วิจัยในช้ันเรยี น
การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าวิทยาการคำนวณ
โดยใช้วธิ กี ารเรยี นการสอนแบบใชแ้ บบฝึกนวตั กรรม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/1 เรื่องการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ขน้ั ตอน
โดย
นางสาววาสนา จนั ทร์เจรญิ
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
โรงเรยี นชุมชนบา้ นนาบอน
อำเภอเชียงคาน จงั หวดั เลย
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเลย เขต 1
คำนำ
ปัจจุบันคนไทยทุกคน ได้รับการศึกษาและการเรียน รู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ำรงชีวิตอย่างเป็น สุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 คือวิสัยทัศน์ของ
แผนการศึกษาแห่งชาติ มีเป้าหมายในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ
สนองตอบและก้าวทันกับการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทบริบทท่ีเปลี่ยนแปลง ท้ังเรื่องการเมือง
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม รวมท้ังวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมรอบตัวในปัจจุบันเป็นยุคใหม่ ส่งผลให้สภาวะการ รวมถึง
ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงได้เกิดปัญหาในทุกด้าน การศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือสำคัญท่ีจะช่วยให้เด็กและ
เยาวชนไทยสามารถเอาตัวรอดได้เม่ือต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จึงเป็นหน้าที่สำคัญของผู้สอนท่ี
จะต้อง เป็นผมู้ วี ิสยั ทศั น์ในการสอน โดยจะตอ้ งวิเคราะหว์ า่ ผเู้ รยี นควรมที กั ษะกระบวนการและคุณลักษณะใดและ
ต้องดำรงชีวิตในโลกการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ท่ีต้องคิดค้นหาวิธีการ เทคนิค หรือสื่อการสอนแบบฝึก
นวตั กรรมใหม่ๆ มาใชใ้ นการเรียนการ สอนในสาขาวิชา เปน็ การพัฒนาผู้เรยี นให้เกิดการเรยี นร้ตู ามธรรมชาติ และ
เต็มศักยภาพ ซ่ึงเป็นไปตามระบบ การทำงานทม่ี ีคุณภาพ ผลงานชน้ิ น้ีคงมีประโยชน์แก่ผู้พบเห็น และจะนำผลงาน
เผยแพรต่อสาธารณชน ได้จรงิ เป็นรูปธรรม
ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยในฐานะผู้สอนจึงสนใจท่ีเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาการคำนวณ ของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจดั การเรียนการสอนโดยใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรมกบั การจัดการ
เรยี นการสอนตามปกติว่าแตกต่างกันหรือไม่อยา่ งไร และศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนที่ได้รับการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมเพอ่ื เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รยี น อันเปน็ ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอนให้ดียง่ิ ข้ึนตอ่ ไป
นางสาววาสนา จันทร์เจริญ
ผู้จดั ทำ
สารบญั
หน้า
บทคดั ย่อ .................................................................................................................................. ก
คำนำ ........................................................................................................................................ ข
กิตตกิ รรมประกาศ .................................................................................................................... ค
สารบัญ ..................................................................................................................................... ง
บทที่
1 บทนำ .................................................................................................................................. 1
2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง ........................................................................................ 8
3. วธิ ีดำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า ................................................................................................ 45
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู ............................................................................................................. 50
5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ................................................................................... 53
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า .......................................................................................................... 53
อภิปรายผลการศึกษาคน้ คว้า ................................................................................................... 54
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. 55
บรรณานุกรม ........................................................................................................................... 57
ภาคผนวก ................................................................................................................................ 58
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนีม้ วี ัตถปุ ระสงคด์ ังนี้
1. เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรยี นโดยใช้แบบฝกึ นวตั กรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี 2/1 โดยมีเป้าหมายใหน้ กั เรยี นทกุ คนมผี ลการเรยี นผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนด เร่ืองการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอน
2. เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นให้ดีขน้ึ และเป็นแนวทางในการพฒั นาการสอน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบฝกึ นวตั กรรมการเรยี น ไดแ้ ก่
1. รปู แบบการเรยี นการสอนแบบใช้แบบฝกึ นวตั กรรม
2. แบบบนั ทกึ คะแนนประจำหนว่ ยและใบงาน
3. สมุดแบบฝึกหดั และใบกิจกรรมของนกั เรียน
4. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียนและแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั เรยี น
ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม มาใช้ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ
คำนวณ ผลปรากฎว่า คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 4.82 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน
เท่ากับ 8.10 คะแนน ซ่ึงมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เท่ากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมี
คะแนนสูงข้ึนกว่าเดิมโดยมีคะแนนความก้าวหน้าเม่ือเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคิดเป็น
รอ้ ยละ 68.05 และมีสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานที่ลดลง นักเรยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในรายวิชาเพม่ิ ข้ึนอย่างเห็น
ได้ชดั และกิจกรรมกล่มุ ของนกั เรียนทำให้เกิดบรรยากาศที่ดีและเออ้ื ต่อการเรียนการสอน ช่วยใหน้ ักเรียนมคี วาม
กระตือรือร้นสนใจ ต้ังใจ และมีความรับผิดชอบต่อการเรียนมากข้ึน อีกท้ังยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความ
กระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา ช่วยสรา้ งความสามัคคีให้เกิดขึ้นในกลุ่ม รู้จักแก้ปัญหาร่วมกนั ทำงานเป็นทีมระดม
ความคิดของหลายคน ซ่ึงแนวทางนี้เหมาะสมในการแก้ปัญหาในช้ันเรียนได้เป็นอย่างดี รวมถึงสามารถสร้าง
ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาวิทยาการคำนวณเป็นอย่างมาก ผลพฤติกรรมการทำงานและความรับผิดชอบของ
นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานและความ
รับผดิ ชอบของนักเรยี น ทกุ คนมีคะแนนพฤติกรรมการทำงานทเ่ี พม่ิ ขนึ้
*******************************************
กิตติกรรมประกาศ
รายงานการวิจัยช้ันเรียนฉบับนี้ เป็นการวิจัยเชิงพัฒนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 2 ให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยคณะครู ผู้เชี่ยวชาญ และผู้อำนวยการโรงเรียน ที่กรุณาให้คำปรึกษา
พร้อมทงั้ ชว่ ยเหลือ แนะนำตรวจสอบ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ ผูร้ ายงานขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างสูง
ในโอกาสน้ีขอขอบคุณคณะครู นักเรียนในโรงเรียนทุกคน ที่ให้ความร่วมมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใน
การพัฒนาการจัดการเรยี นร้สู งู่ านวจิ ยั ในคร้ังนดี้ ้วยดี และการวิจยั จะส่งผลดีต่อนกั เรยี นและผู้วจิ ยั มีแนวทางในการ
พฒั นาการเรยี นการสอนได้มากขึน้
ด้วยคุณค่าและประโยชน์ของรายงานฉบับนี้ ทางผู้รายงานขอมอบเป็นเครื่องแสดงความกตัญญูต่อผู้มี
พระคุณในชีวิต ท่ีให้การศึกษา อบรมสั่งสอน ให้มีสติปัญญาและคุณธรรมท้ังหลาย อันเป็นเคร่ืองมือนำไปสู่
ความสำเร็จในชีวติ ของผ้รู ายงาน และจะนำไปสกู่ ารพัฒนาสังคมได้อกี และผูว้ ิจยั สามารถพัฒนาแบบฝกึ นวัตกรรม
เพอื่ การเรยี นรขู้ องนกั เรียนไดส้ ืบไป
นางสาววาสนา จนั ทร์เจรญิ
ผจู้ ัดทำ
บทท่ี 1
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคญั
แบบฝึกนวัตกรรมมีความสำคัญต่อการศึกษาหลายประการ ท้ังน้ีเนื่องจากในโลกยุคโลกาภิวัตน์
Globalization มีการเปล่ยี นแปลงในทุกดา้ นอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความกา้ วหนา้ ท้งั ดา้ นเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ การศึกษาจึงจำเปน็ ตอ้ งมีการพฒั นาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศกึ ษาที่มอี ยู่เดิม เพอ่ื ให้ทันสมัยต่อการ
เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป อกี ท้งั เพอ่ื แก้ไขปญั หาทางด้านการศึกษาบางอย่างท่ี
เกดิ ขน้ึ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพเชน่ เดยี วกนั การเปลย่ี นแปลงทางด้านการศกึ ษาจึงจำเปน็ ต้องมกี ารศึกษาเก่ยี วกับแบบ
ฝึกนวัตกรรมการศึกษาท่ีจะนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเร่ือง เช่น ปัญหาท่ีเก่ียวเน่ืองกับ
จำนวนผู้เรียนที่มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย การผลิตและพัฒนาส่ือใหม่ๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองการ
เรียนรู้ของมนุษย์ให้เพ่ิมมากข้ึนด้วยระยะเวลาท่ีสั้นลง การใช้แบบฝึกนวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหาร
จัดการด้านการศึกษาก็มสี ่วนชว่ ยให้การใชท้ รัพยากรการเรียนรูเ้ ป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เชน่ เกิดการเรยี นรูด้ ว้ ย
ตนเอง
ประเภทของแบบฝึกนวัตกรรมทางการศึกษา มี 2 ประเภท 1. เทคนิคและวิธีการ 2. สิ่งประดิษฐ์วัสดุ
อุปกรณ์
คุณคา่ และประโยชน์ของแบบฝึกนวัตกรรมการศกึ ษาและการเรียนการสอน แบบฝึกนวตั กรรมการศึกษามี
คุณค่าและประโยชน์ต่อ การจัดการเรยี นการสอน สามารถ สรุปไดด้ งั นี้ 1. ชว่ ยพฒั นาศกั ยภาพ และความสามารถ
สูงสุดของบุคคล 2. ช่วย ขยายขอบเขตความรู้ และโลกทัศน์ทางวชิ าการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ช่วยลดปัญหา
เร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล 4. ช่วยเปิดโอกาสทางการเรียนให้กับผู้เรียนอย่างทั่วถึง 5. ช่วยให้คนสามารถ
ปรับตวั ในสังคมที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วได้ 6. ช่วยใหผ้ ู้เรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการศึกษาหา
ความรู้ เพ่ิมเติม
ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารงานวิจัยและตำรา พบว่ามีวิธีการสอนหลากหลายวิธีที่ช่วยพัฒนา การคิดอย่างมี
วิจารณญาณและการแก้ปัญหา การจัดการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมเป็นฐานเป็นวิธีหนึ่งที่ ช่วยเสริมสร้าง
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา และการจัดการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมเป็น ฐานเป็นการ
จัดการเรียนรู้ตามความสนใจของผู้เรียน การออกแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมที่ดีจะกระตุ้นผู้เรียนให้มี การค้นคว้า
อยา่ งกระตือรือร้นและใช้ทักษะการคิดขนั้ สงู เพราะกจิ กรรมในการเรียนการสอนแบบ ใช้แบบฝึกนวตั กรรมจะช่วย
เพ่ิมระดับความสามารถของผู้เรียน ในการสอนคิดซึ่ง เป็นเรื่องเก่ียวกับกระบวนการทางสมองนั้น มีความเป็น
นามธรรม การสอนคิดน้ีจะนำไปสู่การพัฒนา ทกั ษะการคิด และทักษะกระบวนการคิด ใหก้ ับนักเรียน โดยเฉพาะ
การสอนคิดด้วยการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมนั้น เป็นการสอนกระบวนการคิดซึ่งเป็นทักษะการคิดขั้นสูงคือ
การสอนใหน้ กั เรียนใช้วธิ ีการทางวิทยาการคำนวณในการค้นหาความรู้ใหม่และสงิ่ ประดิษฐใ์ หม่
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณถือได้ว่า เป็นพ้นื ฐานทส่ี ำคัญของการคิดแก้ปัญหา เพราะฉะน้ัน ในการพัฒนา
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา จึงจำเป็นต้องพัฒนาการคิดอย่าง มีวิจารณญาณเป็น อันดับแรกการคิดอย่างมี
วิจารณญาณเป็นการคิดในระดับสูง การส่งเสริมให้เด็กเกิดการคิด ในระดับน้ี ได้น้ันจะต้องผ่านการคิดในระดับ
งา่ ยๆ มาก่อน น่นั คือ การคดิ ขน้ั พืน้ ฐานและ การคิดระดับกลาง ซ่ึงมี ข้นั ตอนและความซบั ซ้อนในการคดิ ไม่มากนัก
เป็นทักษะท่ีใช้อยู่เสมอ ในชีวิตประจำวันและในการ เรียนรู้เน้ือหาวิชาต่างๆ เช่น การอ่าน การฟัง การถาม การ
อธิบาย ไปจนถึงการสังเกต การจำแนก แยกแยะ การเปรียบเทียบ การสรุปความ การเรียงลำดับ การเช่ือมโยง
การวจิ ารณ์ การลงสรปุ เป็น ต้น เมื่อนำทักษะเหลา่ น้ีมา ผสมผสานเข้าดว้ ยกันเข้ากจ็ ะเปน็ การคดิ ในระดบั สูง การ
คิดอย่างมี วิจารณญาณ เป็นสิ่งท่ี สามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ระดับปฐมวัย โดยการฝึกทักษะการคิดขั้น
พื้นฐานก่อน และ เพ่ิมความซับซอ้ นใหม้ ากขน้ึ เป็นความคดิ ระดบั กลาง ถ้าได้ฝกึ ฝนอย่เู สมอก็จะ กลายเป็นการคิด
ระดับสงู หรือการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้ แนวทางท่ที ำให้ผู้เรยี นเกิดการคิดอยา่ งมี วจิ ารญาณ คือ การให้ผู้เรยี น
ได้ลงมอื ทำกจิ กรรมโดยไดร้ บั จากประสบการณต์ รงเรยี นรู้จากของจริง และแบบฝึกนวตั กรรมมีความสำคัญอีก ดังน้ี
1. เพือ่ นำแบบฝึกนวตั กรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน เชน่
1.1 ปัญหาเร่ืองวธิ ีการสอน ปญั หาทม่ี ักพบอยู่เสมอ คอื ครสู ว่ นใหญ่ยังคงยึดรปู แบบการสอนแบบบรรยาย
โดยมีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอ่ืน การสอนด้วยวธิ ีการแบบน้ีเป็นการ สอนที่ขาดประสิทธิภาพ
และประสทิ ธผิ ลในบั้นปลาย เพราะนอกจากจะทำให้นักเรยี นเกิดความเบ่ือหนา่ ย ขาดความสนใจแลว้ ยงั เปน็ การ
ปดิ กั้นความคดิ และสติปัญญาของผู้เรยี นใหอ้ ยู่ในขอบเขตจำกดั อีกดว้ ย
1.2 ปัญหาด้านเน้ือหาวิชา บางวิชาเน้ือหามาก และบางวิชามีเน้ือหาเป็นนามธรรมยากแก่การเข้าใจจึง
จำเป็นจะตอ้ งนำเทคนคิ การสอนและสอ่ื มาชว่ ย
1.3 ปญั หาเรอื่ งอปุ กรณ์การสอน บางเนื้อหามีสอ่ื การสอนเป็นจำนวนน้อยไม่เพียงพอต่อการนำไปใช้เพื่อ
ทำให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาวชิ าไดง้ ่ายขน้ึ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคิดค้นหาเทคนคิ วธิ ีการสอน
และผลิตสือ่ การสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ทำให้การเรยี นการสอนบรรลุเป้าหมายได้
2. เพื่อนำแบบฝึกนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน เพ่ือให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็น
ประโยชน์ต่อการศึกษา โดยการนำส่ิงประดษิ ฐ์หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ในการเรียนการสอนนั้นเผยแพร่ไปสู่ครู
อาจารย์ท่านอ่ืน ๆ หรือเพื่อเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนึ่งให้กับครู อาจารย์ที่สอนในวิชาเดียวกัน ได้นำ
แนวความคิดไปปรับปรงุ ใชห้ รือผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอนต่อไป
3. เพ่ือนำไปใช้ในการบริหารการศึกษา เพื่อให้เป็นไปด้วยความสะดวกและมีประสิทธิภาพซึ่งสุดท้าย
ผลประโยชน์ที่ได้รับก็จะนำไปผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาท่ีสูงข้ึนต่อไป วิธีการปฏิบัตใิ หม่ๆ ท่ีแปลกไปจากเดิมโดย
อาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมและสิ่งทั้งหลายเหล่าน้ี
ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เช่ือถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จดุ หมายปลายทางได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพขึน้
ด้วยเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงพัฒนากระบวนการได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใช้
