอสินคา้ ไดอ้ ยา่ งดี
ทาจากวสั ดุท่ีมีความหนา–บางเหมาะสมกบั น้าหนกั ของสินคา้

๗. ๘. ๙.

ผบู้ ริโภคสามารถถือ ส่งเสริมจรรยาบรรณ สามารถนามามาใชซ้ ้า
กลบั บา้ นและเปิ ดใชไ้ ด้ และรับผดิ ชอบตอ่ สังคม รีไซเคิล และกาจดั ได้
อยา่ งสะดวก โดยพมิ พข์ อ้ มูล ง่ายไม่ก่อใหเ้ กิดมลพิษ
รายละเอียดเกี่ยวกบั และไม่ทาลาย
สินคา้ ตามความเป็นจริง สิ่งแวดลอ้ ม
ไม่ควรโฆษณาเกินจริง

ประเภทของบรรจุภณั ฑ์

บรรจุภณั ฑเ์ ร่ิมจากความพยายามของมนุษยท์ ่ี
คิดเคล่ือนยา้ ยส่ิงของต่าง ๆ จากท่ีหน่ึงไปอีกที่หน่ึง
จึงคิดหาวิธีและสิ่งต่าง ๆ เขา้ มาใช้ ทาใหม้ ีการพฒั นา
รูปแบบท้งั โครงสร้างและดา้ นกราฟิ กมาอยา่ งต่อเน่ือง

๑. บรรจุภณั ฑ์ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ

บรรจุภณั ฑท์ ่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หมายถึง เปลือกของผลไมท้ ่ีธรรมชาติสร้าง
ข้ึนเพือ่ ห่อหุม้ เน้ือผลไม้ ทาหนา้ ท่ีป้องกนั รักษาเน้ือผลไมใ้ หม้ ีคุณภาพดี มีท้งั เปลือกท่ี
รับประทานไดแ้ ละรับประทานไม่ได้

๒. บรรจุภณั ฑ์ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้

บรรจุภณั ฑท์ ี่มนุษยส์ ร้างข้ึน เป็นบรรจุภณั ฑท์ ี่สร้างข้ึนเพ่ือใชป้ กป้องและรักษา
ผลิตภณั ฑ์ อาจเป็นวสั ดุที่สร้างจากวสั ดุธรรมชาติหรือวสั ดุสังเคราะห์อื่น ๆ ท้งั น้ี
มีการสร้างสรรคร์ ูปแบบและสีสนั ใหส้ วยงามเพ่อื ส่งเสริมการขายอีกดว้ ย

๒. บรรจุภณั ฑ์ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้

บรรจุภณั ฑ์ ๒.๑ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการขนส่ง
ทมี่ นุษย์
สร้างขนึ้ ๒.๑.๑ ประเภทกล่องหรือลงั กระดาษ
๒.๑.๒ ประเภทลงั ไม้ เข่งไม่ไผ่ ตะกร้าหวาย
๒.๑.๓ ประเภทโอ่ง ไห

๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการปกป้องสินค้า

• ใบกล้วยหรือใบตอง • ใบจาก
• กระบอกไม้ไผ่ • ใบเตย
• กะลามะพร้าว

๒. บรรจุภณั ฑ์ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ (ต่อ)
๒.๑ บรรจุภณั ฑ์เพ่ือการขนส่ง

บรรจุภัณฑ์กล่องกระดาษ บรรจุภณั ฑ์จากไม้ บรรจุภัณฑ์เครื่องป้ันดนิ เผา

๒. บรรจุภณั ฑ์ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้

๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพ่ือการปกป้องสินค้า (ต่อ) • ใบกล้วยหรือใบตอง

๑. การห่อขนมที่ปกปิ ดท้งั หมด

ข้าวต้มมดั ขนมสอดไส้ ขนมจาก

๒. บรรจุภณั ฑ์ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้

๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการปกป้องสินค้า (ต่อ) • ใบกล้วยหรือใบตอง

๒. การห่อแบบคร่ึงชิ้น

ห่อหมก ขนมตาล ตะโก้

๒. บรรจุภณั ฑ์ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้
๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการปกป้องสินค้า (ต่อ) • กระบอกไม้ไผ่