แบบฝกึ นวัตกรรม เพื่อสง่ เสริมการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและการคิดแก้ปัญหา ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2
แบบฝึกนวตั กรรมมีประโยชน์ทางด้านอารมณ์ บคุ ลกิ ภาพ สังคมและการเรียนการสอน ทำให้นักเรียนมีทัศนคติ
ท่ีดีต่อการเรียนการสอน นักเรียนได้รับความรู้จากแบบฝึกนวัตกรรม และเรียนจากแบบฝึกนวัตกรรมด้วยความ
สนกุ สนาน ดงั นนั้ ครูจงึ นำแบบฝกึ นวัตกรรมไปสอดแทรกไดเ้ กอื บทุกวชิ า
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรยี นโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปี
ท่ี 2/1 โดยมีเป้าหมายใหน้ ักเรยี นทุกคนมีผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์ทกี่ ำหนด เรอื่ งการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ข้ันตอน
2. เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนใหด้ ขี นึ้ และเป็นแนวทางในการพัฒนาการสอน
สมมติฐานของการวิจยั
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : การสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรม สามารถทำให้
นักเรียนบางส่วนทีไ่ ม่เข้าใจบทเรยี นนั้น กลบั มาเข้าใจบทเรยี นมากขึ้นและเรยี นรไู้ ด้มากขนึ้ กว่าคำอธบิ ายของครู
ขอบเขตของการวิจยั
1. กลุ่มตวั อย่าง คือ นกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 10 คน
ประชากร คอื นกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 จำนวน 19 คน
2. ตัวแปรท่ีศึกษาได้แก่
2.1 ตวั แปรตน้
การจัดการเรยี นรโู้ ดยรปู แบบการเรียนการสอนโดยยดึ ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง : การสอนโดยใช้
แบบฝกึ นวัตกรรม
2.2 ตวั แปรตาม
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวทิ ยาการคำนวณเรื่องการแกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
3. การวิจัยครง้ั นดี้ ำเนนิ การในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565
ประโยชน์คาดวา่ จะไดร้ ับ
1. ผลการการวิจัยคร้ังน้ีครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาการคำนวณและกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ
สามารถนำวิธีการการจัดการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมเป็นฐาน ไปปรับใชแ้ ละประยุกต์ใช้ไดใ้ น กระบวนการ
เรียนการสอนเพื่อพฒั นาใหผ้ ้เู รียนเกดิ ความสามารถในการคิดอย่างมวี ิจารณญาณและแก้ไขปัญหาได้
2. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมเป็นฐาน มีความสามารถในการคิด และ
สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณและแก้ไขปญั หาทส่ี ูงข้ึนขณะเรยี นได้
เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย
1. รปู แบบการเรยี นการสอนแบบใช้แบบฝกึ นวตั กรรม
2. แบบบนั ทึกคะแนนประจำหนว่ ยและใบงาน
3. สมุดแบบฝึกหัดและใบกิจกรรมของนักเรยี น
4. แบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรยี นและแบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรยี น
ระยะเวลาการดำเนนิ งานวจิ ยั
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 รวมระยะเวลา 2 เดือน
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรยี นทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลงั เรยี น
ซึ่งเครือ่ งมอื เป็นข้อสอบทีค่ รสู รา้ งขนึ้ เองและไดต้ รวจสอบคณุ ภาพแล้ว
2. ความสนใจเรียน หมายถึง การท่ีนักเรียนแสดงออกถึงความรู้สึกชอบ และพอใจในวิธีสอน ท่ีใช้การ
สอนโดยใชก้ จิ กรรมการเรียนแบบการใช้กระบวนการกลุ่มการพัฒนาการคดิ การสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมใน
ชั้นเรียน และเอาใจใส่ตอ่ วิชาทเี่ รียนอยู่ ด้วยการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากการศกึ ษาค้นควา้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
การทำแบบฝึกหัด ดว้ ยความพอใจ มีความกระตือรือรน้ และจดจ่อต่อการเรียนการสอนในชั่วโมง และสนใจซักถาม
ปัญหา ในเรือ่ งที่ครสู อนเม่ือมีขอ้ สงสัย สนทนา โต้แย้งอภิปรายปัญหาในเร่อื งที่เรยี น ติดตามเอกสาร หนังสือพมิ พ์
หรือตำราเรยี นท่เี กี่ยวข้องมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นด้วยความสมคั รใจ
3. แบบฝึกนวตั กรรม หมายถึง ชดุ การสอนส่ิงท่ีสร้างจากความคิดของจดุ ประสงค์การเรียนรู้ การปฏิบัติ
และการกระทำใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยมีมาก่อนหรอื การพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมท่ีมอี ยแู่ ลว้ ใหท้ ันสมัยและใชไ้ ด้ผลดี
ยงิ่ ขน้ึ เม่อื นำแบบฝึกนวตั กรรมมาใช้จะช่วยใหก้ ารทำงานนน้ั ได้ผลดมี ีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสูงกวา่ เดิม
4. การสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรม หมายถึง กลวิธีต่างๆ ท่ีครูใช้สอนนักเรียนมีการสร้าง หลังจากได้
ศึกษาสภาพปัญหา หลักการและเหตุผลของการสร้าง จึงดำเนินการตามข้ันตอน เช่น เขียนวัตถุประสงค์ วาง
โครงสร้าง เขียนขั้นตอนการใช้แบบทดสอบความเหมาะสม มีการนำมาทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง แล้วจึงแก้ไข
ปรบั ปรงุ
5. การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตดั สนิ ข้อความหรือปญั หาวา่ เป็นขอ้ เท็จจริง
หรอื เป็นเหตเุ ป็นผลกัน เปน็ กระบวนการคิดท่ีใช้เหตุผลโดยมีการศึกษาข้อเท็จจรงิ หลักฐาน และข้อมูลตา่ ง ๆ เพ่ือ
ประกอบการตดั สนิ ใจ แล้วนำมาพจิ ารณาวเิ คราะห์อย่างสมเหตผุ ล กอ่ นตัดสนิ ใจว่าส่ิงใดควรเชื่อหรือไม่ควรเช่ือ
6. การแก้ปัญหา หมายถึง การตระหนักถึงสิ่งท่ีเป็นปัญหา ทำความเข้าใจปัญหา วิเคราะห์ความสำคัญ
สาเหตุปัญหา เง่ือนไขหรือข้อจำกัดของสถานการณ์ปัญหา เพ่ือกำหนดขอบเขตของปัญหา เสนอแนวทางวิธีการ
แกไ้ ขปัญหา จากสถานการณข์ องปัญหาได้ตรงประเด็น ซึ่งจะนำไปส่กู ารคิดเลือกหัวขอ้ ทำใช้แบบฝกึ นวตั กรรม
กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั แปรตาม
ตวั แปรตน้ นกั เรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทด่ี ขี น้ึ
การเรยี นการสอนแบบ และมีคา่ ผ่านเกณฑม์ าตรฐาน
ใชแ้ บบฝึกนวตั กรรม
แบบแผนที่ใชใ้ นงานวิจยั
การวจิ ัยครง้ั นเ้ี ป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยดาํ เนินการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest Design
ดังแผนภาพน้ี
สอบกอ่ น ทดลอง สอบหลัง
T XT
เมือ่ T หมายถึง การวดั ผลกอ่ นการทดลอง
X หมายถงึ การจัดกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยการสอนแบบใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรม
T หมายถึง การวัดผลหลังการทดลอง
บทท่ี 2
หลกั การ แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้อง
ในการวจิ ัยคร้ังนี้ ผวู้ ิจยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ดงั ต่อไปนี้
1. การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ
2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
3. พฤติกรรมท่คี าดหวังทางด้านสติปญั ญา
4. การสอนวชิ าการ
5. การเรยี นการสอนแบบใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรม
6. งานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง
1. การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
วิจารณญาณ (Judgment) หมายถึงปัญญาหรือความรู้ในเรื่องใดเร่ืองหนึ่งที่ถูกต้อง เหมาะสม และ
สอดคล้องตามเหตุผลอันไดม้ าจากกระบวนการคดิ และพจิ ารณาดว้ ยความรู้ และประสบการณเ์ ดมิ ของตน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ “ critical thinking” หมายถึง การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์
สังเคราะห์ และประเมินผลในเนื้อหาหรือเหตุการณ์ท่ีเป็นปัญหาหรือข้อขัดแย้งโดยอาศัยความรู้ ความคิด และ
ประสบการณ์ของตนเพ่ือนำไปสูก่ ารตัดสินในการปฏบิ ัติดว้ ยความเหมาะสมอนั สอดคล้องกับหลักการ และเหตผุ ล
การคิดอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ ภายใต้พื้นฐานของหลักเกณฑ์ และมีข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ย่อมนำไปสู่
ขอ้ สรุป และการตดั สนิ ใจในทศิ ทางท่ีเหมาะสม และมีประสทิ ธิภาพ
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณจำเป็นต้องประกอบด้วยทักษะต่างๆ คอื การตัง้ คำถาม, การคดิ วิเคราะห์, การ
คิดสังเคราะห์, การสรปุ ประเมิน และการหาแนวทางในการนำไปใช้โดยใช้เหตุ และผล ประกอบการตัดสินใจ ไม่มี
ความลำเอียง หรือมีอคติต่อเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง โดยยึดหลักการบนพ้ืนฐานข้อมูลท่ีเป็นจริงมากกว่าอารมณ์และ
พิจารณาแยกแยะความเปน็ ไปได้ในแง่มุมตา่ งๆ
ความรู้และความคิดเป็นส่ิงคู่กันไปเสมอ เพราะการใช้ความคิดจำเป็นต้องนำความรู้และประสบการณ์
ต่างๆมาเป็นพ้ืนฐานประกอบในกระบวนการคิด ดังน้ันการเรียนรู้เพ่ือให้เกิดความคิดจึงไม่อาจทำได้ หากไม่ มี
เน้ือหาของความรู้แทรกอยทู่ ้งั การเรยี นรูด้ ้วยการอ่าน การฟัง และการดู เชน่ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณเปน็ การ
อ่านที่ต้องใช้ความคิดขณะอ่านข้อความ โดยนำความรู้และประสบการณ์ท่ีตนมาคิดประเมินเนื้อเรื่องที่อ่านว่า
ผู้เขยี นมีความคิดอยา่ งไรเนือ้ หามีความน่าเชอื่ ถือเพียงใด รวมถงึ สามารถอธบิ ายและขยายความในประโยคทีอ่ ่านได้
องค์ประกอบการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
1.จุดหมาย จุดมุ่งหมายของการคิดอย่างมีวิจารณญาณคือ คำตอบ หรือ ความรู้ใหม่ที่ได้จากการคิด
รวมถงึ แนวทางแก้ไขหรอื ประโยชนท์ ่ตี ามมา
2.ประเด็นคำถาม ประเด็นคำถามคือ โจทย์ปัญหาท่ีต้องการคำตอบ อันเกิดจากความสงสัย และการ
อยากร้ทู ง้ั นี้การต้ังโจทย์ปัญหาจะตอ้ งสน้ั ได้ใจความ ไมย่ าวเกินไปและใหส้ ัมพนั ธก์ ับเน้อื หาหรือสถานการณท์ ่สี งสัย
3.สารสนเทศ (ข้อมูล) สารสนเทศคือ แหล่งของข้อมูล หรือหลักฐานที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ อาจ
เปน็ หนงั สือ ตำราหรอื ข้อความบนเวบ็ ไซต์ เปน็ ต้น ซง่ึ ควรเปน็ ขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ ง และเชื่อถือได้
4.ข้อมลู เชิงประจกั ษ์ ข้อมลู เชิงประจักษ์ คือ ข้อมลู ท่ไี ด้กลั่นกรองและแยกแยะจากข้อมลู ต่างๆท่หี ามาได้
จนไดข้ ้อมลู ทีส่ ำคญั และตรงประเดน็ กบั เรือ่ งหรือสง่ิ ทีเ่ ราต้องการหาคำตอบ ขอ้ มลู ที่เปน็ จริง ข้อเทจ็ จริง
5.แนวคิดอย่างมีเหตุผล แนวคิดอย่างมีเหตุผลคือ การเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างข้อมูลท่ีหามาได้ และ
องค์ความร้เู ดิมกับข้อมูลหรอื สถานการณ์ทต่ี ้องการคำตอบเพื่อให้เขา้ ใจต่อข้อมูล และสถานการณ์นัน้ อย่างแจ่มชัด
หรือ ทเ่ี รยี กว่าคำตอบของโจทย์ ต้องอาศัยหลักการหรอื ทฤษฎีเข้าช่วยในการพิจารณาภายใต้พื้นฐานของเหตแุ ละ
ผลท่ีถูกตอ้ ง
6.ข้อสรุป และประโยชน์ ข้อสรุปคือ คำตอบของโจทย์ปัญหาท่ีชัดเจน และสำคัญที่สุดเป็นคำตอบท่ีได้
จากการกลั่นกรองด้วยการวิเคราะห์ตามหลักเหตุ และผลแล้วสรุปลงมาให้สั้น กะทัดรัด และเข้าใจง่าย
นอกจากน้นั ควรพิจารณาคำตอบน้นั ว่ามขี ้อดีขอ้ เสียอย่างไร จงึ จะถอื เปน็ การคิดอย่างมีวิจารณญาณทด่ี ี
ทักษะสำหรบั การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ
1.การต้ังประเด็นปัญหา การตั้งประเด็นปัญหาเป็นพื้นฐานขั้นแรกท่ีนำไปสู่ข้อสรุป คือ ต้องรู้จักสงสัย
และต้งั โจทย์ขน้ึ มากอ่ น
2.การรวบรวมขอ้ มลู การรวบรวมข้อมลู คอื การเสาะแสวงหาข้อมูลท้ังท่ีเป็นหนงั สอื เอกสารตีพมิ พ์ การ
สัมภาษณ์ เปน็ ตน้ เพอ่ื นำมาใชป้ ระกอบการพจิ ารณา
3.การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นนำข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาใช้ประกอบพิจารณาในหลักการ
และความเป็นไปไดด้ ว้ ยการเปรียบเทยี บข้อมลู กับเนือ้ หาหรอื เหตุการณท์ เ่ี กิดข้นึ
4.การสังเคราะห์ การสังเคราะห์เป็นการแยกแยะผลของการวิเคราะห์ ว่าอะไรคือเหตุ และอะไรคือผล
ส่วนใดน่าเชอ่ื ถอื สว่ นใดควรตดั ออก
5.การประเมินข้อมูล การประเมินข้อมูลเป็นการตัดสินใจ และเลือกประเด็นท่ีได้จากการสังเคราะห์
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความกระชบั และชัดเจน
ข้ันตอนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ
1.การตั้งสมมติฐานหรือการต้ังคำถาม เป็นการตั้งคำถามต่อข้อสงสัยของตนซึ่งอาจเป็นประโยคบอกเล่า
เช่น ปลาออกลูกเป็นตัว หรือ การตั้งเป็นประโยคคำถาม เช่นปลาออกหรือเป็นตัวหรือไม่ คอมพิวเตอร์ทำงาน
อยา่ งไร เป็นตน้ การต้ังประเด็นคำถามนี้เกิดไดท้ ัง้ จากสถานการณท์ ี่ท่ีเกดิ ข้ึน หรือ จากขอ้ มูลทีไ่ ดอ้ ่าน ไดฟ้ ังซึ่งเป็น
จดุ เร่ิมของกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.การรวบรวม และสืบหาข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเป็นการแสวงหาข้อมูลหรือหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือ
นำมาใช้ประกอบการพิจารณา ท้ังนี้ผู้รวบรวมจะต้องคัดเลือกข้อมูลให้เก่ียวข้องกับสิ่งที่ตนค้นหาเป็นหลักข้อมูล
เหล่าน้ี ไดแ้ ก่ –หนังสือตำราเรยี น –หนังสืองานวิจัย –การสัมภาษณ์บุคคล –ข่าวสารจากโทรทัศน์ หรือวทิ ยุ –ส่ือ
ออนไลน์ เชน่ เนอ้ื หาในเว็บไซต์ วดี โี อบนเว็บไซต์ เปน็ ต้น
3.การจัดระเบียบหมวดหมู่ของข้อมลู หลังจากทไ่ี ด้ขอ้ มูลหรือหลักฐานที่เก่ียวข้องกันแล้วข้อมลู เหล่าน้ีอาจ
มเี นื้อหาท่ีเก่ยี วข้องนอ้ ย เก่ียวข้องมาก เนอื้ หามีความชัดเจนหรอื ไมช่ ัดเจน ซ่ึงจำเป็นต้องคดั เลอื กข้อมลู ท่ีสำคญั ไว้
และจัดกลุ่มข้อมูลเป็นหมวดๆ เพื่อให้สามารถนำไปประกอบการพิจารณาได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง และรวดเร็ว
โดยในข้นั น้ี จำเป็นตอ้ งใช้ความร้เู ดมิ ชว่ ยในการพิจารณาซ่ึงเปน็ ทัง้ การวเิ คราะห์ และสงั เคราะห์รว่ มกนั
4.การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ และการทดสอบ หลังจากที่ได้ข้อมูลเป็นหมวดหมู่หรอื ได้ข้อมูลท่ีสำคัญ
แล้วจะเป็นการพิจารณา และวิเคราะห์สิ่งที่เราต้องการคำตอบด้วยการนำข้อมูลมาเปรียบเทียบมาเช่ือมโยง
ความสัมพันธ์ เพ่ือให้รู้ข้อเท็จจริง ให้รู้ถึงเหตุและผลของสิ่งที่เราค้นหา นอกจากน้ันแล้ว เพ่ือความแน่ใจ และ
ชัดเจนอาจตอ้ งทำการทดสอบหรือลองปฏบิ ัติดู
5.การสังเคราะห์ข้อมูล เม่ือทำการเปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละส่วนท่ีสัมพันธ์กันแล้วก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า
ประเด็นสัมพันธ์ หรือประเด็นที่เก่ียวข้องกันอันถูกต้องและชัดเจน ซึ่งอาจเกิดได้ในหลายๆประเด็นท่ีเป็นไปได้
ดงั นั้นจงึ ต้องทำการสงั เคราะหเ์ พิม่ เติมว่า ประเด็นใดมีความน่าเชื่อถอื ทส่ี ดุ ประเดน็ ใดมีความน่าเชื่อถือนอ้ ย พร้อม
เรียงลำดับใหช้ ัดเจนและคดั เลือกประเดน็ ทีส่ ำคัญทีส่ ุด
6.การสรุปผล หลังจากที่ได้ประเด็นท่ีน่าเชื่อถอื หรือสำคัญที่สุดแล้วจงึ นำประเด็นน้ัน มาเป็นคำตอบของ
โจทยท์ ีเ่ ราต้งั ไวพ้ รอ้ มกบั อธบิ ายความสมั พันธ์อยา่ งมเี หตุ และผล
ลักษณะผมู้ คี วามคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
1.มกั เป็นคนขส้ี งสัย ไมเ่ ช่อื อะไรงา่ ยๆ
2.ชอบการสงั เกต และจดบันทกึ
3.มกั มีการแสวงหาหลักฐานหรอื ข้อมูลอา้ งอิง
4.ชอบการอ่านหรอื การฟัง
5.มกั เป็นผ้ฟู ังทีด่ ี ไม่มีการโต้แยง้ จนกว่าจะแน่ใจว่าผิด
6.มักเป็นคนไม่ด่วนตัดสนิ วา่ สง่ิ ใดผดิ สิ่งใดถกู จนกวา่ จะมหี ลักฐานทีช่ ดั เจน
7.มักเป็นคนใจเยน็ มีความสุขุม
8.มักคาดเดาหรอื ทำนายเหตใุ นอนาคตไดด้ ี
ขอ้ ดีของการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
–สามารถฟัง และอ่านเข้าใจในเน้ือหาได้งา่ ย
–สามารถพูด หรือส่ือสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ดี
–สามารถเขยี นได้เร็ว เนือ้ หาครอบคลุม และถูกต้อง
–สามารถตง้ั ปัญหาท่ตี รงประเด็น สัน้ และกะทดั รดั ไดด้ ี
–สามารถมองเหน็ ภาพรวมของเนื้อหาหรือสถานการณไ์ ด้
–สามารถหาข้อมูลหรือหลักฐานมาประกอบการตัดสินใจได้ดี –มีการตัดสินใจที่ถูกต้อง สมเหตุสมผล –
เปน็ ผู้ทร่ี ู้ทันโลก รูท้ นั สถานการณใ์ นการดำเนนิ ชีวติ
–ชว่ ยใหม้ ีมุมมองท่ีหลากหลาย
–ช่วยใหเ้ ปน็ ผู้ไมห่ ลงงมงาย ไมเ่ ชอ่ื อะไรง่าย
–เปน็ ผมู้ นี ้ำใจ และเปิดใจกว้าง –ยอมรบั ในความคดิ เห็นของผู้อ่นื
เพญ็ พิศุทธ์ิ เนคมานรุ กั ษ์ ( 2558 ) ได้แบง่ องค์ประกอบของการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ เป็น 6 ด้าน คอื
1. การระบุประเด็นปัญหา เปน็ การระบุหรอื ทำความเข้าใจกับประเดน็ ปัญหา ข้อ คำถาม ขอ้ อ้าง หรือ
ข้อโต้แย้ง ประกอบดว้ ย ความสามารถในการพิจารณาข้อมลู หรอื สถานการณ์ ที่ปรากฏ รวมท้ังความหมายของ
คำหรอื ความชดั เจนของข้อความ เพื่อกำหนดประเด็นข้อสงสยั และประเด็นหลกั ที่ควรพิจารณา และการแสวงหา
คำตอบ
2. การรวบรวมข้อมูล เป็นความสามารถในการรวบรวมข้อมูลทั้งทางตรงและ ทางอ้อมจากแหล่งข้อมูล
ต่าง ๆ รวมถึงการรวมข้อมูลจากประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ซึ่งได้จากการคิด การพูดคุย การังเกตที่เกิดข้ึนจาก
ตนเองและผู้อน่ื
3. การพิจารณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล เป็นการวัดความสามารถในการ พิจารณา ประเมิน
ตรวจสอบ ตัดสินข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยพิจารณาถึงท่ีมาของ ข้อมูลสถิติ และหลักฐานท่ี
ปรากฏ รวมท้ังความเพียงพอของข้อมูลในแง่มุมต่าง ๆ ที่จะนำไปสู่การ ลงข้อสรุปอย่างมีเหตุผล หากยังไม่
เก่ียวขอ้ งท่ีจะใชพ้ ิจารณาลงขอ้ สรปุ ก็จะต้องรวบรวมขอ้ มลู เพ่มิ เติม
4. การระบุลักษณะของขอ้ มูล เป็นการวดั ความสามารถในการจำแนกประเภทของ ข้อมลู ระบุแนวคิดท่ี
อยู่เบ้ืองต้นหลังข้อมูลที่ปรากฏ ซ่ึงประกอบด้วย ความสามารถในการ พิจารณาแยกแยะ เปรียบเทียบความ
แตกต่างของข้อมูล การตีความข้อมูล ประเมินว่าข้อมูลใดเป็น ขอ้ เท็จจริง ข้อมูลใดเป็นข้อคิดเห็น รวมถึงการ
ระบุข้อสันนษิ ฐานหรอื ข้อตกลงเบื้องตน้ ท่อี ยู่ เบอื้ งหลงั ข้อมูลที่ปรากฏ เป็นการนำความรไู้ ปใช้ในสถานการณใ์ หม่
ท่อี าศัยขอ้ มลู จาก ประสบการณ์เดิมมาร่วมพิจารณา เพอ่ื ทำการสังเคราะห์ จัดกลุ่มและจัดลำดับความสำเร็จของ
ขอ้ มลู เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางสำหรับการพจิ ารณาตั้งสมมติฐานตอ่ ไป
5. การตั้งสมมติฐาน เป็นการวัดความสามารถเหนือกำหนดขอบเขต แนวทางการ พิจารณาหาข้อสรุป
ของคำถาม ประเด็นปัญหา และข้อโต้แย้ง ประกอบด้วยความสามารถในการ คิดถึงความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ระหว่างข้อมูลที่มีอยู่ เพ่ือระบุทางเลือกท่ีเป็นไปได้ โดยเน้นท่ี ความสามารถพิจารณาเช่ือมโยงเหตุการณ์และ
สถานการณ์
6. การลงข้อมูล เป็นวัดความสามารถในการลงข้อสรปุ โดยการใช้เหตุผลซงึ่ ถือว่า เป็นส่วนสำคญั ของการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ ในการลงข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลนั้นอาจใช้ เหตุผลเชิงอุปนัยหรือเหตุผลเชิงนิรนัย -
การให้เหตผุ ลเชิงอุปนัย เป็นการสรปุ ความโดยพิจารณาข้อมลู หรือกรณี เหตุการณ์ที่เกดิ ขึน้ เฉพาะเรอื่ ง เพื่อไปสู่
กฎเกณฑ์ ในท่ีนี้เป็นการวัดความสามารถในการสรุปความ เหตุการณ์ หรือข้อมูลที่กำหนดเป็นคำถาม โดยใช้
ข้อมลู หรือข้อความท่ีบอกมาเป็นเหตผุ ลหรือ กฎเกณฑเ์ พอ่ื การหาข้อสรุป
2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่างๆ ซึ่งเกิดจากนักเรียนได้รับ
ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมนิ ผล การสร้าง
เครอ่ื งมือวัดให้มีคุณภาพน้ัน ไดม้ ีผใู้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไว้ดงั น้ี
สมพร เช้ือพันธ์ (2547) สรุปว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาการคำนวณ หมายถึงความสามารถ
ความสำเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรูอ้ ันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน การฝกึ ฝน
หรอื ประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคลซึ่งสามารถวัดไดจ้ ากการทดสอบดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึงขนาดของ
ความสำเร็จทไี่ ดจ้ ากกระบวนการเรยี นการสอน
ปราณี กองจินดา (2549) กล่าว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือผลสำเร็จท่ีได้รับ
จากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมและประสบการณเ์ รยี นรทู้ างดา้ นพุทธิพิสัย จติ พิสัย
และทักษะพิสัย และยังไดจ้ ำแนกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไวต้ ามลักษณะของวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนท่ี
แตกตา่ งกนั
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2546) ให้ความหมายว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการวัด
ความสำเร็จทางการเรียน หรือวัดประสบการณ์ทางการเรียนท่ีผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอน โดยวัดตาม
จดุ มุ่งหมายของการสอนหรือวัดผลสำเร็จจากการศึกษาอบรมในโปรแกรมตา่ ง ๆ
ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คำจำกัดความผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึงความรู้
ความสามารถของบคุ คลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน หรือ มวลประสบการณ์ทั้งปวงท่ีบุคคลได้รบั จากการ
เรียนการสอน ทำให้บคุ คลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึง่ มีจดุ ม่งุ หมาย
เพอ่ื เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถสมองของบุคคลวา่ เรยี นแล้วรู้อะไรบา้ ง และมีความสามารถดา้ นใดมาก
น้อยเท่าไร ตลอดจนผลที่เกิดข้ึนจากการเรียนการฝึกฝนหรือประสบการณ์ต่างๆ ท้ังในโรงเรียน ท่ีบ้าน และ
สงิ่ แวดล้อมอน่ื ๆ รวมท้ังความรสู้ กึ คา่ นยิ ม จริยธรรมตา่ งๆ กเ็ ป็นผลมาจากการฝึกฝนด้วย
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากกระบวนการเรียนการสอนท่ีจะทำให้
นกั เรียนเกดิ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ดา้ น คือ ด้านพุทธิพิสยั ดา้ น
จติ พสิ ัย และด้านทักษะพสิ ยั
การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
การวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นมีความจำเป็นต่อการเรียนการสอน หรือการตัดสินผลการเรยี น เพราะเป็น
การวัดระดับความสามารถในการเรียนรู้ของบุคคลหลังจากท่ีได้รับการฝึกฝน โดยอาศัยเครื่องมือประเภท
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ซิ ึ่งเป็นเคร่ืองมือท่นี ยิ มมากทส่ี ดุ
การวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามแนวคดิ ของ Bloom (1982) ถือว่าสิง่ ใดก็ตาม ทม่ี ีปรมิ าณอยูจ่ ริงสิ่งนั้น
สามารถวัดได้ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก็อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดดังกลา่ ว ซึ่งผลการวัดจะเป็นประโยชนใ์ นลักษณะ
ทราบและประเมินระดับความรู้ ทักษะและเจตคติของนักเรียน และระดับความรู้ความสามารถตามแนวคิดของ
Bloom มี 6 ระดับ ดงั นี้
1) ความจำ คือ สามารถจำเรื่องต่าง ๆ ได้ เช่น คำจำกัดความสูตรต่าง ๆ วิธีการ เช่น นักเรียนสามารถ
บอกชอ่ื สารอาหาร 5 ชนิดได้ นักเรียนสามารถบอกชือ่ ธาตทุ ีเ่ ป็นองคป์ ระกอบของโปรตีนได้ครบถว้ น
2) ความเข้าใจ คือ สามารถแปลความ ขยายความ และสรุปใจความสำคัญได้
3) การนำไปใช้ คอื สามารถนำความรู้ ซ่งึ เป็นหลักการ ทฤษฎี ฯลฯ ไปใชใ้ นสภาพการณท์ ตี่ ่างออกไปได้
4) การวิเคราะห์ คือ สามารถแยกแยะข้อมูลและปัญหาต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อยเช่น วิเคราะห์
องคป์ ระกอบ ความสัมพันธ์ หลกั การดำเนินการ
5) การสังเคราะห์ คือ สามารถนำองค์ประกอบ หรือส่วนต่าง ๆ เข้ามารวมกันเป็นหมวดหมู่อย่างมี
ความหมาย
6) การประเมินค่า คอื สามารถพิจารณาและตดั สินจากข้อมลู คุณค่าของ หลักการโดยใชม้ าตรการทผี่ ู้อื่น
กำหนดไว้หรือตัวเองกำหนดข้นึ
เยาวดี วิบลู ย์ศรี (2557) ได้กล่าวถึงข้อตกลงเบ้อื งต้นท่ีควรคำนึงถงึ ในการสรา้ งแบบทดสอบผลสัมฤทธไิ์ ว้
ดังนี้
1) เน้ือหา หรือทักษะภายในขอบเขตที่ครอบคลุมในแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นั้น จะต้อง
สามารถจำกดั อยู่ในรูปของพฤติกรรม ซ่ึงมีความเฉพาะเจาะจงในลักษณะท่ีจะส่ือสารไปยังบุคคลอื่นได้ ถ้า
เปา้ หมายทางการศกึ ษาไม่สามารถจำกัดอย่ใู นรูปของพฤติกรรมแล้ว ย่อมไมส่ ามารถที่จะวัดได้ในลกั ษณะ
ของผลสัมฤทธไิ์ ดอ้ ยา่ งชัดเจน
2) ผลิตผลที่แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์วิ ัดน้นั จะต้องเปน็ ผลิตผลเฉพาะท่เี กดิ ข้ึนจากการเรียนการ
สอนตามวตั ถุประสงคท์ ่ตี อ้ งการเทา่ นั้น จะวดั ผลผลิตผลอยา่ งอ่ืนไมไ่ ด้
3) ผลสัมฤทธิ์หรือความรู้ต่าง ๆ ที่แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์วัดได้นั้น ถ้าจะนำไปเปรียบเทียบกัน
แลว้ ผูเ้ ขา้ สอบทุกคนจะตอ้ งมีโอกาสไดเ้ รยี นรใู้ นเร่ืองนนั้ ๆ เท่าเทยี มกนั
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
สมบูรณ์ ตันยะ (2545) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนเปน็ แบบทดสอบทใี่ ช้
สำหรับวัดพฤติกรรมทางสมองของผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถใน เรือ่ งท่ีเรียนรู้มาแล้ว หรือได้รับการฝึกฝน
อบรมมาแลว้ มากน้อยเพียงใด ส่วน พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2544) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น
แบบทดสอบทใี่ ชว้ ัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการท่ีผ้เู รยี นได้เรียนรมู้ าแล้ว ว่า บรรลุผลสำเร็จตาม
จุดประสงคท์ กี่ ำหนดไวเ้ พียงใด
พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2545) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงแบบทดสอบท่ีใช้วัด
ความรู้ ทกั ษะ และความสามารถทางวิชาการท่ีนักเรียนได้เรียนรมู้ าแล้วว่าบรรลผุ ลสำเรจ็ ตามจดุ ประสงคท์ ีก่ ำหนด
ไว้เพียงใด
สิริพร ทิพย์คง (2545) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงชุดคำถามที่มุ่งวัด
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนว่ามีความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพด้านสมองด้านต่างๆ ในเร่ืองที่เรียนรู้ไปแล้ว
มากน้อยเพยี งใด
สมพร เชื้อพันธ์ (2547) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงแบบทดสอบหรือชุด
ของข้อสอบทีใ่ ชว้ ัดความสำเร็จหรือความสามารถในการทำกิจกรรมการเรยี นรขู้ องนักเรียนที่เปน็ ผลมาจากการจัด
กจิ กรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนวา่ ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นร้ทู ต่ี ง้ั ไวเ้ พียงใด
ดังนั้นสรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คือแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ และทักษะ
ความสามารถจากการเรยี นรู้ในอดตี หรือในสภาพปจั จบุ นั ของแต่ละบุคคล
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ได้จัดประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งออกเป็น 2
ประเภท คือแบบทดสอบที่ครูสร้างข้ึนเอง (Teacher made tests) และแบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized
tests) ซ่ึงท้ัง 2 ประเภทจะถามเนื้อหาเหมือนกัน คือถามสิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอนซ่ึงจัดกลุ่ม
พฤติกรรมได้ 6 ประเภท คือ ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการ
ประเมนิ
1. แบบทดสอบท่ีครูสร้างข้ึนเป็นแบบทดสอบท่ีครูสร้างขึ้นเองเพื่อใช้ในการทดสอบผู้เรียนในชั้นเรียน
แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื
1.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) ได้แก่ แบบถูก – ผิด (True-false) แบบจับคู่
(Matching) แบบเติมคำให้สมบูรณ์ (Completion) หรือแบบคำตอบส้ัน (Short answer) และแบบ
เลอื กตอบ (Multiple choice)
1.2 แบบอัตนัย (Essay tests) ได้แก่ แบบจำกัดคำตอบ (Restricted response items) และ
แบบไม่จำกดั ความตอบ หรอื ตอบอยา่ งเสรี (Extended response items)
2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้าง โดยผู้เช่ียวชาญที่มีความรู้ใน
เนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำช้ีแจงเก่ียวกับการ
ดำเนินการสอบ การให้คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย (Objective) มีความเท่ียงตรง (Validity) และ
ความเช่ือมั่น (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ได้แก่ California Achievement Test, Iowa Test of Basic
Skills, Standford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement tests เปน็ ตน้
ส่วนพวงรตั น์ ทวรี ัตน์ (2543) ไดจ้ ัดประเภทแบบทดสอบไว้ 3 ประเภท ดงั นี้
3. แบบปากเปลา่ เป็นการทดสอบทีอ่ าศัยการซักถามเป็นรายบุคคล ใช้ได้ผลดีถ้ามีผู้เข้าสอบจำนวนน้อย
เพราะต้องใชเ้ วลามาก ถามได้ละเอียด เพราะสามารถโตต้ อบกนั ได้
4. แบบเขียนตอบ เป็นการทดสอบที่เปล่ียนแปลงมาจากการสอบแบบปากเปล่า เน่ืองจากจำนวนผู้เข้า
สอบมากและมีจำนวนจำกดั แบ่งไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ
1. แบบความเรียง หรืออัตนัย เป็นการสอบที่ให้ผู้ตอบได้รวบรวมเรียบเรียงคำพูดของตนเองใน
การแสดงทัศนคติ ความร้สู ึก และความคิดไดอ้ ย่างอสิ ระภายใต้หวั เรื่องที่กำหนดให้ เปน็ ขอ้ สอบท่สี ามารถ
วดั พฤติกรรมด้านการสังเคราะห์ได้อย่างดี แต่มีข้อเสียที่การให้คะแนน ซึ่งอาจไม่เท่ียงตรง ทำให้มีความ
เปน็ ปรนัยไดย้ าก
2. แบบจำกัดคำตอบ เป็นข้อสอบ ที่มีคำตอบถูกใต้เงือ่ นไขท่ีกำหนดใหอ้ ย่างจำกัด ขอ้ สอบแบบนี้
แบ่งออกเป็น 4 แบบ คอื แบบถกู ผดิ แบบเตมิ คำ แบบจบั คู่ และแบบเลอื กตอบ
5. แบบปฏิบัติ เป็นการทดสอบที่ผู้สอบได้แสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทำหรือลงมือปฏิบัติจริงๆ
เช่น การทดสอบทางดนตรี ชา่ งกล พลศึกษา เปน็ ต้น
สรุปไดว้ ่า แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งได้ 2 ประเภท คอื แบบทดสอบมาตรฐาน ซงึ่ สร้าง
จากผู้เช่ียวชาญด้านเนื้อหาและด้านวัดผลการศึกษา มีการหาคุณภาพเป็นอย่างดี ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ
แบบทดสอบที่ครูสร้างข้ึน เพ่ือใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
คำศัพท์เพื่อการสื่อสาร ผู้วิจัยได้เลอื กแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบปฏิบัติ ในการวัดความสามารถในการนำ
คำศพั ท์ไปใชใ้ นการส่ือสารด้านการการพูดและการเขยี น และเลือกแบบทดสอบแบบเขียนตอบท่จี ำกดั คำตอบโดย
การเลือกตอบจากตัวเลือกท่ีกำหนดให้ ในการวัดความรูค้ วามเข้าใจความหมายของคำศัพท์ และการนำคำศัพทไ์ ป
ใช้ในการฟังและการอ่าน
การวางแผนการสรา้ งและการเลอื กชนิดของแบบทดสอบใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหา
ในการสร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมเนื้อหาและสามารถวัดพฤติกรรมได้เหมาะสมกับเนื้อหา ควรมีการ
สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร (Developing the table of specifications) เพ่ือเป็นแนวทางในการสร้าง
เหมือนกับการเขียนแบบสร้างบ้าน ที่เรียกกันว่า Test blueprint ตารางวิเคราะห์หลักสูตรประกอบด้วยหัวข้อ
เน้อื หา และวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรกู้ ับพฤตกิ รรมท่ีตอ้ งการจะวัด
การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรเร่ิมท่ีการสร้างตาราง 2 มิติ คือแนวตั้งเป็นพฤติกรรมท่ีต้องการจะวัด
ประกอบด้วย ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า สว่ นแนวนอน
เป็นหัวข้อเน้ือหาหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซ่ึงข้ึนอยู่กับเน้ือหาและ/หรือวัตถุประสงค์ของวิชานั้น จากน้ันจึง
กำหนดนำ้ หนกั ของเน้อื หา พจิ ารณาจากความสำคญั ของเน้ือหานั้นๆ โดยอาจกำหนดนำ้ หนักเป็นร้อยละ พร้อมกับ
กำหนดพฤติกรรมที่ต้องการจะวัดและกำหนดความสำคัญ โดยพิจารณาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ควบคู่ไปกับ
เนื้อหา สุดท้ายจึงกำหนดแบบทดสอบที่จะใช้วัด เช่น แบบถูกผิด แบบจับคู่ แบบเติมคำ แบบเลือกตอบ หรอื แบบ
อัตนยั เปน็ ต้น
3. พฤตกิ รรมที่คาดหวังทางดา้ นสตปิ ญั ญา
การกำหนดผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวังใหค้ รอบคลมุ จุดมงุ่ หมายแตล่ ะดา้ น มีขอ้ ยุง่ ยากอยู่ท่กี ารกำหนด
พฤติกรรมทคี่ าดหวัง จำเป็นท่ีผกู้ ำหนดจะต้องเข้าใจก่อนว่า ในแต่ละด้านนั้นมจี ุดมงุ่ หมายย่อย ๆ อะไรบา้ ง และมี
พฤติกรรมอะไรบ้าง ท้ังนเ้ี พ่อื มิใหพ้ ฤติกรรมที่คาดหวงั เป็นเพยี งพฤติกรรมงา่ ย ๆ ในระดบั ต่ำ เพราะจะเปน็ ผลให้
การเรยี นการสอนไมส่ ่งเสริมพฤติกรรมชัน้ สงู ทม่ี ีคณุ คา่ มากกวา่ ในเอกสารนจ้ี ะกล่าวถงึ พฤตกิ รรมที่คาดหวังสำหรบั
ด้านสตปิ ัญญาเท่านน้ั (นวลนอ้ ยเจริญผล. 2538 : 44-48)
เมเกอร์ (Mager, 1975, p. 21) ได้เสนอว่าองค์ประกอบของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมมี 3 องค์ประกอบ
ได้แก่
1) พฤติกรรมหรือทักษะที่ผู้เรียนแสดงออก จุดประสงค์จะต้องอธิบายสิ่งที่ผู้เรียนสามารถทำได้ ไม่ใช่
กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีครูให้ทำความของจุดประสงค์ประกอบด้วย การกระทำและเน้ือหา ยกตัวอย่างเช่น
วาดภาพเหมือนของตวั เอง วเิ คราะหโ์ จทย์เลข
2) เงอื่ นไขการแสดงพฤติกรรมหรอื การทำงานของผเู้ รียน จุดประสงค์จะต้องระบุสภาพของ การทำงานซึ่ง
เป็นส่ิงเร้าภายนอก หรืออุปกรณ์/เครื่องมือท่ีให้ผู้เรียนใช้ในขณะปฏิบัติงาน ยกตัวอย่างเช่น อนุญาตให้ผู้เรียนใช้
เครอ่ื งคดิ เลขในการคำนวณเลข หลงั การอ่านหนงั สอื จบ นักเรยี นสามารถสรปุ สาระสำคญั ได้