เป็ นภาชนะหุงตม้
ภาชนะบรรจุอาหาร

กระบอกไม้ไผ่เป็ นบรรจุภณั ฑ์ทที่ นความร้อนได้ดี

๒. บรรจุภณั ฑ์ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้
๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพ่ือการปกป้องสินค้า (ต่อ) • กะลามะพร้าวอ่อน

เป็ นภาชนะบรรจุอาหาร

เป็ นภาชนะในการรับประทาน

กะลามะพร้าวอ่อน

๒. บรรจุภณั ฑ์ทม่ี นุษย์สร้างขนึ้
๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการปกป้องสินค้า (ต่อ) • ใบจาก

นามาห่อขนมจากก่อนนาไปปิ้ งยา่ ง
ขนมจะมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ จากใบ
จาก

ใบจาก

๒. บรรจุภณั ฑ์ทมี่ นุษย์สร้างขนึ้
๒.๒ บรรจุภณั ฑ์เพื่อการปกป้องสินค้า (ต่อ) • ใบเตย

นามาเยบ็ กระทงสี่เหลี่ยมเลก็ ใส่ขนม
ลืมกลืน ขนมตะโก้ ขนมจะมีกล่ินหอม
จากใบเตย

ใบเตย

วสั ดุธรรมชาตทิ ใ่ี ช้ประดษิ ฐ์
บรรจุภณั ฑ์

๑. ต้นไม้ ๕. ใบไม้ ๙. ใบเตยทะเล ๑๓. ต้นปอสา
๒. ไม้ไผ่
๓. ต้นหวาย ๖. บัว ๑๐. ใบปาล์ม ๑๔. กระดาษรีไซเคลิ
๔. ต้นมะพร้าว ๗. ใบลาน เยื่อไม้และ ๑๕. กระดาษชานอ้อย
๘. ผกั ตบชวา ๑๖. วสั ดุกนั กระแทก
๑๑. กระดาษ

๑๒. ประเภทของ
กระดาษ

ต้นไม้ ก ่ลองไ ้มขนาด ่ตาง ๆ

• มีความแขง็ แรงทนทานกวา่ วสั ดุอ่ืน
• เกิดปัญหาทาลายป่ าและมีข้อจากัดของผูน้ าเข้า

สินคา้
• การผลิตบรรจุภณั ฑ์ประเภทไม้ ตอ้ งคานึงถึงความ

เหมาะสมของสินคา้ วิธีการขนส่ง ระยะเวลาใน
การขนส่ง น้าหนักบรรทุก และประเภทของไมท้ ่ี
นามาผลิต
• รูปแบบบรรจุภณั ฑ์ข้ึนอยู่กับลักษณะของสินค้า
และความตอ้ งการของผใู้ ช้

ไม้ไผ่ ผลิตภัณ ์ฑจากไ ้มไ ่ผและการนามาใ ้ชเ ็ปนบรร ุจ ัภณ ์ฑ

• ไมไ้ ผโ่ ตเร็ว แตกหน่อแพร่พนั ธุ์ง่าย
• ไมไ้ ผท่ ี่นามาทาบรรจุภณั ฑ์ เช่น ไผป่ ่ า ไผร่ วก ไผ่

สีสุก
• สามารถนามาผลิตเป็นบรรจุภณั ฑใ์ นรูปแบบต่าง ๆ

ตามความสามารถของคนในทอ้ งถิ่น เช่น สานเขง่
ชะลอม ประดิษฐเ์ ป็นกลอ่ ง ถาด

ต้นหวาย ผลิตภัณ ์ฑจาก ้ตนหวาย

• ตน้ หวาย เป็นพชื ตระกูลปาลม์ มีความเหนียว ความ
แขง็ แรง คงทน เติบโตไว

• สามารถเกบ็ เกี่ยวเพ่ือนามาใชไ้ ดโ้ ดยท่ีไม่ตอ้ งแปร
รูปมากนกั จึงไม่กระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม

• นิยมใชป้ ระโยชนห์ ลายอยา่ ง เช่น เฟอร์นิเจอร์ วสั ดุ
ก่อสร้าง และเครื่องจกั สาน