3) เกณฑ์ในการแสดงพฤตกิ รรมเพ่ือใชใ้ นการประเมินการปฏบิ ัติงานของผู้เรียน เกณฑ์มักระบุ ในรูปของ
ความถูกตอ้ ง เวลาท่ใี ช้ หรือระดับคุณภาพในการแสดงพฤตกิ รรมของผู้เรียนซึ่งเป็นที่ยอมรับ เกณฑ์อาจระบุในเชิง
ปริมาณท่ีสามารถแจงนับได้ หรือเกณฑ์ในเชิงคุณภาพซ่ึงบอกลักษณะของพฤติกรรม ซึ่งเป็นท่ียอมรับของ
ผู้เชี่ยวชาญ ดังน้ันหากต้องการเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่แสดงถึงความสามารถ ในระดับใดก็ควรเลือกใช้
คำกริยาท่ีช้ีบ่งให้เห็นข้ันพฤติกรรมในระดับนั้น หรือกำหนดเกณฑ์ที่ช้ีให้เห็นสภาพ ท่ีต้องการพัฒนา ยกตัวอย่าง
เชน่ แก้ปญั หาได้ถกู ต้อง 2 ใน 3 ข้อ โยนลกู บอลได้ 10 คร้ัง ภายใน 1 นาที
หลักการเขียนจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
การเขยี นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในแต่ละองคป์ ระกอบ ควรมหี ลักการดังนี้
1) ข้อความท่ีใช้บรรยายพฤติกรรมต้องชัดเจน เฉพาะเจาะจง ไม่สับสน เป็นพฤติกรรมที่ สามารถ
สังเกตเห็นได้ เช่น คำทแี่ สดงพฤตกิ รรมดา้ นความรู้ ใชค้ ำวา่ ระบุ บอก อธิบาย ให้นิยาม สาธติ เป็นตน้ แทนคำท่มี ี
ลักษณะกำกวม ไม่สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ เช่น คำว่า “ร้”ู “เข้าใจ” ส่วนคำที่ แสดงพฤติกรรมที่บอกเจตคติ
นิยมใชค้ ำทใ่ี ห้ผู้เรียนเลือก ตดั สินใจแสดงพฤติกรรมที่มาจากความรู้สึกแทน คำว่า “ซาบซ้ึง” ซึ่งไม่เห็นพฤติกรรม
จงึ เป็นคำท่ีไมค่ วรใช้ สำหรบั พฤติกรรมเกยี่ วกับทกั ษะทางกาย มี ลักษณะที่ชดั เจนในตัวเองเพราะผู้เรียนตอ้ งแสดง
พฤตกิ รรมให้ปรากฏจงึ ไมเ่ ปน็ ปญั หา ตวั อยา่ งเชน่
นักเรยี นแต่งประโยคทมี่ ีองค์ประกอบ 3 สว่ น คอื ประธาน กริ ิยา และกรรมไดถ้ ูกตอ้ ง
นกั เรียนเล้ยี งลกู วอลเลย์บอลไดต้ อ่ เนื่องอยา่ งน้อย 50 ลูก
นักเรียนสง่ งานทุกช้นิ ท่คี รมู อบหมายในเวลาท่กี ำหนด
2) การบอกเง่ือนไขของการแสดงพฤติกรรม พิจารณาจากส่ิงเร้าหรือตัวช่วยที่ผู้เรียนนำไป เชื่อมโยงกับ
ความรู้/ความคิดรวบยอดที่เก็บไว้ในโครงสร้างทางปัญญา ทำให้ผู้เรียนสามารถระลึกได้และ นำกลับมาใช้ในการ
ปฏบิ ัตงิ าน
เง่อื นไขการเรยี นรู้ พฤติกรรมทีแ่ สดงออก
ตัวอย่าง เชน่ นกั เรียนบวกเลขสองหลกั โดยคดิ ในใจไดถ้ กู ต้อง จำนวน 8 ขอ้ ใน 10 ขอ้
นกั เรียนยืนตรงแสดงความเคารพทุกครั้งเมื่อได้ยนิ เสียงเพลงชาติไทย
3) การกำหนดเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรม สามารถเขียนเกณฑ์ได้หลายลักษณะข้ึนกับเกณฑ์ ท่ีใช้และ
ประเภทของพฤติกรรมการเรยี นรู้ ได้แก่
(1) เกณฑ์ความถูกต้องความรทู้ ี่เป็นข้อเทจ็ จริง กฎหรือทฤษฎีที่เป็นเน้ือหาซึ่งมีคำตอบท่ี ถูกต้อง
แนน่ อนอยแู่ ลว้ เกณฑ์ก็คือความถูกตอ้ งตรงตามเนื้อหา
(2) เกณฑ์ความรอบรู้ หมายถงึ เกณฑ์ที่แสดงว่ารู้จรงิ ทำได้จริง ใช้เกณฑ์การแสดง พฤติกรรมที่
ทำไดถ้ ูกต้องเท่ากับหรือตัง้ แตร่ ้อยละ 80 ขน้ึ ไป
(3) เกณฑ์ด้านทักษะ จะพิจารณาจากรายการของพฤติกรรมที่คาดหวังให้แสดงได้ซึ่งใช้
ระยะเวลาหรือความถี่ในการแสดงพฤติกรรมหรือลักษณะของการตอบสนองซึ่งเป็นที่ยอมรับจาก
ผลการวจิ ัย
(4) เกณฑ์ดา้ นเจตคติ พิจารณาจากจำนวนครง้ั ของการแสดงพฤติกรรมทน่ี ่าพอใจ ในสถานการณ์
ท่ีจัดขึ้นโดยใช้แบบตรวจสอบรายการพฤติกรรมจากการสังเกตขณะทำงาน ตัวอย่างจุดประสงค์เชิง
พฤติกรรมทกี่ ำหนดเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรม เช่น นักเรียนเลี้ยงลูกวอลเลย์บอลได้ต่อเน่ืองอยา่ งน้อย
50 ลกู นักเรยี นจัดพานไหวค้ รูดว้ ยวัสดอุ ปุ กรณท์ ีก่ ำหนดได้สำเรจ็ ในเวลา 3 ชวั่ โมง
ประเภทของจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้แบ่งตามลักษณะการแสดงออกทางพฤติกรรมท่ีเสนอโดยบลูม (Bloom) แครทโรล
(Krathrohl) และแฮรโ์ รว์ (Harrow) ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ดา้ นพุทธิพิสัย (cognitive domain) ด้านทักษะพิสัย
(psychomotor domain) และดา้ นจิตพสิ ยั (affective domain) (Kellough & Roberts, 1991, pp. 210-218)
1. ด้านพุทธิพิสัย จุดประสงค์การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย หมายถึง จุดประสงค์ที่แสดง ความสามารถของ
สติปญั ญาในการประมวลขอ้ มูล พฤตกิ รรมท่ีช้ีบง่ ความสามารถในด้านน้ีสามารถแบง่ ได้ 6 ระดบั จากระดับพ้ืนฐาน
ไปสู่ระดบั ทซ่ี บั ซอ้ น ดงั นี้
1) ความรู้ ความจำ (knowledge) หมายถึง การรับรู้ขอ้ มูล ความรูค้ วามสามารถในการ ระลึกได้
จำได้ ซึง่ เปน็ พ้ืนฐานในการพฒั นาความสามารถระดบั สูงข้นึ ไป คำกริยาที่ใช้บ่งบอกพฤติกรรม ในระดับนี้
ได้แก่ เลือก ระบุ อธิบาย เติมคำให้สมบูรณ์ ช้ีบ่ง จัดทำรายการ จับคู่ เรียกช่ือ ระลึก จำ บอก และ
กำหนด เป็นตน้
2) ความเข้าใจ (comprehension) หมายถึง ความสามารถในการแปลความ อธิบาย ความรู้
ตีความ คาดคะเน คำกริยาที่ใช้ ได้แก่ เปล่ียน อธิบาย ประมาณการ ขยายความ สรุป อ้างอิง แปล
ความหมาย คาดคะเน ตคี วาม ขยายความ อปุ มาอปุ มยั ลงสรปุ และยกตวั อยา่ ง เปน็ ต้น
3) การนำไปใช้ (application) หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมูลไปใช้ คำกริยาท่ีใช้ ได้แก่
การประยุกต์ การคำนวณ การสาธิต การพัฒนา การค้นพบ การดัดแปลง การดำเนินการ การมสี ่วนร่วม
การแสดง วางแผน ทำนาย เช่อื มโยง แสดงและทำให้ดู เปน็ ต้น
4) การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง ความสามารถในการพิจารณาแยกแยะองค์ประกอบย่อย
ด้วยเกณฑ์หรือคุณสมบัติท่ีกำหนด คำกริยาที่ใช้ ได้แก่ วิเคราะห์ แยกแยะ จัดพวก จัดชั้น จัดประเภท
จัดกลุ่ม เปรียบเทียบ หาความแตกต่าง วิจารณ์ แสดงแผนภูมิ จำแนก สรุปอ้างอิง และกำ หนด
องค์ประกอบ เปน็ ตน้
5) การสังเคราะห์ (synthesis) หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมองคป์ ระกอบย่อย เพอ่ื การ
สร้างสงิ่ ใหม่ทม่ี ีคณุ ลักษณะแตกต่างจากเดิม ได้แก่ การออกแบบ วางแผน และนำเสนอโครงการ คำกริยา
ที่แสดงทักษะการสังเคราะห์ ได้แก่ จัดเตรียม จัดประเภท แบ่งพวก ผสมผสาน รวบรวม กำหนด สร้าง
ออกแบบ พัฒนา ผลิต ดัดแปลง จัดระบบ วางแผน ปฏิรูป วางระบบ ปรับปรุง ทบทวน สรุปรวบยอด
สงั เคราะห์ ประพนั ธ์ แตง่ นำเสนอ และจดั การแสดง เปน็ ตน้
6) การประเมินคุณค่า (evaluation) เป็นระดับข้ันสูงสุดของความสามารถทางสติปัญญา
หมายถึง การแสดงความคิดเห็นและการตัดสินคุณค่า คำกริยาที่ใช้ ได้แก่ โต้แย้ง ประเมิน เปรียบเทียบ
สรปุ ความ วิจารณ์ ตัดสนิ อธบิ าย ตีความ จดั ลำดับท่ี จดั ชนั้ และเทียบกับมาตรฐาน เป็นต้น
2. ด้านจิตพิสัย จุดประสงค์การเรียนรู้ด้านจิตพิสัย หมายถึง จุดประสงค์ที่แสดงพฤติกรรม ที่เกี่ยวกับ
ความร้สู กึ เจตคติและค่านยิ ม ซงึ่ การเรยี นร้ดู า้ นเจตคตแิ ละคา่ นิยม มลี ำดับขัน้ ของการเกิด พฤตกิ รรมดงั น้ี
1) การรับรู้ (receiving) เป็นลำดับของการตระหนัก รับรู้ต่อส่ิงเร้า ซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้น ของ
ความรสู้ ึกพึงพอใจ นักเรียนจะแสดงออกให้เห็นถึงความตั้งใจ ความสนใจ ต่อสิ่งเร้าหรือประสบการณ์ ท่ี
ได้รับคำกริยาท่ีใช้ ได้แก่ ถาม เลือก อธิบาย ตอบ บอกชื่อ สาธิต ระบุ บอกความแตกต่าง และบอก
จุดเดน่ เป็นตน้
2) การตอบสนอง (responding) เป็นขั้นของการตอบสนองต่อส่ิงเร้า ซ่ึงอาจเนื่องมาจาก การ
ถูกควบคุมซ่ึงเป็นปัจจัยจากภายนอก หรือโดยความสนใจของนกั เรียนเองซึ่งเปน็ ปัจจัยภายใน เพราะเห็น
ว่าสง่ิ เรา้ นัน้ น่าสนใจ หรอื เกิดความพึงพอใจต่อสงิ่ เรา้ นนั้ คำกรยิ าทใ่ี ช้ ได้แก่ พิสูจน์ รวบรวม ทำตามคำสั่ง
แสดง ฝกึ ปฏิบตั ิ นำเสนอ และเลอื ก เป็นต้น
3) การเห็นคุณค่า (valuing) เป็นข้ันที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมด้วยความเชื่อ ความประทับใจ
ความซาบซึ้ง และศรัทธาท่ีมีต่อสิ่งน้ันด้วยตัวของนักเรียนเอง คำกริยาท่ีใช้ ได้แก่ อธิบาย ทำตาม ริเร่ิม
เข้ารว่ ม นำเสนอ และทำใหส้ มบูรณ์ เป็นต้น
4) การจัดระเบียบ (organizing) เป็นข้ันท่ีนักเรียนสร้างระบบค่านิยมส่วนตนข้ึนมา โดยการ
ยอมรบั และจัดระเบียบคุณค่าต่าง ๆ ให้เช่ือมโยงเข้ากับคา่ นิยมเดิมท่ีมีมาก่อนของตนเอง เป็นค่านยิ ม ใน
ชวี ิต คำกริยาที่ใช้ ได้แก่ จัดระเบียบ รวบรวม สรุป บูรณาการ ดัดแปลง จดั ลำดับ สังเคราะห์ สรา้ ง และ
จัดระบบ เปน็ ตน้
5) การสร้างระบบคา่ นิยมของตนเอง (internalization of values) เป็นจุดประสงค์ ระดับสงู สุด
พฤติกรรมในระดับน้ีมีความคงเส้นคงวา แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลงต่อความเชื่อของตนเอง คำกริยาที่ใช้
ได้แก่ ปฏบิ ตั ิ แสดงออก แกป้ ญั หา ประกาศตัว แสดงตน อุทศิ ตน ทุม่ เท ยอมรบั และเกดิ สำนึก เปน็ ตน้
3. ด้านทักษะพสิ ัย ทักษะเป็นความสามารถทางกาย ท่ีอาศัยการเคลื่อนไหวของกลา้ มเนื้อ ในการทำงาน
เชน่ ทกั ษะทอี่ าศยั การทำงานของกลา้ มเน้ือมัดใหญเ่ ป็นหลกั ได้แก่ การเล่นกีฬาต่าง ๆ การเตน้ รำ เป็นต้น ทกั ษะท่ี
อาศัยการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็กเป็นหลัก ได้แก่ การใช้มอื และสายตา ประกอบกัน ได้แก่ งานช่างฝีมือต่าง ๆ
การประกอบอาหาร การทำงานประดิษฐ์ การเล่นเคร่อื งดนตรี เป็นต้น การจัดประเภทของจุดประสงค์ดา้ นทักษะ
พิสัยน้ียังไมเ่ ปน็ ท่ยี อมรับอย่างกว้างขวาง แต่ได้มี การนำเสนอทักษะท่ีเป็นความสามารถทางกายที่มีการพัฒนามา
เป็นลำดับขั้นต้งั แตเ่ กดิ ดังนี้
1) การเคลอ่ื นไหวสะทอ้ น (reflex movement) เป็นพฤติกรรมทแ่ี สดงการตอบสนอง โดยไม่ต้งั ใจ เป็นไป
เองเม่อื ได้รบั สิง่ กระตุน้
2) การเคล่ือนไหวพ้ืนฐาน (fundamental movement) เป็นพฤติกรรมการเคลื่อนไหว พื้นฐานท่ี
พัฒนาข้นึ ในขวบปีแรกของชีวติ เป็นสิง่ ที่เกิดขึ้นเองตามพัฒนาการตามวยั โดยไมต่ ้องสอน
3) ความสามารถรับรู้ (perception abilities) เป็นพฤติกรรมที่พัฒนาจากการรับรู้ ดังน้ันในวัยเด็กเล็ก
ควรสง่ เสริมให้เด็กสำรวจ และมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมทใ่ี ช้ประสาทสัมผัสเพื่อพัฒนา ความสามารถในการรบั ร้อู ย่างมี
ประสิทธิภาพ
4) ความสามารถทางกาย (physical abilities) เป็นพฤติกรรมท่ีแสดงความสามารถ ของการเคล่ือนไหว
รา่ งกาย ประกอบดว้ ย ความทนทาน ความแข็งแรง ความยืดหยุน่ และความคลอ่ งแคล่ว
5) การเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่ว (skilled movement) เป็นพฤติกรรมท่ีแสดงถึง ทักษะในการ
เคล่อื นไหว ทำใหก้ ารทำงานมีประสทิ ธภิ าพ คือไดท้ งั้ ผลงานและการประหยัดพลงั งานในการทำงาน
6) การสอ่ื สารโดยไม่อาศัยการพูดหรือการเขียน (nondiscursive communication) เปน็ พฤตกิ รรมทาง
กายท่ีแสดงออกหรือส่ือถึงความรู้สึกนึกคิดด้วยท่าทางหรือภาษาใบ้ การพัฒนาทักษะต้องอาศัยการพัฒนาเป็น
ลำดับข้ัน จากระดับที่ทำได้พ้ืนฐานไปสู่การปฏิบัติ อย่างเช่ียวชาญชำนาญการ ซึ่งเริ่มต้นจากการทำได้โดยอาศัย
การทำตามแบบ หรือตามกรอบที่กำหนดไว้ และพัฒนามาเป็นการทำได้ด้วยตนเอง มาสู่ข้ันที่ทำได้อย่าง
คล่องแคล่ว การทำได้อย่างชำนาญการและสุดท้ายทำได้อย่างสร้างสรรค์ คือสามารถคิดประดิษฐ์สร้างงานหรือ
ออกแบบการทำไดถ้ ึงข้ันที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นของตนเอง สามารถสื่อถึงหลักการและแนวคิดท่ีแฝงอยู่ในการ
แสดงพฤติกรรมนั้นได้
ข้นั ตอนการเขียนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
การเขียนจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมมีลำดบั ขัน้ ตอนในการดำเนนิ งาน ดงั นี้
1) กำหนดเปา้ หมายการเรียนรู้หรือผลการเรียนร้ทู ่ีตอ้ งการใหเ้ กดิ กับผเู้ รยี นจากแหลง่ ข้อมูล เช่น
การวเิ คราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้และตวั บ่งชี้การเรยี นรู้ของสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ในหลักสตู ร
2) เขียนจุดประสงค์ปลายทางที่แสดงพฤติกรรมที่คาดหวังให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถ
ในการปฏิบัติซง่ึ วเิ คราะห์จากผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง
3) เขียนจุดประสงค์นำทางซึ่งวิเคราะห์ได้จากทักษะย่อยท่ีผู้เรียนพึงมี พึงปฏิบัติได้เพ่ือทำให้
บรรลุจดุ ประสงค์ปลายทาง
4) เขยี นจุดประสงค์ของทกั ษะท่ีผ้เู รยี นควรมตี ดิ ตัวกอ่ นเรยี นร้เู รื่องใหม่
5) เขยี นจดุ ประสงคข์ องความรูเ้ ดิมซ่ึงเปน็ พ้ืนฐานในการเรียนรู้เร่ืองใหม่
หนา้ ท่ีของจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมมีหนา้ ทห่ี ลายประการที่มีความสำคญั ตอ่ การออกแบบการเรยี นการสอน ดังนี้
1) บอกให้รู้ว่าหลังเรียน ผู้เรียนรู้อะไรและสามารถทำอะไรได้เพ่ือใช้เป็นพฤติกรรมบ่งชี้
ความสำเร็จของการเรยี นการสอน
2) ใช้ในการสอ่ื สารระหว่างผู้สอนและผู้เรยี น ให้รูจ้ ุดหมายปลายทางของการเรยี นการสอน
3) ใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพขององค์ประกอบเชิงระบบใน
กระบวนการออกแบบการเรยี นการสอนได้
4) ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสรา้ งเครอื่ งมือเพ่อื วัดประเมินผลผู้เรียนกอ่ นเรียน ทำให้ได้ข้อมลู ท่ีใช้ ใน
การออกแบบขั้นตอนการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ และการจัดกลมุ่ ผู้เรยี น เป็นต
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมที่เขียนข้นึ จะทำใหท้ ราบวา่ ผเู้ รยี นจะมีพฤติกรรมท่ีสะท้อนความรู้ ความสามารถ
อะไรภายหลังการเรยี นรู้ ซ่ึงใช้เปน็ แนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม
4. การสอนวชิ าการ
การสอนวิชาการ เป็นภาวะอันหนักแก่ผู้สอนอย่างยิ่ง เพราะนักเรียนในชั้นมีท้ังเรียนเก่งและนักเรียนที่
เรยี นออ่ น ถา้ ครูวิทยาการคำนวณสอนโดยวิธีเดียวกันนักเรยี นที่เรยี นเกง่ ก็สามารถ เข้าใจได้รวดเร็วและไม่มีปัญหา
มากนกั แต่นกั เรยี นที่เรยี นอ่อนอาจไมเ่ ข้าใจมากนัก จึงทำให้เกิดความเบ่ือหน่าย ไมอ่ ยากเรยี น จึงมีความจำเป็นที่
จะต้องหาวิธีการสอนทจี่ ะให้นักเรยี นทุกคนสามารถเข้าใจได้ และสนองตอบต่อความแตกต่างทางสติปัญญา (ยุพิน
พิพิธกุล. 2527 : 276) ดังน้ัน การสอนวิชาวิทยาการคำนวณเพ่ือให้ได้ผลดี และเป็นไปตามความสามารถหรือความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคล ยพุ ิน พิพธิ กลุ (2530 : 174) ได้เสนอวธิ ีการสอนวทิ ยาการคำนวณไวห้ ลายวิธคี อื
1. วิธีสอนแบบบอกให้รู้ เป็นวิธีสอนที่ครูเป็นผู้บอกให้นักเรียนเป็นผู้ตีความ เมื่อครูปรารถนาที่จะให้นัก
เรียนร้เู ร่ืองใด ครูก็จะอธิบายและมักจะสรปุ เสียเอง ในขณะท่ีครูอธิบายนั้น ครูจะวิเคราะห์ แยกแยะให้เห็น และ
ตคี วามให้นักเรียนเข้าใจ ครูอาจจะมีวัสดุการสอนมาแสดงให้ดู แต่ครูใช้ประกอบการอธิบายหรือการบอกของครู
เพ่ือให้นักเรียนติดตามในการสอนกฎหรือสูตร ครูมักจะบอกสูตรนั้นและบอกว่านำไปใช้อย่างไร โดยยกตัวอย่าง
ประกอบ เสรจ็ แล้วครกู ใ็ หน้ กั เรียนลองทำแบบฝึกหดั โดยใช้สูตรนั้น ถา้ นักเรยี นทำไดก้ แ็ สดงว่านกั เรยี นเข้าใจ
2. วิธีสอนแบบบรรยาย เป็นการสอนแบบบอกให้รู้เช่นเดียวกัน การสอนแบบน้ีครูจะเป็นฝ่ายพูดเป็น
ส่วนมาก โดยมุ่งจะป้อนเนื้อหาวิชาให้แก่นักเรียนเพียงฝ่ายเดียว นักเรียนจะเป็นผู้ฟังครูอาจจะใช้ส่ือการสอน
ประกอบการบรรยายกไ็ ด้
3. วธิ ีสอนแบบสาธิตเปน็ การแสดงให้นักเรยี นดู ซ่ึงผู้แสดงจะใชว้ ัสดุประกอบการสอนหรอื จะแสดงโดยวธิ ี
ใดกต็ าม ให้นกั เรียนสามารถสรุปบทเรียนได้จากการแสดงนัน้ ๆ การแสดงน้นั อาจจะแสดงโดยครู หรอื โดยนักเรียน
กไ็ ด้ และในบางคร้งั ครแู ละนกั เรียนอาจจะร่วมกนั แสดงกิจกรรม
น้นั ๆ
4. วิธีสอนแบบทดลอง เป็นการสอนที่ให้นักเรียนได้กระทำด้วยตนเอง เพ่ือค้นหาข้อสรุปการทดลองน้ัน
อาจทดลองเปน็ รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้
5. วิธีสอนแบบถาม – ตอบ เป็นกลวิธีสอนท่ีใชแ้ ทรกกับวิธีสอนอื่น ๆ ซึ่งนับว่า เป็นวิธที ่ีสำคัญวิธีหน่ึง ครู
บางคนคิดว่า วิธีสอนที่ดีน้ันจะต้องมีส่ือการสอนเสมอ ความจริงแล้ว ยังมีวิธีสอนที่ดีอีกคือ “วิธีสอนแบบถาม –
ตอบ” ถา้ ครสู ามารถใช้คำถามท่ดี นี ักเรยี นสามารถเข้าใจก็ยอ่ มใช้ได้
6. วิธสี อนแบบฮิวริสติค ได้รับมาจากภาษากรกี ซง่ึ หมายความว่า “ฉันพบ” นักเรียนจะต้องเป็นผู้ค้นพบ
นกั เรียนจะเป็นผู้ค้นหาคำตอบด้วยตนเองแทนการบอกครูวธิ ีน้ีตอ้ งการใหน้ ักเรียนได้กระทำด้วยตนเอง เป็นวิธกี าร
ท่นี ักเรยี นจะได้ใหเ้ หตผุ ลด้วยตัวของเขาเอง
7. วิธีสอนแบบวเิ คราะห์ – สงั เคราะหว์ ธิ ีสอนแบบวิเคราะห์ เป็นการแยกแยะปัญหานน้ั ออกมาจากสิง่ ท่ีไม่
รู้ไปสู่ส่ิงท่ีรูห้ รือการแยกสงิ่ ต่าง ๆ อยู่รวมกันออกจากกัน ผู้ที่วิเคราะห์น้ัน จะต้องพยายามคิดอยู่เสมอวา่ ต้องการ
ค้นพบอะไรเป็นอนั ดบั แรก และคดิ ตอ่ ไปว่าอะไรทจ่ี ะคน้ พบตอ่ ไปวิธสี อนแบบสงั เคราะห์ เปน็ ขบวนการตรงกนั ข้าม
กบั การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ประกอบด้วย การนำข้อสรุปย่อยท่ีจำเป็นต่าง ๆ มารวมกัน จนกระท่ังได้ข้อสรุป
รวมท่ีต้องการ หรืออีกนัยหน่ึง การวิเคราะห์จะต้องเร่ิมจากส่ิงที่รู้แล้ว เพื่อจะนำมาช่วยในการหาสิ่งท่ียังไม่รู้ มา
ชว่ ยในการพสิ จู น์เน้อื หาใหม่ เรยี กวา่ เปน็ การสังเคราะห์
8. วธิ สี อนแบบนิรนยั - อปุ นยั อุปนยั หมายถงึ การนำไปสู่ ในระหว่างกระบวนการสอน ครูจะชว่ ยนกั เรยี น
ให้ตีวงแคบเข้า จนสามารถกำหนดนัยทั่วไปได้นิรนัย วิธีนิรนัยน้ีสัมพันธ์กับวิธีบอกให้รู้ ครูที่ใช้วิธีน้ี จะบอกกฏ
หลักเกณฑ์ หรอื นยั ทั่วไป ซ่งึ เปน็ เรือ่ งทจี่ ะนำมาใช้ประโยชน์ แลว้ นกั เรยี นก็ถกู ถาม เพื่อใชค้ ำบอกน้ันมาแกป้ ัญหา
9. วิธีสอนแบบแกป้ ญั หา หมายถึง วิธสี อนท่ีจะให้นักเรยี นไดใ้ ชเ้ หตุผลในการแกป้ ญั หาวิธีการแก้ปญั หานน้ั
ขน้ึ อยกู่ บั เนือ้ หา หรอื โจทยป์ ญั หาที่จะให้นักเรียนคดิ วธิ กี ารแก้ปญั หาทางวิทยาการคำนวณ ย่อมมีกลวิธแี ตกตา่ ง
กนั ตามลักษณะปญั หานนั้ ๆ
10. วิธสี อนแบบคน้ พบ มีความหมายเปน็ 2 ประการ คือ
10.1 เป็นกระบวนการค้นพบ ครูจะมอบปญั หาใหแ้ กน่ ักเรียน แล้วให้นกั เรียนเสาะแสวงหาวิธกี ารท่จี ะ
แกป้ ญั หานน้ั โดยครูจะให้ปัญหาท่งี า่ ยก่อนแล้วกใ็ ห้นักเรยี นทำปัญหาทคี่ ล้ายกนั ซ่ึงเชอื่ ว่านกั เรียนจะค้นพบได้ แต่
ครกู ไ็ ม่คาดหวงั วา่ นกั เรียนจะคน้ พบอะไร
10.2 เป็นการเน้นไปท่ีนกั เรียนจะค้นพบอะไร เช่น คน้ พบสตู รคูณ นิยาม ฯลฯนกั เรียนจะเกดิ มโนมติ และ
กำหนดนัยท่วั ไปได้ การค้นพบน้ีจะเป็นการค้นพบโดยวธิ ีใดกไ็ ด้ เชน่ การถามตอบ สาธติ การทดลอง การอภปิ ราย
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการสอนโดยวธิ อี ปุ นยั หรอื นริ นยั
วิธีการสอน และเอกสารฝา่ ยวิชาการ วิธสี อนแบบตา่ งๆ
ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลากหลายวิธีและสามารถ
เลอื กใช้ได้ตามความเหมาะสมกับผู้เรียน กับแต่ละสถานการณ์ และแต่ละสง่ิ แวดล้อม การสอนแบบบรรยายอย่าง
เดียวไม่เพียงพอ ครูผสู้ อนต้องใช้วิธสี อน เทคนิคการสอนที่หลากหลายเข้ามาใช้บูรณาการในการจัดการเรียนการ
สอน ซ่ึงวิธีการสอนต่างๆ มตี วั อยา่ งดงั น้ี
1. วธิ ีสอนแบบสาธติ (Demonstration Method)
วิธีสอนแบบสาธิต หมายถึง การท่ีครูหรือนักเรียนคนใดคนหน่ึง แสดงบางสิ่งบางอย่างให้นักเรียนดู
หรือให้เพื่อนๆดู อาจเป็นการแสดงการใช้เครื่องมือแสดงให้เห็นกระบวนการวิธีการ กลวิธีหรือการทดลองที่มี
อันตราย ซึ่งไม่เหมาะท่ีจะให้นักเรียนทำการทดลอง การสอนวิธีน้ีช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและ
สามารถทำในส่ิงน้ันได้ถูกต้อง และยังเป็นการสอนให้นักเรียนได้ใช้ทักษะในการสังเกต และถือว่าเป็นการได้
ประสบการณ์ตรงวิธีหนึ่ง วิธีสอนแบบสาธิต จึงเป็นการสอนท่ียึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง เพราะผู้สอนเป็นผู้วางแผน
ดำเนินการ และลงมือปฏิบัติ ผู้เรียนอาจมีส่วนร่วมบ้างเล็กน้อย วิธีสอนแบบน้ีจึงเหมาะสำหรับ จุดประสงค์การ
สอนท่ีต้องการให้ผู้เรียนเห็นขั้นตอนการปฏิบัติ เช่น วิชาพลศึกษา ศิลปศึกษา อุตสาหกรรมศิลป์ วชิ าในกลุ่มการ
งานและพนื้ ฐานอาชพี เป็นต้น
ความมุ่งหมาย เพ่อื แสดงใหผ้ เู้ รียนไดเ้ หน็ ข้ันตอนการปฏิบัติตา่ งๆ ซงึ่ จะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดความเข้าใจได้
อย่างแจ่มแจง้ และสามารถปฏิบัติตามได้
เมือ่ ใดจงึ จะใช้การสอนแบบสาธิต
1. เมื่อนำเขา้ ส่บู ทเรียน ผูส้ อนสาธิตใหผ้ ู้ดูเพอ่ื ให้ผู้เรียนตงั้ ปญั หาและเกิดความอยากรู้ อยากเหน็
อยากคน้ หาคำตอบตอ่ ไป
2. เพ่อื สร้างปัญหาใหผ้ ู้เรยี นคดิ
3. เพื่อต้องการสร้างความเข้าใจในความคิดรวบยอด ความจรงิ หลักทฤษฎี โดยนกั เรยี น สามารถ
มองเห็นโดยตรง
4. เม่อื อธิบายเครอ่ื งมือวทิ ยาการคำนวณส่วนไหนทำหนา้ ทอี่ ะไร
5. เม่ือเครอ่ื งมือทีจ่ ะทำการทดลองมีราคาแพง หรือเกิดอันตรายไดง้ ่าย
6. ควรคำนึงถงึ ฤดกู าล
โอกาสในการใช้
1. เพอื่ กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นให้มีความสนใจในบทเรยี น
2. ชว่ ยอธบิ ายเน้ือหาวิชาทีย่ าก ตอ้ งใชเ้ วลานานให้เขา้ ใจง่ายข้นึ และประหยัดเวลา
3. เพ่ือแสดงวิธีการหรือกลไกวิธีในการปฏิบัตงิ านซ่ึงไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เช่น การทำ
กิจกรรม วชิ าศิลปะ หัตถกรรม งานประดิษฐ์ นาฏศิลป์
4. เพ่อื ช่วยสรปุ บทเรยี น
5. เพอื่ ใชท้ บทวนบทเรยี น
6. เพ่ือสร้างความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ความจริง หลักทฤษฎี โดยนักเรียนมองเห็นได้
โดยตรง เพื่อทดสอบหรอื ยืนยนั การสงั เกตในคร้งั กอ่ นๆ วา่ ผลเหมอื นเดมิ หรอื ไม่
ประเภทของการสาธติ
แบบท่ี 1
1. สาธติ ให้ดูทัง้ ช้ัน การสาธิตใหด้ ูท้งั ชั้นผสู้ อนจะตอ้ งระวังให้ทุกคนมองเห็นและเขา้ ใจการสาธิต
ในแต่ละครั้ง อย่างไรก็ตามการสาธิตให้ดูท้ังชั้นย่อมมีผู้เรียนบางคนไม่เข้าใจดีพอเนื่องจากบางคนมีพื้น
ความรู้หรอื ประสบการณแ์ ตกตา่ งกนั
2. การสาธิตให้ดูเป็นกลุ่มหรือเป็นหมู่ เม่ือมีผู้เรียนจำนวนหนึ่ง เรียนไม่เข้าใจดีพอ จึง
จำเป็นต้องสาธติ ให้ดูใหมเ่ ปน็ กลุ่มเล็ก ในแต่ละชั้นเรียนอาจมีผู้เรยี นได้เร็วมาก ปานกลางหรือช้าไปบ้าง
การสาธิตให้ดูเป็นหมู่ เฉพาะท่ีมีความรู้ไล่เล่ียกันจะเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรียนแต่ละหมู่ทำงานอย่างเต็ม
ความสามารถของตน
3. การสาธิตให้ดูเป็นรายบุคคล เมื่อผู้สอนสาธิตให้ดูเป็นหมู่ เป็นกลุ่มแต่ผู้เรียนบางคนไม่
อาจจะเข้าใจการสาธิตท้ังชั้นหรือเป็นกลุ่มได้ หรอื ผูเ้ รียนบางคนไม่ไดเ้ ขา้ ร่วม ผสู้ อนจงึ ต้องสาธิตให้ดูเป็น
รายบุคคล
แบบที่ 2
1. ครูแสดงการสาธิตคนเดยี ว ( Teacher- Demonstration)
2. ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั แสดงสาธติ (Teacher-Student- Demonstration )
3. กล่มุ นักเรยี นลว้ นเปน็ ผสู้ าธติ (Student Group Demonstration )
4. นักเรยี นคนเดียวเป็นผสู้ าธติ (Individual Student Demonstration )
5. วทิ ยากรเปน็ ผูส้ าธิต ( Guest Demonstration )
ขนั้ ตอนการสอน
1. ขนั้ เตรียมการสอน
- กำหนดจุดประสงค์ในการสาธิตให้ชัดเจน
- จัดลำดับเน้อื หาตามข้นั ตอนใหเ้ หมาะสม
- เตรียมกิจกรรมการเรียนการสอน สง่ิ ท่ีจะให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิ ตลอดจนคำถามที่จะใช้ใหร้ อบคอบ -
เตรียมสื่อการเรยี นการสอนและเอกสารประกอบใหพ้ รอ้ ม
- กำหนดเวลาในการสาธติ ใหพ้ อเหมาะ
- กำหนดวธิ ีการวัดผลประเมินผลท่ีชดั เจน
- เตรียมสภาพห้องเรียนใหเ้ หมาะสมเพือ่ ให้นกั เรียนมองเห็นการสาธิตใหท้ ั่วถึง
- ทดลองสาธิตเพอ่ื ให้แนใ่ จว่าไม่เกิดการติดขดั
2. ขั้นตอนการสาธติ
- บอกจุดประสงคก์ ารสาธติ ใหน้ ักเรียนทราบ
- บอกกิจกรรมทน่ี กั เรยี นจะต้องปฏิบตั ิ เช่น นักเรียนจะตอ้ งจดบนั ทกึ สังเกตกระบวนการ สรุป
ขัน้ ตอน ตอบคำถาม เปน็ ตน้
- ดำเนินการสาธติ ตามลำดับขน้ั ตอนทเี่ ตรยี มไว้ ประกอบกบั อธิบายตัวอย่างชดั เจน
3. ขน้ั สรุปและประเมินผล
- ผู้สอนเปน็ ผู้สรุปความสำคญั ขน้ั ตอนของสงิ่ ทส่ี าธติ น้ันดว้ ยตนเอง
- ให้ผเู้ รยี นเป็นผู้สรุป เพ่อื ประเมินวา่ ผู้เรียนมคี วามเข้าใจในบทเรียนนัน้ ๆมากน้องเพยี งใด
- ผู้สอนอาจใชว้ ิธกี ารตา่ งๆ เพ่อื ประเมนิ วา่ ผูเ้ รยี นเขา้ ใจเนื้อเร่อื ง ข้นั ตอนการสาธติ มากนอ้ ยเพียงใด
เชน่ ใหต้ อบคำถาม ใหเ้ ขียนรายงาน ให้แสดงสาธิตใหด้ ู ฯลฯ
- ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ซักถามหรอื แสดงความคิดเหน็ ภายหลังจากการสาธติ แลว้
2. วธิ ีการสอนโดยใชก้ ารแสดงละคร (Dramatization)
เป็นกระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ผู้เรียนแสดงละคร ซึ่งเป็น
เรื่องราวที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามเน้ือหาและบทละครที่ได้กำหนดไว้ (ทิศนา แขมมณี , 2558) และนำ
เรอ่ื งราวที่แสดงออกมา และการแสดงของผ้แู สดงมาอภปิ รายรว่ มกัน
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนเห็นภาพเรอ่ื งราวทช่ี ัดเจน และสามารถจดจำเร่ืองราวไดน้ าน
2. เพอ่ื นนักเรียนไดม้ สี ว่ นร่วมในการจัดการเรียนการสอน และฝกึ ทกั ษะต่างๆ
ขน้ั ตอนการสอน
1. ผู้สอน / ผู้เรียนเตรียมบทละคร ผู้สอนและผู้เรียนควรอภิปรายวัตถุประสงค์ในการเลือกใช้
ละครเป็นวิธกี ารเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ นักเรยี นควรจะมีส่วนในการเลือกเร่ืองราวทจี่ ะแสดง ในการเตรียม
บทละครผู้สอนอาจเตรียมให้หรอื ผู้เรียนเตรยี มกันเอง แต่ต้องมีการศึกษาเน้อื หาหรือเร่ืองราวให้เขา้ ใจ ได้
เนอ้ื หาท่คี รบถว้ นสมบูรณ์ให้มากท่สี ดุ
2. ผู้เรียนศึกษาบทละครและเลือกบทบาทที่จะแสดง ในการเลือกละคร ควรคำนึงถึงความ
เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียนกับบทที่จะแสดง แต่ในบางกรณีผู้สอนอาจเลือกผู้เรียนที่มี
บุคลกิ ภาพไม่ตรงกับบทท่ีจะแสดงเพ่ือให้นักเรียนได้รบั ประสบการณ์ในการแสดง แต่ผู้แสดงควรมีความ
เตม็ ใจท่ีจะแสดง เพื่อให้การแสดงออกมาดที ส่ี ุด
3. ผู้เรยี นซอ้ มการแสดง ในการซอ้ มการแสดงตอ้ งมกี ารฝกึ ซอ้ มการแสดงร่วมกัน และในบางกรณี
อาจจำเปน็ จะต้องเปลี่ยนตัวผู้แสดงคนใหม่ เพ่ือให้การแสดงสมบทบาทและสื่อความหมายไดถ้ ูกต้อง สว่ น
ผ้เู รียนท่ีไม่ได้มสี ่วนรว่ มในการแสดง ผู้สอนจะต้องแนะนำในการชมการแสดงว่า ควรสังเกตและให้ความ
สนใจท่เี รอื่ งอะไรบ้าง จุดไหนบา้ ง
4. ผู้เรียนแสดงและชมการแสดง ในขณะแสดง ผู้สวนและผู้ชมไม่ควรขดั การแสดงกลางคัน และ
ควรให้กำลังใจผแู้ สดง ผู้ชมควรตั้งใจสงั เกตการแสดงในเร่ืองราวทีส่ ำคัญท่ผี สู้ อนไดแ้ นะนำ
5. อภิปรายการแสดง ในการอภิปรายต้องมุ่งไปที่เรื่องราวที่แสดงออกมา และการแสดงของผู้
แสดงวา่ สามารถแสดงไดส้ มจริงเพียงใด
ขอ้ ดแี ละขอ้ จำกดั
ขอ้ ดี 1. ทำให้ผเู้ รยี นได้มีประสบการณ์จริง
2. ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการจดั การเรยี นการสอน
3. นักเรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะตา่ ง ๆ เช่น ทักษะการพดู การเขียน การแสดงออก การ
จดั การ การแสวงหาความรู้ และการทำงานเป็นกลุ่มเปน็ ต้น
ข้อจำกัด 1. ใช้เวลาในการจัดกจิ กรรมมาก
2. มีคา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกจิ กรรม
3. ต้องอาศยั ความชำนาญในการเขยี นบท
3. วธิ กี ารสอนโดยใชบ้ ทบาทสมมติ (Role Playing)
เป็นกระบวนการท่ีช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ผู้เรียนสวมบทบาทใน
สถานการณ์ซึ่งมีความใกล้เคียงกับความเป็นจริง และแสดงออกตามความรู้สึกนึกคิดของตนและนำเอาการ
แสดงออกของผู้แสดง ทั้งทางด้านความรู้ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่สังเกตพบ มาเป็นข้อมูลในการ
อภปิ ราย เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ตามวัตถุประสงค์ (ทิศนา แขมมณี , 2557)
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเข้าใจในเรอ่ื งต่าง ๆ เกย่ี วกับบทบาทสมมติทีต่ นแสดง
2. เพื่อนนักเรยี นไดม้ ีสว่ นร่วมในการจัดการเรียนการสอน และฝึกทกั ษะตา่ ง ๆ
ขัน้ ตอนการสอน
1. ผูส้ อน / ผู้เรียนนำเสนอสถานการณ์สมมติและบทบาทสมมติ บทบาทสมมติท่ีกำหนดขึ้นควรมี
ความใกล้เคียงกับความเป็นจริง ไม่มีบทให้ ผู้สวมบทบาทจะต้องคิดแสดงเอง หรืออาจให้บทบาทสมมติ
แบบแก้ปัญหาซ่ึงจะกำหนดสถานการณ์ท่ีมีปัญหาหรือความขัดแย้งให้ และผู้สวมบทบาทแก้ปัญหาตาม
ความคิดของตน
2. ผู้สอน / ผู้เรียนเลือกผู้แสดงบทบาท ในการเลือกผู้แสดง ควรคำนึงถึงความเหมาะสมกับ
ความสามารถของผู้เรียนกับบทท่ีจะแสดง แต่ในบางกรณีผู้สอนอาจเลือกผู้เรียนที่มีบุคลิกภาพไม่ตรงกับ
บทที่จะแสดงเพ่ือให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ในการแสดง แต่ผู้แสดงควรมีความเต็มใจที่จะแสดง
เพอ่ื ใหก้ ารแสดงออกมาดที ี่สดุ
3. ผู้สอนเตรียมผู้สังเกตการณ์หรือผู้ชม ผู้สอนควรแนะนำการชมว่า ควรสังเกตอะไร และควร
บนั ทึกขอ้ มลู อยา่ งไร หรือผูส้ อนอาจจดั ทำแบบสังเกตการณใ์ หผ้ ้ชู มใชใ้ นการสงั เกตดว้ ยก็ได้
4. ผเู้ รยี นแสดงบทบาท ผชู้ มและผู้สอนสังเกตพฤติกรรมท่ีแสดงออก
5. ผู้เรียนและผู้สอนอภิปรายร่วมกัน เกี่ยวกับความรู้ ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมที่
แสดงออกของผูแ้ สดง
ข้อดีและขอ้ จำกดั
ขอ้ ดี 1. ผู้เรียนเกิดความเข้าใจความรู้สึกและพฤติกรรมของผอู้ น่ื
2. ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงเจตคตแิ ละพฤติกรรมของตน
3. พัฒนาทกั ษะในการเผชญิ สถานการณ์ ตดั สินใจและแก้ปัญหา
4. เปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนมาก
ข้อจำกัด 1. ใช้เวลาในการจัดกจิ กรรมมาก
2. ต้องอาศัยความสามารถของผู้สอนในการแก้ปัญหาเน่อื งจากการแสดงของ
ผ้เู รยี นอาจไม่เป็นไปตามความคาดหมายของผู้สอน ผูส้ อนจะต้องสามารถแก้ปญั หาหรอื ปรับ
สถานการณ์และประเดน็ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้
4. วธิ ีการสอนโดยใชก้ รณีตัวอย่าง (Case)
คือกระบวนการที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องท่ีสมมติขึ้น
จากความเป็นจริง และตอบประเด็นคำถามเก่ียวกับเร่ืองนั้น แล้วนำคำตอบและเหตุผลท่ีมาของคำตอบน้ันมาใช้
เปน็ ขอ้ มลู ในการอภปิ ราย เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้ (ทิศนา แขมมณี , 2557)
วัตถุประสงค์
1. เพอ่ื เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนคดิ วเิ คราะห์และเรยี นรคู้ วามคิดของผูอ้ ื่น
2. ชว่ ยให้ผเู้ รียนมีมุมมองทก่ี ว้างข้นึ
ขน้ั ตอนการสอน
1. ผู้สอน / ผู้เรียนนำเสนอกรณีตัวอย่าง กรณีตัวอย่างส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องราวที่มีสถานการณ์
เป็นปัญหาขัดแย้ง ผู้สอนอาจใช้วิธีการตั้งประเด็นคำถามทท่ี ้าทายให้ผ้เู รียนคิดกไ็ ด้ ใช้เร่ืองจริงหรือเร่ือง
จากหนังสือพิมพ์ รวมท้ังสื่อต่าง ๆ ผู้สอนต้องเตรียมประเด็นคำถามสำหรับการอภิปรายเพื่อนำไปสู่การ
เรียนรู้ท่ีต้องการ ในการเสนอทำได้หลายวิธี เช่น การพิมพ์เป็นข้อมูลมาให้ผู้เรียนอ่าน การเล่ากรณี
ตัวอยา่ งให้ฟงั หรือนำเสนอโดยใชส้ ือ่ อื่น
2. ผู้เรียนศึกษากรณตี ัวอย่าง ผู้สอนควรแบ่งกลุ่มย่อยในการศึกษากรณีตัวอย่าง ไม่ควรให้ผเู้ รยี น
ตอบประเดน็ คำถามทนั ที
3. ผู้เรยี นอภปิ รายประเด็นคำถามเพ่ือหาคำตอบ ผู้เรียนแตล่ ะคนควรมีคำตอบของตนเตรยี มไว้
ก่อน แลว้ จึงร่วมกันอภิปรายเปน็ กลมุ่ และนำเสนอผลการอภิปรายระหว่างกลุ่ม
4. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายคำตอบ นำเสนอผลการอภิปรายระหว่างกลุ่ม คำถามสำหรับการ
อภิปรายน้ี ไม่มีคำตอบท่ีถูกหรือผิดอย่างชัดเจนแน่นอน แต่ต้องการให้ผู้เรียนเห็นคำตอบและเหตุผลที่
หลากหลาย ทำให้ผู้เรยี นมีมุมมองทีก่ วา้ งข้ึน ชว่ ยให้การตัดสนิ ใจมีความรอบคอบขึ้น การอภปิ รายควรมุ่ง
ความสนใจไปท่ีเหตุผลหรือท่ีมาของความคดิ ทีผ่ ู้เรยี นใชใ้ นการแกป้ ญั หาเปน็ สำคัญ
5. ผูส้ อนและผ้เู รียนอภปิ รายเกีย่ วกับปัญหาของผเู้ รียน และสรุปการเรยี นร้ทู ีไ่ ด้รบั
ข้อดแี ละขอ้ จำกัด
ขอ้ ดี 1. ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิด
แก้ปญั หา
2. ผู้เรียนมีมมุ มองที่กวา้ งข้ึน
3. ช่วยใหเ้ กดิ ความพรอ้ มท่จี ะแก้ปัญหาเมอื เผชิญปัญหานั้นในสถานการณจ์ รงิ
ข้อจำกัด แม้ปัญหาและสถานการณ์จะใกล้เคียงกับความเป็นจริง แต่ก็ไม่ได้เกิดข้ึนจริง
ๆ กับผู้เรียน ความคิดในการแก้ปัญหาจึงมักเป็นไปตามเหตุผลที่ถูกที่ควรซ่ึงอาจไม่ตรงกับการ
ปฏบิ ตั จิ ริงได้
5. วธิ กี ารสอนโดยใชเ้ กม (Game)
คอื กระบวนการที่ช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการให้ผูเ้ รยี นเล่นเกมตามกติกา และ
นำเนือ้ หาและขอ้ มูลของเกม พฤตกิ รรมการเลน่ วิธกี ารเล่น และผลการเลน่ เกมของผู้เรยี นมาใช้ในการอภิปรายเพื่อ
สรุปการเรียนรู้ (ทศิ นา แขมมณี, 2557)
วตั ถุประสงค์
1. ชว่ ยให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรูเ้ รือ่ งต่าง ๆ อยา่ งสนุกสนานและท้าทายความสามารถ
2. ทำใหเ้ กิดประสบการณต์ รง
3. เป็นวธิ ที ่เี ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมสูง
ขนั้ ตอนการสอน
1. ผู้สอนนำเสนอเกม ชี้แจงวิธีการเล่น และกติกาการเล่นเกม เกมท่ีได้รับการออกแบบให้เป็น
เกมการศึกษาโดยตรงมอี ยดู่ ้วยกัน 3 ประเภท คือ 1) เกมแบบไมม่ ีการแขง่ ขัน 2) เกมแบบแขง่ ขัน 3) เกม
จำลองสถานการณ์ การเลอื กเกมเพื่อนำมาใช้สอนทำได้หลายวิธีผู้สอนอาจเป็นผู้สร้างเกมข้ึน หรืออาจนำ
เกมท่ีมีผู้สร้างขึ้นแล้วมาปรับดัดแปลงให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และควรช้ีแจงกติกาการเล่นเกมให้
เข้าใจ
2. ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา ผู้สอนควรติดตามสังเกตพฤติกรรมการเล่นของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด
และควรบนั ทกึ ขอ้ มูลท่ีจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการเรยี นของผูเ้ รียน
3. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายผล ควรอภิปรายผลเก่ียวกับผลการเล่น และวิธีการหรือพฤติกรรม