ต้นมะพร้าว ๑. ผลมะพร้าว
๒. ลาต้นมะพร้าว
• เป็นไมย้ นื ตน้ อยใู่ นตระกลู ปาลม์ พบทว่ั ไปใน ๓. ทางมะพร้าว
ทุกแห่งของประเทศไทย ๔. ใบมะพร้าว

• นามาใชป้ ระโยชน์ไดท้ ุกส่วน
• นกั ประดิษฐส์ ามารถนามะพร้าวมาใชท้ าเป็ นบรรจุ

ภณั ฑไ์ ด้ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

ต้นมะพร้าว ผลิตภัณ ์ฑจากผลมะพ ้ราว

๑. ผลมะพร้าว

• นาไปใชท้ ้งั ผลหรือใชเ้ ฉพาะกะลามะพร้าว
• ถา้ นามะพร้าวไปใชท้ ้งั ผลจะไดบ้ รรจุภณั ฑท์ ี่มี

รูปทรงเฉพาะตวั
• ถา้ เลือกใชเ้ ลือกเฉพาะกะลามะพร้าว จะไดบ้ รรจุ

ภณั ฑท์ ่ีมีรูปทรงค่อนขา้ งกลม
มีลวดลายท่ีผวิ สวยงาม
• ผลมะพร้าวสามารถนามาใชเ้ ป็นบรรจุภณั ฑอ์ าหาร
เทียนไข และเครื่องหอมได้

ต้นมะพร้าว ผลิตภัณ ์ฑจาก ้ตนมะพ ้ราว

๒. ลาต้นมะพร้าว

เม่ือมะพร้าวหมดอายหุ รือถูกโค่นทิ้งแลว้ ลา
ตน้ มะพร้าวยงั นามาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ีก เช่น ทา
เฟอร์นิเจอร์ โตะ๊ เกา้ อ้ี เคร่ืองใช้ ของตกแต่งบา้ น ทาฝา
ผนงั อาคารบา้ นเรือน ทาร้ัว กระถางตน้ ไม้ และจดั
ตกแตง่ สวน ตน้ มะพร้าวสามารถนามาประดิษฐเ์ ป็ น
บรรจุภณั ฑร์ ูปแบบตา่ ง ๆ เช่น กลอ่ ง ถาด แจกนั

ต้นมะพร้าว ๔. ใบมะพร้าว

๓. ทางมะพร้าว นามาสานเป็นภาชนะ โดยใชภ้ ูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นท่ีสืบทอดกนั มา การเลือกใบมะพร้าวสาหรับ
คือ ส่วนท่ีเป็นเสน้ กลางใบ มีความเหนียว นามาสาน ควรเลือกใบท่ีสวยแขง็ แรง ไม่มีรอยกดั แทะ
พอสมควร สามารถนามาใชเ้ ป็นไมก้ ลดั เพ่ือยดึ ใบไมใ้ ห้ ของแมลง ไม่ขาด ใบมะพร้าวสามารถนามาสานเป็น
ติดกนั เช่น กลดั ห่อขนม เยบ็ กระทง ไมก้ วาด บรรจุภณั ฑร์ ูปแบบตา่ ง ๆ เช่น กระจาด ตะกร้า ชะลอม
ใชผ้ ลิตเป็นบรรจุภณั ฑ์ เช่น สานเป็นชะลอม ตะกร้า
กระจาด

ตะกร้าทส่ี านจากทางมะพร้าว ชะลอมทส่ี านจากใบมะพร้าว

ต้นมะพร้าว

สานชะลอมจากใบมะพร้าว

วสั ดุและอปุ กรณ์

๑. ทางมะพร้าว ๑ ทาง
๒. เชือกฝ้าย
๓. มีดจกั ดอก
๔. กรรไกรตดั ก่ิงไม้
๕. กรรไกรตดั กระดาษขนาดยาว ๖ นิ้ว

วธิ ีทา

๑. ๒.