การเล่นของผู้เรยี นที่ได้จากการสังเกตจดบนั ทึกไว้ และในการอภิปรายผลควรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การใชเ้ กมในการสอนโดยทั่ว ๆ ไป มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อ 1) ฝึกฝนเทคนิคหรือทักษะต่าง ๆ 2) เรียนรู้เนื้อหา
สาระจากเกม 3) เรียนรู้ความเป็นจริงตามสถานการณ์ต่าง ๆ ดังนั้นการอภิปรายควรมุ่งประเด็นไปตาม
วัตถปุ ระสงคข์ องการสอน
ข้อดีและข้อจำกัด
ข้อดี 1. ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการเรียนรูส้ ูง
2. ผูเ้ รยี นไดร้ ับความสนกุ สนาน และเกดิ การเรยี นรจู้ ากการเลน่
ข้อจำกดั เป็นวิธีการสอนทผี่ สู้ อนตอ้ งมีทักษะในการนำการอภปิ รายทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ จึง
จะสามารถช่วยให้ผูเ้ รยี นประมวลและสรุปการเรียนร้ไู ดต้ ามวัตถปุ ระสงค์
6. วธิ กี ารสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (Simulation)
กระบวนการทช่ี ่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงค์ โดยการใหผ้ ู้เรียนลงไปเล่นในสถานการณ์ท่มี ี
บทบาท ข้อมูล และกติกาการเล่น ท่ีสะท้อนความเป็นจริง และมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่ในสถานการณ์น้ัน
โดยข้อมูลที่มีสภาพคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริง ในการตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่งการตัดสินใจนั้นจะ
ส่งผลถงึ ผเู้ ล่นในลกั ษณะเดียวกนั กบั ที่เกดิ ขนึ้ ในสถานการณจ์ ริง (ทศิ นา แขมมณี, 2557)
วตั ถุประสงค์
ช่วยใหผ้ ้เู รยี นไดร้ สู้ ภาพความเป็นจริง เกดิ ความเขา้ ใจในสถานการณ์
ขนั้ ตอนการสอน
1. ผู้สอนเตรียมสถานการณ์จำลอง สถานการณ์จำลองโดยท่ัวไปมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ 1)
สถานการณ์จำลองแท้ จะเป็นสถานการณ์การเล่นท่ีให้ผู้เรียนได้เล่น เพื่อเรียนรู้จริง 2) สถานการณ์
จำลองแบบเกม มีลักษณะเป็นเกมการเล่น แต่เกมการเล่นน้ีมีลักษณะที่สะท้อนความเป็นจริง ในขณะท่ี
เกมธรรมดาทว่ั ๆ ไป อาจจะไม่ไดส้ ะทอ้ นความเปน็ จริงอะไร
2. ผู้สอนนำเสนอสถานการณ์จำลอง บทบาท ข้อมูล และกติกาการเล่น ในการนำเสนอ ผู้สอน
ควรเริ่มด้วยการบอกเหตุผลและวตั ถุประสงค์กว้าง ๆ แก่ผู้เรียนว่า การเล่นในสถานการณ์จำลองน้ีจะให้
อะไรและเหตุใดจึงมาเล่นกัน ต่อไปจึงให้ภาพรวมทั้งของสถานการณ์จำลองทั้งหมด แล้วจึงให้รายละเอยี ด
ท่ีจำเป็น
3. ผู้เรียนเลือกบทบาทท่ีจะเล่นหรือผู้สอนกำหนดบทบาทให้ ผู้เรียนทุกคนควรได้รับบทบาทใน
การเล่น ซึ่งผู้เรียนอาจะเป็นผู้เลือกเองหรือผู้สอนกำหนดบทบาทให้ผู้เรียนบางคน ซ่ึงจะช่วยให้เกิดการ
เรียนร้ตู รงตามความต้องการ
4. ผู้เรียนเล่นตามกติกาท่ีกำหนด ในขณะท่ีผู้เรียนกำลังเล่นผู้สอนควรติดตามพฤติกรรมอย่าง
ใกล้ชดิ และคอยให้คำปรกึ ษาตามความจำเป็น
5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย ควรมุ่งไปประเด็นไปท่ีการเรียนรู้ความเป็นจริง อะไรเป็น
ปจั จยั ที่มีอิทธิพล ผู้เรียนควรได้เรยี นรู้จากการเลน่ ของตน
6. ผูส้ อนและผู้เรียนสรุปการเรยี นรทู้ ีไ่ ดร้ ับจากการเล่น
ข้อดแี ละขอ้ จำกดั
ข้อดี 1. ผู้เรียนได้เรียนรู้เร่ืองท่ีมีความซับซ้อน อย่างเข้าใจเน่ืองจากได้มี
ประสบการณ์ด้วยตวั เอง
2. ผเู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการเรียนสงู
3. ผเู้ รียนมีโอกาสฝกึ ทกั ษะกระบวนการตา่ ง ๆ จำนวนมาก
ข้อจำกัด 1. ใช้คา่ ใช้จา่ ยสงู และใชเ้ วลามาก
2. ผูส้ อนตอ้ งอาศัยการเตรยี มการมาก
3. ถ้าไม่มสี ถานการณจ์ ำลองต้องสรา้ งสถานการณข์ ึ้นมาเอง
7. วธิ ีการสอนมโนทัศน์ (Concept Attainment Model)
1. ทฤษฎ/ี หลกั การ/แนวคดิ ของรปู แบบ
จอยส์และวีล(Joyce & Weil, 2016 : 161-178) พัฒนารูปแบบนี้ขึ้นโดยใช้แนวคิดของ บรุน
เนอร์ กู๊ดนาว และออสติน (Bruner, Goodnow, และ Austin) การเรียนรู้มโนทัศน์ของส่ิงใดสิ่งหน่ึง
นน้ั สามารถทำไดโ้ ดยการค้นหาคุณสมบตั ิเฉพาะท่สี ำคัญของส่ิงนั้น เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกส่งิ ที่ใช่
และไมใ่ ชส่ ง่ิ นั้นออกจากกันได้
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องรูปแบบ
เพ่ือช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ของเน้อื หาสาระต่าง ๆ อย่างเข้าใจ และสามารถให้คำ
นยิ ามของมโนทศั นน์ ้นั ด้วยตนเอง
3. กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบ
ขนั้ ที่ 1 ผู้สอนเตรียมข้อมลู สำหรับให้ผเู้ รยี นฝึกหัดจำแนก ผู้สอนเตรยี มข้อมูล 2 ชุด ชุดหน่ึงเป็น
ตัวอย่างของมโนทัศน์ท่ีต้องการสอน อีกชุดหน่ึงไม่ใช่ตัวอย่างของมโนทัศน์ที่ต้องการสอน ในการเลือก
ตัวอยา่ งข้อมลู 2 ชดุ ขา้ งต้น ผู้สอนจะต้องเลอื กหาตวั อย่างที่มีจำนวน มากพอที่จะครอบคลุมลักษณะของ
มโนทัศน์ท่ีต้องการนั้น ถ้ามโนทัศน์ท่ีต้องการสอนเป็นเรื่องยากและซับซ้อนหรือเป็นนามธรรม อาจใช้
วธิ กี ารยกเป็นตัวอยา่ งเรอ่ื งสน้ั ๆ ท่ีผู้สอนแต่งข้ึนเองนำเสนอแกผ่ ูเ้ รียนผสู้ อนเตรียมสือ่ การสอนทเ่ี หมาะสม
จะใช้นำเสนอตัวอย่างมโนทศั น์เพอ่ื แสดง ให้เหน็ ลักษณะต่าง ๆ ของมโนทศั นท์ ่ีตอ้ งการสอนอยา่ งชัดเจน
ข้นั ท่ี 2 ผู้สอนอธิบายกติกาในการเรียนให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจตรงกัน ผู้สอนช้ีแจงวิธีการเรยี นรใู้ ห้
ผู้เรียนเข้าใจก่อนเรมิ่ กิจกรรมโดยอาจสาธิตวิธีการและให้ผู้เรยี นลองทำตามที่ผู้สอนบอกจนกระทง่ั ผเู้ รยี น
เกดิ ความเขา้ ใจพอสมควร
ข้นั ท่ี 3 ผู้สอนเสนอขอ้ มูลตวั อยา่ งของมโนทัศนท์ ี่ต้องการสอน และข้อมูลท่ีไมใ่ ช่ตัวอย่างของมโน
ทศั นท์ ตี่ อ้ งการสอน การนำเสนอข้อมูลตวั อย่างนีท้ ำไดห้ ลายแบบ แตล่ ะแบบมีจดุ เด่น- จดุ ดอ้ ย ดังตอ่ ไปนี้
1) นำเสนอข้อมลู ที่เป็นตัวอยา่ งของสิง่ ท่ีจะสอนทีละขอ้ มลู จนหมดทัง้ ชดุ โดย บอกให้
ผู้เรียนรู้ว่าเป็นตัวอย่างของส่ิงที่จะสอนแล้วตามด้วยข้อมูลท่ีไม่ใช่ตัวอย่างของสิ่งที่จะ
สอนทีละข้อมูลจนครบหมดทั้งชุดเช่นกัน โดยบอกใหผ้ ู้เรยี นรูว้ า่ ข้อมลู ชดุ หลังน้ีไมใ่ ช่สงิ่ ที่
จะสอน ผู้เรียนจะต้องสังเกตตัวอย่างท้ัง 2 ชุด และคดิ หาคุณสมบัติร่วมและคุณสมบัติท่ี
แตกต่างกนั เทคนิควธิ ีน้ีสามารถช่วยให้ผเู้ รียนสร้างมโนทัศน์ได้เร็วแต่ใช้กระบวนการคิด
น้อย
2) เสนอขอ้ มลู ทใี่ ช่และไมใ่ ชต่ ัวอยา่ งของสงิ่ ทีจ่ ะสอนสลบั กันไปจนครบ เทคนิควิธีน้ชี ่วย
สรา้ งมโนทศั นไ์ ดช้ ้ากว่าเทคนคิ แรก แต่ไดใ้ ชก้ ระบวนการคิดมากกวา่
3) เสนอขอ้ มลู ที่ใชแ่ ละไมใ่ ช่ตวั อย่างของส่ิงท่ีจะสอนอย่างละ 1 ข้อมลู แล้วเสนอขอ้ มูลท่ี
เหลือท้ังหมดทีละข้อมูลโดยให้ผู้เรียนตอบว่าข้อมูลแต่ละข้อมูลที่เหลือนั้นใช่หรือไม่ใช่
ตัวอย่างท่ีจะสอน เมื่อผู้เรียนตอบ ผู้สอนจะเฉลยว่าถูกหรือผิด วิธีนี้ผู้เรียนจะได้ใช้
กระบวนการคดิ ในการทดสอบสมมติฐานของตนไปทีละขั้นตอน
4) เสนอขอ้ มูลท่ีใช่และไมใ่ ช่ตวั อย่างส่ิงที่จะสอนอย่างละ 1 ขอ้ มูล แล้วให้ผู้เรยี นช่วยกัน
ยกตัวอยา่ งข้อมูลท่ีผ้เู รียนคิดว่าใช่ตวั อย่างของสง่ิ ท่จี ะสอน โดยผู้สอนจะเปน็ ผูต้ อบว่าใช่
หรือไมใ่ ช่ วธิ นี ้ีผเู้ รยี นจะมีโอกาสคดิ มากขึ้นอกี
ข้ันที่ 4 ให้ผู้เรียนบอกคุณสมบัติเฉพาะของส่ิงท่ีต้องการสอน จากกิจกรรมท่ีผ่านมาในข้ันต้น ๆ
ผู้เรียนจะต้องพยามหาคุณสมบัติเฉพาะของตัวอย่างท่ีใช่และไม่ใช่ส่ิงท่ีผู้เรียนต้องการสอนและทดสอบ
คำตอบของตน หากคำตอบของตนผิดผู้เรียนก็จะต้องหาคำตอบใหม่ซ่ึงก็หมายความว่าต้องเปล่ียน
สมมติฐานท่เี ป็นฐานของคำตอบเดิม ด้วยวธิ ีนผ้ี ูเ้ รียนจะค่อย ๆ สร้างความคิดรวบยอดของสิ่งนน้ั ขน้ึ มา ซึ่ง
ก็จะมาจากคุณสมบตั เิ ฉพาะของสิ่งนั้นนั่นเอง
ข้ันที่ 5 ให้ผู้เรียนสรุปและให้คำจำกัดความของสิ่งที่ต้องการสอน เม่ือผู้เรียนได้รายการของ
คุณสมบัติเฉพาะของสงิ่ ท่ีตอ้ งการสอนแล้ว ผู้สอนให้ผู้เรียนชว่ ยกันเรยี บเรียงให้เป็นคำนิยามหรอื คำจำกัด
ความ
ข้ันท่ี 6 ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายร่วมกันถึงวิธีการที่ผู้เรียนใช้ในการหาคำตอบ ให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้เกีย่ วกบั กระบวนการคดิ ของตวั เอง
4. ผลทผี่ เู้ รยี นจะไดร้ บั จากการเรียนตามรปู แบบ
เน่ืองจากผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มโนทัศน์ จากการคิด วิเคราะห์และตัวอย่างที่หลากหลาย ดังน้ัน
ผลท่ีผู้เรียนจะได้รบั โดยตรงคือ จะเกิดความเขา้ ใจในมโนทัศน์น้ัน และได้เรียนรู้ทักษะการสรา้ งมโนทัศน์
ซงึ่ สามารถนำไปใชใ้ นการทำความเขา้ ใจมโนทศั น์อนื่ ๆต่อไปได้ รวมท้ังชว่ ยพัฒนาทักษะการใช้เหตุผลโดย
การอปุ นัย(inductive reasoning) อีกด้วย
5. การเรยี นการสอนแบบใชแ้ บบฝึกนวตั กรรม
ความหมายของแบบฝกึ นวตั กรรม
แบบฝึกนวตั กรรมหมายถึง ความคิด ชุดฝึกที่มีการปฏิบัติและการกระทำใหม่ๆ ท่ไี ม่เคยมีมากอ่ นหรอื การ
พัฒนาดัดแปลงมาจากของเดมิ ที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใชไ้ ด้ผลดีย่งิ ขึ้น เมื่อนำแบบฝึกนวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้
การทำงานนัน้ ได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสงู กว่าเดิม
แบบฝึกนวัตกรรม (Innovation) มีรากศพั ท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน ซง่ึ แปลวา่ ทำส่ิงใหม่ขนึ้ มา
ความหมายของแบบฝึกนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คอื การนำแนวความคิดใหม่หรอื การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มี
อยูแ่ ล้วมาใชใ้ นรูปแบบใหม่ เพื่อทำใหเ้ กิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คอื การทำในส่ิงที่แตกต่างจากคนอ่ืน โดย
อาศยั การเปล่ียนแปลงต่าง (Change) ท่ีเกดิ ขึ้นรอบตวั เราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่
แนวความคิดใหมท่ ี่ทำให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม
แบบฝึกนวัตกรรมเป็นตัวแปรทีน่ ำไปสกู่ ารเปลี่ยนแปลงองค์กรดา้ นต่างๆ ในเชิงธรุ กจิ ได้แก่ ความอยู่รอด
การเจรญิ เตบิ โต การสร้างความไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขนั การสรา้ งโอกาสทางธุรกิจใหมแ่ ละสมรรถนะหลกั ซึ่งแบบ
ฝึกนวัตกรรมไม่ใช่แค่การพัฒนาสินค้าใหม่ เท่าน้ัน แต่เก่ียวข้องกับการลดต้นทุน การแสวงหาแนวทางการ
ตอบสนองความต้องการของตลาด การยกระดับคุณภาพชีวติ และการสรา้ งคุณภาพเพม่ิ
แบบฝึกนวัตกรรมในยคุ แรก ๆ เกดิ จากการคิดค้นใหมท่ ้ังหมด แต่แบบฝกึ นวัตกรรมในยุคใหม่เกดิ จากการ
พัฒนาให้ เปน็ ชน้ิ ใหม่ท่มี มี ูลคา่ และสามารถนำไปใช้ในเชงิ พาณิชยไ์ ด้
แบบฝึกนวัตกรรมทางการศกึ ษา คือ
แบบฝึกนวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาส่ิงใหม่ซึ่งอาจจะอยู่
ในรูปของความคิดหรือการกระทำ รวมท้ังส่ิงประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพ่ือมุ่งหวังท่ีจะ
เปล่ียนแปลงส่ิงที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ทำให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้
อย่างรวดเร็วเกิดแรงจงู ใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ย
สอน การใช้วีดิทัศน์เชงิ โต้ตอบ (Interactive Video) ส่อื หลายมติ ิ (Hypermedia) และอินเตอรเ์ น็ต เหล่านเ้ี ป็นตน้
องค์ประกอบของแบบฝกึ นวตั กรรม
1. เป็นสิ่งใหม่
2. เนน้ ใชค้ วามร้คู วามคิดสรา้ งสรรค์
3. เปน็ ประโยชน์ ต้องตอบได้ว่าสงิ่ ทีเ่ ราสรา้ งเป็นอย่างไร
4. เปน็ ทยี่ อมรับ
5. มีโอกาสในการพฒั นา
แบบฝึกนวตั กรรมมี 4 ประเภท
1. product innovation : การเปล่ียนแปลงในผลิตภณั ฑห์ รือบริการของ
2. Process innovation : การเปลย่ี นแปลงกระบวนการผลิตหรือกระบวน การนำเสนอผลิตภณั ฑ์
3. Position innovation : การเปล่ียนแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบริการเป็นการเปลี่ยนตำแหน่งของ
ผลติ ภัณฑ์ โดยการสร้างการรับรู้และความเขา้ ใจในผลิตภณั ฑต์ ่อลูกค้า
4. Paradigm innovation : การมุ่งให้เกิดแบบฝกึ นวตั กรรมท่เี ปลย่ี นแปลงกรอบความคิด
ประเภทของแบบฝึกนวตั กรรมการศกึ ษา
แบบฝกึ นวัตกรรมทีน่ ำมาใช้ทั้งท่ผี า่ นมาแลว้ และทีจ่ ะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยกู่ บั การประยกุ ตใ์ ช้
แบบฝึกนวตั กรรมในดา้ น ต่างๆ ซง่ึ จะขอแนะนำแบบฝึกนวตั กรรมการศึกษา 5 ประเภทดังนี้
1. แบบฝึกนวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้อง ถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อให้สอดคลอ้ งกับความกา้ วหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศและ
ของโลก แบบฝึกนวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร
กิจกรรมและประสบการณ์ และหลักสตู รท้องถ่นิ
2. แบบฝึกนวัตกรรมการเรียนการสอน เปน็ การใช้วิธรี ะบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบ
ใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรยี นแบบมีส่วนร่วม การ
เรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธสี อนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยใี หม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุน
การเรียนการสอน
3. แบบฝึกนวัตกรรมสื่อการสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการ
ผลิตสื่อการ เรียนการสอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเอง การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียนแบบ
มวลชน ตลอดจนสอื่ ทใี่ ชเ้ พื่อสนบั สนุนการฝกึ อบรมผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
4. แบบฝึกนวตั กรรมทางด้านการประเมินผล เป็นแบบฝกึ นวัตกรรมที่ใช้เป็นเครอ่ื งมือเพ่ือการวัดผลและ
ประเมินผลได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และทำได้อยา่ งรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวจิ ัยสถาบัน ดว้ ย
การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนับสนนุ การวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์
5. แบบฝึกนวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้แบบฝึกนวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมา
ช่วยในการบริหาร จัดการ เพ่ือการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการ
เปล่ียนแปลงของโลก แบบฝึกนวตั กรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการ
ฐานขอ้ มลู ในหนว่ ยงานสถานศกึ ษา
การจำแนกแบบฝึกนวัตกรรมตามประเภทของผ้ใู ช้
1. แบบฝกึ นวตั กรรมท่ีเป็นสื่อสำหรับผู้สอน
2. แบบฝกึ นวัตกรรมทเี่ ปน็ สอื่ สำหรบั ผ้เู รียน
จำแนกตามลกั ษณะของแบบฝึกนวัตกรรม
1. เทคนคิ วิธีการ
2. ส่ือการเรยี นรู้
จำแนกตามจุดเน้นของแบบฝกึ นวัตกรรม
1. แบบฝึกนวตั กรรมการเรียนรู้ที่เนน้ ผลผลติ
2. แบบฝกึ นวตั กรรมการจัดการเรยี นร้ทู ี่เนน้ เทคนคิ วิธีการ และกระบวนการ
3. แบบฝึกนวตั กรรมที่เน้นทงั้ ผลผลิต
กระบวนการสร้างและพัฒนาแบบฝึกนวตั กรรม
ขัน้ ตอนการพัฒนาแบบฝึกนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพและประสบความสำเร็จในการดำเนินการทำโดยการบูร
ณาการความรู้ของระเบียบ วิจัยทางคลินิกร่วมกับการดำเนินการวิจัยขณะปฏิบัติงานประจำหรือที่รู้จักกัน ว่า
Routine to Research (R to R) มีข้อแนะนำดงั น้ี
1. ประเมินความต้องการแบบฝึกนวัตกรรม (need analysis) โดยประเมินสภาพปัญหาเพ่ือให้เกิดความ
เข้าใจอยา่ งชดั เจนเพื่อคน้ หา ความบกพร่อง ความไมส่ มบูรณ์ของสิง่ ท่ีมีอยู่ และก่อใหเ้ กดิ ปัญหาในการปฏิบัติ
2. กำหนดประเดน็ หรือหัวขอ้ ที่ตอ้ งการพัฒนาแบบฝึกนวัตกรรม ใหม้ ีความเฉพาะเจาะจง ไม่ศึกษาหลาย
เร่ืองในเวลาเดียวกัน โดยแบบฝึกนวัตกรรมที่ จะพัฒนาอาจเป็น กลวิธี เทคนิค โปรแกรม วัสดุ/อุปกรณ์ การ
ปรับเปล่ยี นสภาพแวดลอ้ ม
3. ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบโดยตรวจสอบว่ามีกี่วิธีท่ีสามารถช่วยแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น การ
ประเมินคุณภาพขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ทำโดย
3.1 สบื คน้ วรรณกรรมทสี่ นบั สนนุ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การออกแบบแบบฝกึ นวัตกรรม
3.2 ประเมินระดับความน่าเช่ือถอื ของข้อมูลเชิงประจักษ์ (level of evidence) หากมีประเด็นท่ี
ยังไม่มีการทำวิจัยหรือพบความขัดแย้งในผลงานวิจัยจึงใช้ความเห็นสอดคล้องของผู้เช่ียวชาญการวิจัย
หรือการเทียบเคียงผลของการปฏิบัตงิ านต่างหนว่ ยงาน
4. สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ท่ีไดจ้ ากวรรณกรรมที่มีคุณภาพเมื่อนำมาบูรณาการวางแผนและการออกแบแบบ
ฝึกนวตั กรรม
5. ออกแบบแบบฝึกนวตั กรรมเพื่อเปล่ียนแปลง
6. กำหนดวธิ ีวัดประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ นวตั กรรมซ่ึงอาจมาจากตวั ชีว้ ัด
7. กำหนดรายละเอียดของวิธกี ารใช้แบบฝึกนวตั กรรม
8. ดำเนินการศึกษาแบบฝึกนวัตกรรมในหน่วยงานหรือองค์กรเป้าหมาย ตามแผนที่วางไว้ในข้อ5 ข้อ6
และขอ้ 7
9. ประเมินประสทิ ธิภาพของแบบฝึกนวตั กรรม
10.บันทึกโดยสรุปผลพร้อมแหลง่ อา้ งองิ ทใี่ ช้ในการสรา้ งแบบฝกึ นวตั กรรม