เลือกทางมะพร้าวที่มีตาหนินอ้ ยที่สุด ฉีกทางมะพร้าวให้ นบั ใบมะพร้าวจากโคนทางมะพร้าวจานวน ๒๔–๒๘ ใบ
แยกจากกนั จากปลายทางมะพร้าวมาหาโคนทางมะพร้าว แลว้ ตดั ทางมะพร้าวส่วนท่ีเหลือออก

๔. ๓.

ใชเ้ ชือกมดั เป็นช่วง แต่ละช่วงห่างกนั ๒–๓ ช่องใบ ตดั ใบมะพร้าวออกไปคร่ึงหน่ึง (๑๒–๑๔ ใบ) ปาด
แกนกลางใหบ้ างลงเพื่อใหด้ ดั เป็นวงได้

วธิ ีทา

๕. ๖.

นามาวางซอ้ นบนใบที่จดั เป็นวงใชเ้ ชือกผกู ใหแ้ น่น จบั ใบที่ ๑ (เร่ิมตน้ ใบไหนกไ็ ด)้ สานลายขดั โดยสอดใบ
มะพร้าวข้ึน ๑ คร้ัง ลง ๑ คร้ัง เวยี นไปตามใบมะพร้าว
๘. จานวน ๕ คร้ัง เวลาสานจบั บิดเอาทางกา้ นมะพร้าวข้ึน

๗.

สานลายขดั แบบเดียวกนั จนครบทุกใบ จบั ใบมะพร้าวใบที่ ๒ ท่ีอยดู่ า้ นหนา้ ใบที่ ๑ สานลายขดั แบบ
เดียวกนั จานวน ๕ คร้ัง

วธิ ีทา

๙. ๑๐.

ใบสุดทา้ ยจะสานทบั บนใบท่ี ๑ โดยสอดสานไปจน ผกู ปลายใบมะพร้าวส่วนที่เหลือจากการสวนรวมกนั ไวด้ ว้ ย
ครบ ๕ คร้ัง เชือก

๑๒. ๑๑.

สอดใบมะพร้าวกลบั เขา้ ไปในช่องท่ีอยถู่ ดั ไปเพ่ือทากน้ จดั แต่งใบมะพร้าวที่สานไวใ้ หแ้ น่นเป็นรูปทรงที่สวยงาม
ชะลอม

วธิ ีทา

๑๓. ๑๔.

สอดใบมะพร้าวกลบั เขา้ ดา้ นในจนครบทุกใบกน้ จบั มะพร้าวต้งั ข้ึน แกเ้ ชือกที่ผกู ปลายใบมะพร้าวออก แบ่ง
ชะลอมจะเรียบร้อยสวยงาม คร่ึงใบมะพร้าวท่ีอยดู่ า้ นล่างโดยใชม้ ือซา้ ยจบั ไว้

๑๖. ๑๕.

ใชม้ ือขวาจบั ใบมะพร้าวใบท่ี ๒ ของใบท่ีเหลือสอดเขา้ ไป ใชม้ ือขวาจบั ใบมะพร้าวใบแรกของใบท่ีเหลือสอดเขา้ ไป
ในท่ี ๒ ที่อยใู่ นมือซา้ ย ใบท่ี ๓ ของใบท่ีเหลือสอดเขา้ ไปใน ในใบแรกที่อยใู่ นมือซา้ ย
ใบท่ี ๓ ท่ีอยใู่ นมือซา้ ย ทาเช่นน้ีจนครบทุกใบ

วธิ ีทา

๑๗. ๑๘.

ใชม้ ือขวาจบั ใบมะพร้าวใบแรกของใบที่เหลือสอดเขา้ นาปลายใบมะพร้าวที่อยดู่ า้ นนอกสอดกลบั เขา้ ไปในดา้ นใน
ไปในใบแรกที่อยใู่ นมือซา้ ย
๑๙.
๒๐.

ตดั เชือกท่ีผกู ยดึ ใบมะพร้าวส่วนท่ีเป็นตวั ชะลอมออก จะได้ ทาหูชะลอมโดยแบ่งใบมะพร้าวเป็น ๒ ส่วนจบั ใบมะพร้าว
ชะลอมท่ีเสร็จสมบูรณ์พร้อมท่ีจะนาไปใชบ้ รรจุภณั ฑ์ มาไขวก้ นั แลว้ มดั ดว้ ยเชือก

ใบไม้ ผลิตภัณ ์ฑจากใบกก

• ใบกก (Sedge)

• มีหลายพนั ธุ์ มีมากในทอ้ งถ่ิน นิยมทาเป็น
หตั ถกรรมพ้นื บา้ น

• ชาวจงั หวดั จนั ทบุรีนาตน้ กกมาทอเป็ นเสื่อ
กก โดยใชต้ น้ ปอกระเจาเป็นเสน้ ยนื

• ปัจจุบนั มีการพฒั นารูปแบบลวดลาย และ
สีสนั เสื่อกกใหท้ นั สมยั คงทน สวยงาม
สามารถแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑส์ ิ่งของ
เครื่องใช้

ใบไม้ ผลิตภัณ ์ฑท่ีสานจากใบกระ ูจด

• ใบกระจูด

• กระจูดเป็นวชั พืชประเภทกก พบมากในบาง
พ้นื ที่ของจงั หวดั นราธิวาส

• นามาสานเป็นกระสอบใส่ของ และเส่ือ
• ต่อมามีการพฒั นารูปแบบผลิตภณั ฑจ์ าก

กระจูดเป็นภาชนะเคร่ืองใชใ้ นครัวเรือน
ประเภทต่าง ๆ ตกแต่งใหม้ ีสีสนั และลวดลาย
เพอื่ เพ่มิ มูลค่าใหก้ บั ผลิตภณั ฑ์

ใบไม้ ผลิต ัภณ ์ฑจากใบตอง

• ใบกล้วย (Banana Leaf)

• ใบกลว้ ยหรือใบตอง สามารถนามาใชท้ า
บรรจุภณั ฑไ์ ดท้ ้งั ใบตองสดและใบตองแหง้

• ใชห้ ่อขนม ดอกไม้ เคร่ืองหอม เยบ็ เป็น
ภาชนะบรรจุอาหารที่กนั น้าได้ ถา้ ใบตองไม่
เปราะหรือแตก

• นกั ประดิษฐส์ ามารถตกแต่งภาชนะจาก
ใบตองใหป้ ระณีตสวยงามมากข้ึนโดยใช้
ใบไมห้ รือดอกไมม้ าพบั เยบ็ ติดตกแต่งรอบ
ภาชนะ

ใบไม้

กระทงส่ีมุม

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

๑. ใบตอง
๒. ไมก้ ลดั
๓. ภาชนะทรงกลมขนาดตามตอ้ งการ
๔. มีดบางปลายแหลม

๑. วธิ ีทา

เลือกใบตองที่เหมาะสมในการประดิษฐ์ ๓.
คือ ใบตองกลว้ ยตานี เพราะมีความ ฉีกใบตองกวา้ งตามขนาดกระทงที่ตอ้ งการ
เหนียวนุ่ม ไม่เปราะ ไม่ขาดง่าย สีเขียว นาไปตองมา ๒ แผน่ ประกบหลงั ใบตอง
สม่าเสมอ มีความหนา และความบาง ใหซ้ อ้ นกนั ใชถ้ ว้ ยวางทบั ใชม้ ีดกรีดตาม
พอเหมาะ ขอบถว้ ย จะไดใ้ บตองทรงกลม ๒ ชิ้น

๒. ๔.
เชด็ ใบตองใหส้ ะอาดท้งั สองดา้ น จบั ริมกระทงใหซ้ อ้ นเกยกนั แลว้ ใชไ้ ม้
กลดั กลดั ใบตองทุกช้นั ใหต้ ิดกนั

๕.
จบั จีบมุมตรงขา้ มและจบั จีบระหวา่ งสอง
มุมแรก จะไดม้ ุมท้งั หมด ๔ มุม

บัว ผลิตภัณ ์ฑจากใบ ับว

• เป็นพนั ธุไ์ มน้ ้าลม้ ลุก มีใบขนาดใหญ่ อุม้ น้า
ไดด้ ี มีกล่ินหอม

• คนไทยใชใ้ บบวั ในการห่ออาหาร ปัจจุบนั
ยงั คงเห็นการใชบ้ วั มาห่อขา้ วที่ผดั และ
ปรุงรสแลว้ เรียกวา่ “ขา้ วห่อใบบวั ”