รปู แบบการพัฒนาส่ือและแบบฝกึ นวัตกรรมทางการศกึ ษา
1. การพัฒนาสื่อและแบบฝึกนวัตกรรมทางการศึกษาน้ัน นักวิชาการศึกษาจะใช้รูปแบบการวิจัยและ
พัฒนา เปน็ ระเบียบวิธีวจิ ยั ในการพฒั นาแบบฝึกนวตั กรรมโดยมีรายละเอยี ดของแตล่ ะข้นั ตอนดงั นี้
2. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การศึกษาปัญหาในการจัดการเรียนการสอน
การศกึ ษาเอกสารและวิจยั เพ่ือคน้ หาแนวทางท่ีเหมาะสมในแก้ปัญหา รวมทั้งความรู้ท่ีจะใช้ในการพัฒนาสื่อและ
แบบฝึกนวตั กรรม
3. การวางแผนพัฒนาแบบฝึกนวัตกรรม หมายถึงการเตรียมการในด้านต่างๆ เช่นหลักสูตร ระยะเวลา
งบประมาณ วัสดุ – อปุ กรณ์ บคุ ลากร ผู้เชย่ี วชาญกลุ่มตัวอย่างฯลฯ
4. การสร้างแบบฝึกนวัตกรรม หมายถึง การลงมือทำเพ่ือสร้างแบบฝึกนวัตกรรม โดยจะใช้
กระบวนการพัฒนาสอ่ื 7 ขน้ั ตอนของ Stephen M. Alessi and Stanley R. Trollip
5. การเตรียม ประกอบด้วย การกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแบบฝึกนวัตกรรม การสร้าง
แผนการสอนและกำหนดเนอ้ื หา และการสรา้ งแบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน(โดยการวเิ คราะหค์ วามสอดคล้อง
กับวัตถปุ ระสงค์โดยผเู้ ชี่ยวชาญ และการวเิ คราะห์หาความเช่ือมั่นของแบบทดสอบ)
6. การออกแบบสื่อและแบบฝึกนวัตกรรม ประกอบด้วยการวิเคราะห์โครงสร้างแบบฝึกนวัตกรรม
ออกแบบขั้นแรก ประเมินและแกไ้ ขการออกแบบ
7. การเขยี นแผนผังของแบบฝึกนวัตกรรม คือการเขียนแผนผังเพ่ือให้เห็นโครงสร้างท้ังหมดของแบบฝึก
นวัตกรรมท่ีจะสร้าง
8. การสร้างสตอร่ีบอร์ด คือ การร่างลักษณะของแบบฝึกนวัตกรรมแต่ละส่วนหรือแต่ละหน้าให้เห็น
รายละเอยี ดของแบบฝึกนวตั กรรม
9. การสร้างแบบฝึกนวัตกรรม คอื การลงมอื ทำตามท่ไี ดอ้ อกแบบไว้
10. การผลิตเอกสารประกอบ ประกอบดว้ ยค่มู อื ครู คูม่ อื การใช้ คมู่ อื นักเรยี น ฯลฯ
11. การประเมินและการแก้ไขแบบฝึกนวัตกรรม คือการส่งแบบฝึกนวัตกรรมที่สร้างข้ึนให้ผู้เชี่ยวชาญ
ประเมินคณุ ภาพและปรบั ปรงุ ตามคำแนะนำของผู้เชย่ี วชาญ
แนวคดิ พน้ื ฐานแบบฝึกนวัตกรรมการศึกษา
ปจั จยั สำคัญทม่ี ีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธกี ารศึกษา ได้แกแ่ นวความคิดพ้นื ฐานทางการศึกษาทเี่ ปลีย่ นแปลง
ไป อนั มผี ลทำให้เกิดแบบฝึกนวัตกรรมการศึกษาทสี่ ำคัญๆ พอจะสรปุ ได้ 4 ประการ คือ
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคัญใน
เรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อยา่ งชัดเจนซ่ึงจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุง่ จัดการศึกษาตาม
ความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบ
ห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง แบบฝึกนวัตกรรมท่ีเกิดขึ้นเพื่อสนอง
แนวความคดิ พ้ืนฐานนี้ เชน่
- การเรียนแบบไม่แบง่ ช้ัน (Non-Graded School)
- แบบเรียนสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
- เครอ่ื งสอน (Teaching Machine)
- การสอนเป็นคณะ (Team Teaching)
- การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School)
- เครอ่ื งคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. ความพรอ้ ม (Readiness) เดิมทเี ดียวเชอ่ื กันวา่ เดก็ จะเรมิ่ เรียนได้ก็ต้องมคี วามพร้อมซ่งึ เป็นพฒั นาการ
ตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจติ วิทยาการเรียนรู้ ช้ีให้เห็นว่าความพร้อมในการเรยี นเปน็ สิ่งทีส่ ร้าง
ข้ึนได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเช่ือกันว่ายาก
และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ แบบฝกึ นวัตกรรมท่ีตอบสนองแนวความคิดพื้นฐานนี้
ได้แก่ ศนู ยก์ ารเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน แบบฝกึ นวตั กรรมทส่ี นองแนวความคดิ พน้ื ฐานด้านนี้ เชน่
- ศนู ยก์ ารเรียน (Learning Center)
- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)
- การปรบั ปรงุ การสอนสามชนั้ (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา แตเ่ ดมิ มาการจัดเวลาเพอื่ การสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความ
สะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถอื หน่วยเวลาเปน็ ชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวันนอกจากนั้นก็ยงั จดั เวลาเรยี นเอาไว้แนน่ อน
เป็นภาคเรยี น เป็นปี ในปัจจบุ ันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธก์ ับลักษณะของแต่ละวิชาซึ่ง
จะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงส้ันๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จำกัดอยู่แต่เฉพาะในโรงเรยี นเท่านั้น
แบบฝกึ นวัตกรรมที่สนองแนวความคดิ พ้นื ฐานดา้ นน้ี เชน่
- การจัดตารางสอนแบบยดื หยนุ่ (Flexible Scheduling)
- มหาวิทยาลัยเปดิ (Open University)
- แบบเรยี นสำเร็จรปู (Programmed Text Book)
- การเรยี นทางไปรษณยี ์
4. ประสิทธิภาพในการเรยี น การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคม ทำให้มีสงิ่ ตา่ งๆ ที่
คนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึงจำเป็นต้อง
แสวงหาวิธีการใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงข้ึน ท้ังในด้านปัจจัยเกี่ยวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก แบบฝึก
นวัตกรรมในด้านนท้ี ี่เกดิ ขน้ึ เช่น
- มหาวทิ ยาลัยเปิด
- การเรียนทางวทิ ยุ การเรยี นทางโทรทศั น์
- การเรยี นทางไปรษณยี ์ แบบเรยี นสำเรจ็ รปู
- ชดุ การเรียน
การเผยแพร่แบบฝึกนวัตกรรม
การเผยแพร่ (Diffusion) หมายถึง กระบวนการท่ที ำให้แบบฝึกนวัตกรรมได้รบั การยอมรบั และถกู นำไปใช้
โดยสมาชิกของชุมชนเป้าหมาย ฉะน้ัน การเผยแพร่จึงเป็นกระบวนการซ่งึ แบบฝึกนวัตกรรม (Innovation) จะถูก
นำไปถา่ ยทอดผ่านชอ่ งทางของการสื่อสาร (Communication) ในช่วงเวลาหนึ่ง
(Time) กับสมาชิกท่ีอยู่ในระบบสังคมหน่ึง (Social System) ให้เกิดการยอมรับ (Adoption) จากการ
วิเคราะห์ลักษณะของการเผยแพร่ พบวา่ มีสงิ่ ท่มี อี ิทธิพลในการดำเนินการของกระบวนการเผยแพร่ อยู่ 5 ประการ
คือ 1. ตัวแบบฝึกนวัตกรรมเอง 2. สารสนเทศหรือข้อมูลท่ีนำไปใช้ในการสื่อสารของแบบฝึกนวัตกรรมน้ัน 3.
เงื่อนไขดา้ นเวลา 4. ธรรมชาตขิ องระบบสงั คมหรือชมุ ชนท่ีแบบฝกึ นวัตกรรมจะนำไปเผยแพร่ 5. การยอมรบั
ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลของกระบวนการเผยแพร่แบบฝกึ นวตั กรรม
1. แบบฝกึ นวัตกรรม 2. ช่องทางการส่อื สาร 3. เวลา 4. ระบบสังคม 5. การยอมรบั
6. งานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง
การเรยี นแบบใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรม งานวิจัยในประเทศ
พชั รี ตระกูลแกว้ ( 2557 ) ได้ศึกษาการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาการคำนวณของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมผลการการวิจัยพบว่า การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ทางวิทยาการคำนวณสามารถพัฒนาสงู ข้ึนไปไดเ้ ม่ือใชเ้ ทคนิคการสอนเหมาะสมกบั เน้อื หาและการจัด กิจกรรมการ
เรยี นการสอนเน้นให้นกั เรยี นแสดงออกและปลอ่ ยใหผ้ ู้เรียนไดค้ ดิ อย่างอิสระสอดคลอ้ ง กบั การจัดกจิ กรรมการเรียน
การสอนเน้นเน้ือหาให้นักเรียนแสดงออกและปล่อยให้ผู้เรียนได้คิด อย่างอิสระสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม โดยนักเรียนได้มีโอกาส พัฒนาความคิดสร้างสรรค์งานการเรียนรู้ทาง
วทิ ยาการคำนวณท่นี กั เรียนไดเ้ รียนรูห้ ลายๆเนอ้ื หามา สร้างสรรค์งานอย่างอสิ ระ
เพชรรัตน์ สุรยิ า ( 2557 ) ได้พัฒนาบทเรยี นวทิ ยาการคำนวณใชแ้ บบฝึกนวตั กรรมเพ่อื ส่งเสริมทักษะ ทาง
ภาษาด้านการพูด และการเขียนนำเสนอใช้แบบฝึกนวตั กรรม ผลปรากฏวา่ ผู้เรยี นได้รับการพัฒนาทกั ษะ ทางภาษา
ด้านการพูดและการเขียนนำเสนอใช้แบบฝึกนวัตกรรมโดยสามารถผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้อยู่ในระดับ ค่อนข้างดี
และผลจากการสอบถามวดั ความภาคภูมิใจตนเองของผู้เรยี น ปรากฎว่าผู้เรยี นมีความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองอยู่
ระดับมาก
ชาลีนี ศุขมิลินท์ ( 2558 ) ได้พัฒนาบทเรียนวิทยาการคำนวณใช้แบบฝึกนวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมความรู้
ทางวัฒนธรรม ผลปรากฏว่าผู้เรียนได้รับความรทู้ างวัฒนธรรมโดยสามารถผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ ในระดับดีมาก
และผลการประเมินความสามารถทางภาษาด้านทักษะการฟัง – พูด และทักษะการ อ่านเขียนของผู้เรียนภาย
หลังจากการเรยี นวิชาวิทยาการคำนวณใช้แบบฝึกนวัตกรรม ปรากฏว่าผู้เรียนมีความ สามารถทางด้านการฟัง –
พดู อยูใ่ นระดบั ดี และมีความสามารถทางด้านการอา่ น - เขียนอยู่ใน ระดับดีมาก
พจน์ วงศ์ปัญญา ( 2558 ) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาการคำนวณ ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่เน้นการสร้างใช้แบบฝึกนวัตกรรม จากภาพรวมของ
กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยการสอนโดยใช้แบบฝึกนวตั กรรม พบว่า นกั เรียนทกุ กลุ่มมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการ
สอนโดยใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรมอย่ใู นระดับดมี าก และนักเรียนมคี วามพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนอยูใ่ นระดับ
ดี
นายสุระศักด์ิ อักษร (2558) การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เรอ่ื งผลิตภัณฑ์ จากผ้า
ไหมลายขิด กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนทุ่งไชยพิทยา รัชมัง
คลาภิเษก อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ ผลการวจิ ัยพบวา่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม
มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 89.39 / 83.48 มีค่าดัชนี ประสิทธิผลของการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เท่ากับ
0.76 หมายความว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มข้ึนร้อยละ 76 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย แผนการ
จัดการเรียนรู้แบบใชแ้ บบฝึกนวตั กรรมมคี วามพึง พอใจ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด โดยมีคะแนนเฉล่ยี 4.61
บุศริน ช่างสลัก (2559) ได้ศึกษาเรื่อง ผลการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยการสอนโดยใช้แบบฝึก
นวัตกรรม สำหรบั ครูการศกึ ษานอกโรงเรยี น จังหวัดนครพนม พบว่า ครกู ารศึกษานอกโรงเรียน สามารถนำคู่มือ
การจัดการเรียนรู้โดยการสอนโดยใช้แบบฝกึ นวตั กรรม ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในระดับมาก และ มีความ
พึงพอใจในการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยการสอนโดยใช้แบบฝกึ นวัตกรรม ทุกเรอ่ื งอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้มี
ความคิดเห็นว่า คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรม สำหรับครูการศึกษา นอกโรงเรียน
จังหวดั นครพนม มปี ระโยชน์โดยสร้างความรคู้ วามเข้าใจ ทำให้สามารถจัด กระบวนการเรียนรู้โดยการสอนโดยใช้
แบบฝึกนวัตกรรมได้ สามารถให้คำปรกึ ษาแนะนำนักศึกษาในการจัดทำ ใช้แบบฝึกนวัตกรรมได้ เป็นการสรา้ งเจต
คติที่ดีให้กับผู้เรียน สามารถวัดผลงานของผู้เรียนได้ สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเองและ
ครอบครวั ได้ นอกจากน้ียังได้ศึกษาความคิดเหน็ ของ www.ssru.ac.th นักศึกษา พบว่า นักศึกษา มีความรู้ ความ
เข้าใจ เก่ียวกับกระบวนการจดั ทำใชแ้ บบฝกึ นวตั กรรม ทุกเร่ืองอยู่ ในระดบั มาก และสามารถนำความรูท้ ่ไี ด้รับจาก
ครูผู้สอนไปใช้ในการจัดทำใช้แบบฝึกนวัตกรรมและประโยชน์ท่ี ได้รับจากการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรม ทุก
เรือ่ งอยู่ในระดับมาก โดยสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และการพัฒนาอาชีพได้และเป็น
ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาชุมชนสงั คม
วรรณา ใจกว้าง (2559) ไดศ้ ึกษาเรื่องการจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกนวตั กรรม โรงเรียนชุมชน
บ้านตาหลังใน พบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมสามารถทำให้นักเรียนมีความสามารถ
เพิ่มขนึ้ ดังนี้ 1) นักเรียนสามารถทำใช้แบบฝกึ นวัตกรรมได้ถูกต้องทุกขนั้ ตอน 2) นกั เรียนได้ฝกึ กระบวนการกลุ่ม
และฝึกการแก้ปัญหา 3) นักเรียนได้นำประสบการณ์ ความรู้ในแต่ละกลุ่มกลุ่ม สาระการเรียนรู้มาบูรณาการกับ
การสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมได้ 4) นักเรียนรู้จักวิธีการศึกษาคน้ คว้า และเก็บ รวบรวมขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ
5) นักเรยี นสามารถเผยแพร่ความรู้ หรือให้คำแนะนำในการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมกบั นักเรียนคนอื่นได้
ศักด์ิอนันต์ อนันตสุข (2559) ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เร่ือง งานและ
พลังงานโดยใช้การสอนด้วยรูปแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เคร่ืองมือที่ใช้ใน
การทดลองเชิงปฏิบัติการ คือ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เรื่องงานและพลังงาน
จำนวน 8 แผน 9 ชั่วโมง ดังนี้ (1) เรื่อง งาน, (2) เรือ่ ง กำลัง, (3) เรื่องพลังงานจลน์, (4) เรอื่ ง พลังงานศักย์, (5)
เรื่องกฎการอนุรักษ์พลังงาน, (6) เรื่องการเคล่ือนท่ีของวัตถุในแนววงกลมในระนาบด่ิง, (7) เร่ือง เครื่องกล, (8)
เร่ือง แหล่งพลังงานและการใช้พลังงานเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการปฏิบัติ ไ ด้แก่ 1)
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง งานและพลังงาน จำนวน 40 ข้อ มีค่าความยากง่าย
(p)และค่าอำนาจจำแนก(r)อยู่ระหว่าง 0.20–0.80 มีค่าความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ 0.83 2) แบบสังเกต
พฤตกิ รรมการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นแบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนของ
ครูผู้สอน โดยครูผูร้ ่วมวิจยั เปน็ ผสู้ ังเกต 3) แบบสำรวจตนเองและแบบสำรวจกลุ่ม เปน็ แบบสำรวจสำหรับนักเรยี น
ได้สำรวจพฤติกรรมการเรียนของตนเองในชั้นเรียน 4) แบบบันทึกเหตุการณ์การเรียนการสอน เป็นแบบบันทึก
เหตุการณ์ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน โดยผวู้ ิจัย และครูผู้ร่วมวิจยั เป็นผู้บันทึก 5) แบบบนั ทึก
ความคิดเห็น เป็นแบบแสดงความคิดเห็นของนักเรียน และครูผู้ร่วมวิจัยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 6)
แบบสัมภาษณ์ เป็นแบบสัมภาษณป์ ลายเปดิ ใชค้ ำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบไดแ้ สดงออกซ่ึงความคิดและความรู้สึก
ของตนเอง ทั้งครผู ู้ร่วมวิจยั และนักเรียนที่เกี่ยวข้อง 7) แบบบันทึกประจำวันของครู 8) กล้องถ่ายภาพ และกล้อง
วดี ีโอบันทึกภาพเคล่ือนไหว จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่อง งานและพลังงาน พบว่า
จำนวนนักเรยี นร้อยละ 87.50 ทำคะแนนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 50 และมนี ักเรยี นเพียงร้อยละ 12.50 ท่ีทำคะแนนไม่
ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 50 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากบั 27.18 คะแนน จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ
67.94 ของคะแนนเต็ม และเม่ือนำแบบทดสอบรายจุดประสงค์ เร่ือง งานและพลังงาน ในปีการศึกษา 2548 มา
ทดสอบกับนักเรียนที่เรียน เร่ือง งานและพลังงาน จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม ผลปรากฏว่า นักเรียนท่ีเรียนเร่ือง งานและพลังงาน โดยการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม สามารถทำแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 จำนวน 32
คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ของนักเรียนท้ังหมด 40 คน และมีคะแนนเฉลี่ย 14.36 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20
คะแนน ซง่ึ นักเรียนกลุม่ นส้ี ามารถทำคะแนน
รชาดา บัวไพร (2559) ได้ทำการศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
แบบโมเดลใช้แบบฝกึ นวัตกรรมท่ีมตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการคำนวณและเจตคติทางวิทยาการคำนวณ
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้แบบแผนการวิจัย One Group
PretestPosttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบโมเดลใช้แบบฝึก
นวัตกรรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดเจตคติทางวิทยาการคำนวณสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) หลัง
การทดลองค่าเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิทยาการคำนวณของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ที่ได้รับ
การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบโมเดลใช้แบบฝึกนวตั กรรมสูงกว่า
ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 2)หลังการทดลอง ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติทางวิทยาการ
คำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณโดยใช้รูปแบบการ
เรยี นการสอน แบบโมเดลใชแ้ บบฝกึ นวตั กรรมสูงกวา่ ก่อนเรยี น อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05
อรุณี ซอ้ นกล่ินสกุล (2560) ไดพ้ ัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าเคมีเพ่ิมเติม 4
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง เช้ือเพลิงซากดึกดําบรรพ์และผลิตภัณฑ์ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ ใช้แบบฝึก
นวตั กรรม รูปแบบการวจิ ยั ดําเนินการตามหลกั การวจิ ัยเชิงปฏิบตั กิ าร ซ่ึงประกอบดว้ ยการวางแผน การปฏบิ ตั ิ การ
สังเกตและการสะท้อนผลการปฏิบัติ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการเรียนรู้ซึ่งเป็น แนวทางในการ
ดําเนินการเรียนการสอน แบบบันทึกต่างๆ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการเก็บรวบรวมข้อมูล
ดําเนินการดังน้ี 1) ดําเนินการสอนตามรปู แบบการสอนแบบใช้แบบฝึกนวตั กรรมนําการสะท้อนผลการปฏิบัตทิ ่ีได้
จากผู้มสี ่วนร่วมในการวจิ ยั มาใชเ้ ป็นข้อมูลในการปรบั ปรุงการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพ จน
ครบทุกแผนการเรียนรู้ 2) ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน 3) วิเคราะห์ข้อมูล แบ่งออกเป็น 2
ประเภท คอื การวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิง คุณภาพโดยการนาํ ข้อมูลมาวเิ คราะห์ ตีความ สรุปและรายงานผลในลกั ษณะ
การบรรยาย และการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าเฉล่ีย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบวา การพัฒนา
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เป็นกิจกรรมท่ีมีความสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้เรยี นทําใหผ้ ู้เรียนสนใจและกระตอื รอื ร้น ในการร่วมกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติจริงทําให้เกิดการ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีโอกาสได้ พัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ในการแสวงหาความรู้เพ่ือคิดและแก
ปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่มเป็นเครื่องมือจึงทําให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพ่ือนและครูในการท่ีจะอภิปราย
แลกเปล่ียนความรู้ และนําเสนอผลงานท่ีค้นพบทําให้เกิดความภาคภูมิใจและมีความสุขในการเรียน อีกท้ังยัง
สามารถ นําความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กบสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจําวันได้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้มีการ
พัฒนาโดยการปรับเปล่ียนกิจกรรมในด้านต่างๆ เช่น 1) การศึกษาใบกิจกรรม 2) การแบ่งหน้าท่ีและความ
รับผิดชอบในกลุ่ม 3) ทักษะในการปฏิบัติ การทดลองและการใช้อุปกรณ์ 4) การมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5) การ
อภิปรายซักถามและแลกเปลี่ยน ความรู้ 6) การใช้เวลาในการทํากิจกรรม และ 7) การรายงานและการนําเสนอ
ผลงาน ดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น พบวา่ นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนผ่านเกณฑ์ที่กำหนด คือได้คะแนนสูง
กว่าร้อยละ 70 โดยมีจํานวนนักเรียนท่ีผ่านเกณฑ์ท้ังหมดจํานวน 24 คน คิดเป็น ร้อยละ 88.84 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่
กำหนดไว้ที่ร้อยละ 80
นายคณิต จันทสโร (2561) ได้ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง สารชีวโมเลกุล โดยใช้
รูปแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นมัธยมศึกษาในเขตอำเภอท่าแซะ จังหวดั ชุมพร เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัยได้แก่ แผนการ
จัดการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารชีว
โมเลกุล และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง
สารชวี โมเลกุล ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตอำเภอทา่ แซะ จงั หวดั ชมุ พร หลงั เรยี น
สูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05 (2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เรื่อง สารชีวโมเลกลุ หลังเรียน
ของนักเรียนดังกล่าวสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (3) ความสามารถในการคิด
วิเคราะห์หลงั เรียนของนักเรยี นดังกลา่ วสงู กว่าความสามารถก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ 0.05 และ
(4)ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์หลังเรียนของนักเรียนดังกล่าวสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิตทิ ่ีระดับ 0.05 และผ่านเกณฑ์มากกวา่ นกั เรียนในปีการศึกษา 2548 ที่ทดสอบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 เพียง 14
คน คิดเป็นร้อยละ 38.89 ของจำนวนนักเรียนทัง้ หมด 36 คน และมีคะแนนเฉลย่ี 11.25 คะแนน จากคะแนนเต็ม
20 คะแนน
การเรยี นแบบใชแ้ บบฝึกนวตั กรรม งานวจิ ัยในตา่ งประเทศ
บกิ ก์ (Bigge. 2017) ได้ศึกษาวิธีการเรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรมตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
พบว่า สามารถช่วยให้นักเรยี นพัฒนาในด้านความสามารถและความเข้าใจในการใช้ความคิด ความอยากรู้ อยาก
เห็น การสืบสอบ ความเพียรพยายามและความรอบคอบ
โกลับ และ โคเลน (Golub and Kolen. 2017) ได้ศึกษาและพบวา่ เด็กที่มาจากรปู แบบ การสอนแบบใช้
แบบฝึกนวตั กรรมตามแนวคิดคอนสตรัคตวิ ิสต์ มีความคิดซับซ้อนมากกวา่ เด็กท่ีมาจากโรงเรียนอนุบาลทวั่ ไป เม่ือ
เปรียบเทียบในกิจกรรมการเล่นอิสระและพบว่า เด็กมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีความร่วมมือ และ อิสระในการ
ตัดสนิ ใจดว้ ยตัวเองมากกวา่ กลุ่มควบคมุ
เรนเนอร์ และ มาเรค (Renner and Marek: 2018) ได้ศึกษาโดยการนำทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ของเพียเจต์มาออกแบบทดลองสอนวิทยาการคำนวณแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้ (the
learning cycle) พบว่า โมเดลน้ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ กระบวนการ
ทางวิทยาการคำนวณ ทักษะทางสงั คมและการเข้าใจความหมายของคำ การแก้ปัญหาและช่วยให้นักเรียนเรยี นรู้
วธิ คี ดิ
รอดด้ี โมเซนต์ (2019 : บทคัดย่อ) ได้ให้ข้อเสนอแนะในการสอนบทเพลงว่า ครูควรจัดบทเพลง
ประกอบการสอนให้เข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม เพราะการใช้บทเพลงประกอบการสอน
เป็นวิธีหนึ่งทใ่ี ห้เด็กสนใจบทเรียน และรู้สึกสนกุ สนาน ไม่เบือ่ หนา่ ยในการใช้บทเพลงประกอบการสอนนั้น ครตู ้อง
มีวิธีทจ่ี ะทำให้เดก็ สนใจและรอ้ งเพลงได้ และควรเลอื กเพลงท่ีเหมาะสมกบั เด็กดว้ ย
ชาง ชู (2020 : บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาการใช้แบบฝึกนวตั กรรมการจัดการเรียนรทู้ ่ีพฒั นาข้ึนเป็นรปู แบบการ
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรยี นในระดับประถมศึกษา พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมีพัฒนาการ
ด้านทักษะการคิดสูงกว่ากลุ่มควบคมุ และส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเก่ียวกบการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากในทุก
ดา้ น
สรุปว่าการจัดการเรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เมื่อมีการเปล่ียนแปลงหลักสูตร แนวคิดเร่ือง
การเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง นบั เปน็ แนวคดิ หลักของการเปลี่ยนแปลง หลกั สูตรฉบบั ดังกลา่ วได้
สง่ เสรมิ ให้ครเู ปล่ียนแนวการจดั การเรียนการสอนจากการบรรยาย บอกเลา่ มาเป็นการจัดกิจกรรมตา่ งๆ ให้ผูเ้ รียน
มีส่วนรว่ ม เม่ือเร่มิ มีการปฏิรูปทางการเมืองเกิดขึ้น วงการศึกษาก็ได้มกี ารเคลื่อนไหวใหม้ ีการปฏิรูปการศกึ ษาอีก
คร้ังหน่ึง ซึ่งส่งผลทำให้เกิดพระราชบัญญัติการศึกษาข้ึน การปฏิรูปคร้ังน้ี มีประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการปฏิรูปการ
เรียนการสอนที่ชัดเจน และกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม หรือการจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียน
เปน็ ศูนยก์ ลาง กย็ ังเป็นประเด็นสำคัญทต่ี อ้ งสง่ เสริมกนั อยา่ งเข้มแขง็ ต่อไป นับว่าเปน็ เรอ่ื งท่ีน่าประหลาดใจท่ีแมว้ ่า
เวลาจะผา่ นไปแล้ว นับตัง้ แต่การเปล่ียนแปลงหลักสูตร แต่แนวคดิ เดิมในเร่ืองการสอนแบบผ้เู รียนเป็นศูนย์กลางก็
ยงั คงอยู่ แสดงใหเ้ ห็นวา่ แนวคิดดังกล่าวยงั ไมเ่ กดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิในระดบั ทเ่ี ป็นทนี่ ่าพอใจ
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั
การวจิ ยั เรอ่ื งการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นโดยใชว้ ิธีการเรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม
ผู้วจิ ัยไดด้ ำเนินการวิจัยและจดั ลำดับ ตามขน้ั ตอนดังน้ี
กลุ่มตัวอยา่ ง
กลุม่ ตัวอยา่ ง คอื นักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 10 คน
ประชากร คอื นักเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 19 คน
เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
1. รูปแบบการเรยี นการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม
2. แบบบันทกึ คะแนนประจำหน่วยและใบงาน
3. สมุดแบบฝึกหดั และใบกจิ กรรมของนกั เรียน
4. แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรียนและแบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรยี น
เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัยครั้งน้ี เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) โดย
ผ้วู ิจัยสรา้ งจากแนวคิดท่ีได้จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ ง มีเนื้อหาเกี่ยวกับการวจิ ัยของครู ในด้าน
ความเช่ือ ทัศนคติ และค่านิยมในการทำวิจัยของครู เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันด้านนโยบาย การบริหารงานวิจัย
ปจั จัยที่เอ้ือต่อการทำวจิ ัยของครู และพัฒนาจากเครื่องมือการวิจัยของ ภัทรวดี เทพพิทกั ษ์ (2550 : 103 - 112)
พงศพ์ ชั รินทร์ พธุ วัฒนะ (2557 : 258 - 266) พฤกษวรรณ ทองมาก (2558 : 105) โดยแบ่งเป็น 5 ตอน ดังนี้
ตอนท่ี 1 ปจั จยั ส่วนบคุ คลของครูแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบให้เตมิ คำในช่องวา่ ง รวม
7 ขอ้
ตอนท่ี 2 สภาพการทำวจิ ัยของครูแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบให้เตมิ คำ ในช่องว่าง
รวม 22 ข้อ
ตอนที่ 3 ความเชอ่ื ทศั นคติ และค่านิยมด้านการทำวิจยั ของครู จำนวน 34 ขอ้ แบบมาตราสว่ นประมาณ
ค่า (Rating Scale) มี 5 ระดบั โดยมีหลักเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั นี้
1. กรณีท่ีข้อความมีลกั ษณะในทางบวก (Positive) ซ่งึ ไดแ้ กค่ าถามข้อท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10,
11, 12, 15, 16, 17, 18, 20, 22, 26, 28, 30, 31, 32,34 มีหลักเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดังนี้
ครมู ที ัศนะต่อความเชอื่ ทัศนคติ และคา่ นิยมการทำวิจัย ในระดบั มากที่สุด เท่ากบั 5 คะแนน
ครูมที ัศนะต่อความเชื่อ ทัศนคติ และคา่ นิยมการทำวิจยั ในระดับมาก เท่ากับ 4 คะแนน
ครูมีทัศนะตอ่ ความเช่อื ทัศนคติ และคา่ นิยมการทำวิจยั ในระดับปานกลาง เทา่ กบั 3 คะแนน
ครูมที ศั นะต่อความเชือ่ ทัศนคติ และคา่ นิยมการทำวจิ ยั ในระดบั นอ้ ย เทา่ กบั 2 คะแนน
ครูมที ัศนะต่อความเชือ่ ทศั นคติ และคา่ นยิ มการทำวจิ ยั ในระดบั นอ้ ยท่ีสดุ เท่ากบั 1 คะแนน
2. กรณที ่ีขอ้ ความมีลกั ษณะในทางลบ (Negative) ซ่งึ ได้แกค่ าถามข้อท่ี 13, 14, 19, 21, 23, 24, 27, 29,
33 มหี ลักเกณฑ์การให้คะแนน ดงั นี้
ครูมที ัศนะต่อความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยมการทำวิจยั ในระดบั มากท่ีสุด เท่ากับ 1 คะแนน
ครูมีทศั นะตอ่ ความเชอื่ ทัศนคติ และคา่ นยิ มการทำวิจัย ในระดบั มาก เทา่ กับ 2 คะแนน
ครูมที ัศนะต่อความเชอ่ื ทัศนคติ และคา่ นยิ มการทำวิจยั ในระดบั ปานกลาง เทา่ กบั 3 คะแนน
ครมู ีทัศนะต่อความเชื่อ ทัศนคติ และค่านยิ มการทำวจิ ยั ในระดบั นอ้ ย เทา่ กับ 4 คะแนน
ครมู ีทศั นะต่อความเช่อื ทศั นคติ และค่านิยมการทำวิจยั ในระดับนอ้ ยทสี่ ุด เทา่ กบั 5 คะแนน
ตอนที่ 4 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ปัจจัยทเี่ อ้ือตอ่ การทำวจิ ยั เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่
(Rating Scale) ตามแบบของลิคเอิร์ท (Likert, อ้างถงึ ในผ่องศรี วาณิชยศ์ ุภวงศ์, 2557 : 139) แบ่งเป็น 5 ระดบั
โดยใช้เกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั น้ี
ระดบั 5 หมายถงึ ครมู ีทัศนะตอ่ ปัจจัยท่เี ออ้ื ต่อการทำวจิ ัยในระดับมากที่สุด
ระดบั 4 หมายถึง ครมู ีทัศนะตอ่ ปัจจัยที่เอื้อตอ่ การทำวจิ ยั ในระดบั มาก
ระดบั 3 หมายถงึ ครูมีทัศนะต่อปจั จัยที่เออ้ื ต่อการทำวจิ ยั ในระดับปานกลาง
ระดบั 2 หมายถงึ ครูมที ัศนะต่อปจั จัยท่เี อือ้ ต่อการทำวิจัยในระดบั น้อย
ระดับ 1 หมายถงึ ครูมีทัศนะต่อปัจจัยที่เอื้อตอ่ การทำวิจัยในระดับน้อยท่สี ุด
ตอนท่ี 5 เป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปดิ เก่ยี วกบั ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
วัฒนธรรมวจิ ยั ของครู
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. แบ่งกลมุ่ นักเรยี นออกเป็นกล่มุ ในแตล่ ะกลุ่มจะเฟ้นหานกั เรียนทเ่ี ก่ง และมีความรับผิดชอบ มีลักษณะเปน็
ผู้นำมอบหมายให้เปน็ หัวหนา้ กล่มุ เพื่อช่วยในการกระตุ้นเพอ่ื นๆ ขณะทำกิจกรรมการเรียนรู้
2. ครูผ้สู อนชี้แจงการเรียนแบบใชแ้ บบฝึกนวตั กรรม โดยหลงั จากครูสอนในแตล่ ะคร้งั กจ็ ะมอบหมายใหน้ ักเรียนทำ
แบบฝึกหัด โดยนักเรยี นนั่งทำแบบฝึกหัดระดมสมองชว่ ยกันคิด หากหัวข้อใดสมาชกิ ในกลมุ่ ไม่เขา้ ใจ ผู้ทเ่ี ข้าใจก็
จะชว่ ยกนั อธิบายจนเพอื่ นเข้าใจ หากสมาชกิ ในกลุ่มยงั ไมเ่ ข้าใจกจ็ ะปรึกษาครูผสู้ อน
3. ครูสงั เกตการทำกิจกรรมของกลุ่ม การช่วยกนั แก้ปญั หา ความสนใจ และความตงั้ ใจของสมาชิกในกลุ่ม
4. สังเกตผลการทำแบบฝึกหัดว่าดขี ึ้นหรอื ไม่
5. สังเกตการประเมนิ ตามสภาพจริงในแต่ละครง้ั
6. วัดผลการเรยี นเมื่อสิน้ บทเรียน
7. ครูชว่ ยสรุปการเรยี นรทู้ ง้ั หมดที่นกั เรยี นปฏิบตั ิเป็นความคิดรวบยอด
การวิเคราะหข์ อ้ มูล
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/1 เรื่องการ
แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนท่ีเรียนด้วยการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้รูปแบบการสอนที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา โดย
การนำคะแนนของนักเรียนทั้ง 40 คน มาคำนวณหาค่าร้อยละ และค่าเฉล่ีย และนำเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง
ประกอบคำบรรยาย
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล
เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ท่ีเรียนโดยใช้
รูปแบบการสอนที่เน้นกระบวนการแกป้ ัญหาก่อนเรียนและหลังเรียน โดยนำคะแนนทดสอบของนักเรียนมาหาค่า
ร้อยละ และคา่ เฉล่ีย
1.1 คา่ ร้อยละ การศึกษาผลการทดสอบของรอ้ ยละคะแนนทเี่ พิ่มขึน้ โดยใชส้ ูตร ดังน้ี
X % = x 100
n
เมอื่ % คือ คะแนนเฉล่ียร้อยละ
คอื คะแนนผลการทดสอบของนกั เรยี นทุกคนรวมกนั
x คือ จำนวนนกั เรยี นกลุ่มประชากร
n
1.2 คา่ เฉล่ยี ของคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน ( x ) ใช้สูตรของล้วน ยศสาย และ
องั คณา ยศสาย (2558 : 59)
1.3 สถิตพิ ้นื ฐานที่ใชใ้ นการหาคณุ ภาพเคร่อื งมอื
แทนคา่ คอื ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ ง -1 ถงึ +1
คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญทง้ั หมด
คือ จำนวนผ้เู ชี่ยวชาญท้งั หมด
1.4 สถิติทใ่ี ช้ในการทดสอบสมมติฐาน
ขนั้ ตอนการทดสอบสมมตฐิ านทางสถิตมิ ีดงั น้ี
1. ตง้ั สมมติฐานหลัก (H0) และสมมติฐานทางเลือก (H1) ใหม้ คี วามหมายตรงขา้ มกนั เสมอ
2. กำหนดระดบั นัยสำคัญ α
3. เลอื กตัวสถิติทดสอบท่ีเหมาะสม แล้วหาจุดวิกฤตเพ่ือกำหนดบรเิ วณปฏเิ สธ H0 ให้ สอดคล้อง
กบั H0 และ α
4. คำนวณคา่ สถิติที่ใช้ทดสอบจากตวั อย่างขนาด n ท่สี ุ่มมา
5. ตัดสินใจยอมรับหรอื ปฏิเสธ H0 โดยพิจารณาจากเงือ่ นไขน้ี ถ้าคา่ สถิติทดสอบท่ีคำนวณได้จาก
ขั้นตอนท่ี 4 ตกอยู่ในบริเวณยอมรบั เราจะตัดสนิ ใจยอมรบั H0 แตห่ ากตกอยบู่ ริเวณปฏิเสธ จะตดั สินใจ
ปฏิเสธ H0
6. สรุปผล