ใบลาน ผลิต ัภณ ์ฑจากใบลาน

• ใบลาน คือ ใบของตน้ ลาน เป็นพชื ใบเล้ียง
เด่ียวในตระกลู ปาลม์ ใบใหญ่และกลม

• การประดิษฐบ์ รรจุภณั ฑใ์ บลานดว้ ยวิธีถกั
สานอาจใชว้ สั ดุอ่ืนร่วมดว้ ยเพ่อื เพ่ิมความ
แขง็ แรง และสวยงาม

• ใชบ้ รรจุสินคา้ หลากหลายประเภท เช่น ผา้
เครื่องหอม สบู่ อาหารแหง้

ผกั ตบชวา ผลิตภัณ ์ฑจากผักตบชวา

• ผกั ตบชวาเป็นพชื ลม้ ลุก เติบโตเร็ว

• นามาสานเป็ นบรรจุภณั ฑ์จักสานผกั ตบชวาท่ี
สวยงาม มีมูลค่า ช่วยเสริ มสร้างรายได้กับ
ชุมชนและลดปัญหาสิ่งแวดลอ้ มไดเ้ ป็นอยา่ งดี

• บรรจุภณั ฑ์ที่ทาจากผกั ตบชวามีหลายรู ปแบบ
เพราะผกั ตบชวาเหนียวไม่ขาดง่ายจึงสามารถ
ถกั ทอ สานเป็นรูปแบบต่าง ๆ ไดง้ ่าย

ใบเตยทะเลหรือปาหนัน ต้นใบเตยทะเลหรือปาหนัน ผลิตภัณ ์ฑจากใบเตยทะเล
บรรจุภณั ฑ์จากใบเตยทะเล
• ใบเตยทะเลขยายพนั ธุ์ไดเ้ ร็ว

• แหล่งใบเตยทะเลที่นามาใชจ้ กั สานมาจาก
อาเภอสิเภา จงั หวดั ตรัง

• ชาวบา้ นที่อยรู่ ิมทะเลจะนาใบเตยทะเลไป
สานเป็ นภาชนะใส่ของในครัวเรื อนหรื อโตะ๊
ทางาน

เย่ือไม้และกระดาษ

• เยอื่ ไมท้ ่ีนามาผลิตเป็นกระดาษมีหลายชนิด
เน่ืองจากกระดาษที่มีคุณภาพดีตอ้ งผสมเส้นใยที่
ยาว จากไมย้ นื ตน้ ทาใหเ้ กิดการตดั ตน้ ไม้

• กระบวนการผลิตกระดาษในโรงงาน
อุตสาหกรรมมีการใชพ้ ลงั งานสารเคมี และ
ปล่อยของเสียออกมาในรูปของแก๊สน้าเสีย
ดงั น้นั จึงควรใชก้ ระดาษเท่าที่จาเป็นและคุม้ คา่

กล่องจากเยื่อไม้

ใบปาล์ม ภาชนะบรร ุจอาหารที่ผลิตจากใบปา ์ลม

• นกั ประดิษฐช์ าวสวติ เซอร์แลนด์ นาใบปาลม์
พนั ธุเ์ อดากาท่ีไม่เป่ื อยยยุ่ ง่ายมาทาเป็นภาชนะ
ใส่อาหาร

• ภาชนะจากใบปาลม์ เหมาะกบั อาหารแหง้
มากกวา่ อาหารที่เป็นน้า และเหมาะกบั การใช้
แบบคร้ังเดียวทิ้ง สามารถนามาแปรรูปเป็น
อาหารสตั วไ์ ดห้ ลงั ใชง้ าน

ประเภทของกระดาษ กระดาษคราฟต์

กระดาษลูกฟูก ๗. ๑. ใชก้ บั งานที่ตอ้ งการความแขง็ แรงสูง
ใชส้ าหรับบรรจุผลิตภณั ฑท์ ี่น้าหนกั มาก ๖.
กระดาษแขง็ แรงขณะเปี ยก
กระดาษพาร์ชเมนต์
นิยมใชบ้ รรจุผลิตภณั ฑอ์ าหาร ประเภท ๒. ใชห้ ่อผลิตภณั ฑท์ ่ีมีความช้ืนสูง ใช้
ของ ทาถุงเพอื่ การบรรจุภณั ฑท์ ่ีมีโอกาส

กระดาษทชิ ชู กระดาษ เปี ยกน้า
นิยมใชห้ ่อผลิตภณั ฑท์ ี่ตอ้ งการ
ป้องกนั รอยขดู ขีดผวิ ห่อของขวญั ๖. ๓. กระดาษเหนียวชนิดยืด
นิยมใชท้ าถุงเพ่อื การขนส่ง
หรือผลิตภณั ฑท์ ่ีมีมูลคา่ สูง

กระดาษกลาสซีน ๕. กระดาษกนั ไขมัน
นิยมห่อผลิตภณั ฑท์ ี่มีไขมนั สูง
๔. นิยมใชห้ ่อผลิตภณั ฑอ์ าหารที่มี

ไขมนั สูงและชิ้นส่วนอะไหลท่ ่ีมี
น้ามนั เคลือบกนั สนิม

ประเภทของกระดาษ
แบบท่ี ๑

๑. นาแบบไปขยายแลว้ ตดั ตามเสน้ กรอบ ๓. ตดั กระดาษสี่เหลี่ยมจตั ุรัสขนาดเท่า ๔. พบั กระดาษตามแนวกรอบของฐาน
นอกโดยรอบ ฐานกล่องปิ ดทบั บริเวณฐานกล่องเพื่อ กล่อง
เสริมความแขง็ แรง
๒. นาไปลอกแบบลงบนกระดาษท่ีจะใช้ ๕. สอดปลายกระดาษใหซ้ อ้ นเกยไปทาง
ประดิษฐบ์ รรจุภณั ฑ์ เดียวกนั

ประเภทของกระดาษ

ประเภทของกระดาษ
แบบที่ ๒

๑. นาแบบไปขยาย แลว้ ตดั ตามเสน้ กรอบนอก ๓. พบั กระดาษตามแนวรอบประ
๒. นาไปลอกแบบลงบนกระดาษท่ีจะใชป้ ระดิษฐ์ ๔. ทากาวบนกระดาษส่วนท่ีเผอ่ื ดา้ นขา้ งกลอ่ งหรือ
กระดาษส่วนท่ียาวท่ีสุด ทิ้งไวใ้ หก้ าวแหง้
บรรจุภณั ฑ์ ๕. พบั กระดาษส่วนฐานกล่องเขา้ ใหเ้ รียบร้อยโดยทา
กาวยดึ ติดไวเ้ พ่ือความแขง็ แรง

ประเภทของกระดาษ
แบบที่ ๓

๑. ตดั กระดาษขนาด ๔ x ๖ นิ้ว จานวน ๒ แผน่ ๒. ขีดเสน้ ตรงโดยรอบใหห้ ่างจากริมกระดาษดา้ นละ ๑ นิ้ว

๓. นากระดาษมา ๑ ชิ้น ตดั ริมกระดาษท้งั ๔ ๔. พบั กระดาษท้งั สองชิ้นตามแนวดินสอ
ดา้ น ออกขา้ งละ ๑/๘ นิ้ว เพอ่ื ทาตวั กล่อง

ประเภทของกระดาษ ๖. หงายกระดาษข้ึน พบั กระดาษตามแนวดินสอ และพบั
แบบที่ ๓ กระดาษส่วนท่ีตดั ใหต้ ลบเขา้

๕. ตดั กระดาษที่ดา้ นกวา้ งของกล่องท้งั สองดา้ นตามแนว
ดินสอใหถ้ ึงจุดที่เสน้ ตดั กนั

๗. ทากาวแลว้ ผนึกกระดาษใหเ้ ขา้ รูปสวยงาม ๘. ตวั กล่องและฝากล่องครอบกนั พอดี


Click to View FlipBook Version