The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน.วิทยาการ.ป2-แก้ปัญหาเป็นข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยในชั้นเรียน.วิทยาการ.ป2-แก้ปัญหาเป็นข

วิจัยในชั้นเรียน.วิทยาการ.ป2-แก้ปัญหาเป็นข

1.5 ค่าร้อยละ (Percentage) ใชส้ ูตรดงั นี้

แทนคา่ คอื ร้อยละ
คอื ความถ่ีทตี่ อ้ งการแปลงใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ
คอื จำนวนความถที่ ั้งหมด

1.6 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สตู ร (Ferguson, 2017 : 49)

แทนคา่ คือ ค่าความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
คอื ผลรวมของกำลังสองของคะแนน
คือ ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกำลังสอง
คือ จำนวนคนในกลุ่มตวั อย่าง

ผู้วิจัยนำข้อมูลท่ีได้จากการทำแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนมาสร้างตาราง
เปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนเป็นรายบุคคลมาเปรียบเทียบกัน และวิเคราะห์ค่า
ทางสถติ ิ เพ่อื ดูพัฒนาการของนกั เรียนและจดุ บกพรอ่ งตอ่ ไป

ค่าความยากง่ายของขอ้ สอบ

ความยากงา่ ย (Difficulty) ความยากงา่ ยของแบบทดสอบ เปน็ คุณภาพของเครอื่ งมือท่ีเปน็ แบบทดสอบท่ี
แสดงสัดส่วนของผู้สอบที่ตอบข้อน้ันได้ถูกต้อง ต่อผู้สอบท้ังหมดจะพิจารณาเป็นรายข้อของแบบทดสอบแบบ
เลือกตอบ โดยใชส้ ตู รในการคำนวณ ดังน้ี

กำหนดให้ p คอื คา่ ความยากงา่ ย
R คอื จำนวนผู้สอบทีต่ อบข้อนั้นถูก
N คอื จำนวนผสู้ อบทัง้ หมด


ความยากงา่ ยที่แบง่ กลุ่มสงู และกลุ่มตำ่ จะคำนวณได้จากสูตร

กำหนดให้ p คือ ค่าความยากง่ายของขอ้ สอบแต่ละขอ้
RH คือ จำนวนผสู้ อบท่ีตอบถกู ในกลมุ่ สงู
RL คอื จำนวนผู้สอบที่ตอบถูกในกลุม่ ต่ำ
NH คือ จำนวนผสู้ อบที่ตอบในกลมุ่ สูง
NL คือ จำนวนผู้สอบทีต่ อบในกลุ่มต่ำ

การพิจารณาระดับค่าความยากของข้อสอบแต่ละข้อที่ได้จากการคำนวณ จากสูตรที่จะมีค่าอยู่
ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00 โดยท่ีขอ้ สอบที่จะสามารถนาไปใช้ในการวัดผลที่มีประสิทธิภาพจะมีคา่ ความยาก
อยู่ ระหว่าง 0.20 ถงึ 0.80 เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพของแบบทดสอบมีดังนี้

p มากกวา่ 0.8 แต่น้อยกวา่ 1.0 แสดงแบบทดสอบขอ้ น้ันงา่ ยมาก ควรตดั ท้งิ หรอื นำไปปรับปรงุ
p มากกว่า 0.6 แตน่ อ้ ยกวา่ 0.8 แสดงแบบทดสอบข้อนนั้ ค่อนขา้ งง่าย นำไปใช้ได้
p มากกวา่ 0.4 แต่นอ้ ยกวา่ 0.6 แสดงแบบทดสอบขอ้ นั้นยากงา่ ยปานกลาง นำไปใชไ้ ด้
p มากกว่า 0.2 แต่นอ้ ยกว่า 0.4 แสดงแบบทดสอบขอ้ นน้ั ค่อนขา้ งยาก นำไปใช้ได้
p นอ้ ยกวา่ 0.2 แสดงแบบทดสอบขอ้ นน้ั ยากมาก ควรตดั ท้ิงหรอื นำไปปรับปรุง
นอกจากจะนำค่าความยากง่ายไปใช้ในการเลือกข้อสอบแล้วยังสามารถนำมาใช้ในการจัด
เรียงลำดับข้อสอบจากง่ายไปยาก การปรบั ปรุงข้อคำถามและตัวเลือก การจัดทำข้อสอบแบบคู่ขนานที่มี
ความยากงา่ ยใกลเ้ คียงกนั
ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) เคร่ืองมือวัดผลที่มีประสิทธิภาพ เป็นเครื่องมือท่ีทำให้ได้ข้อมูลได้
ถูกต้องเช่ือถือได้ โดยลงทุนน้อยที่สุดไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในแง่เวลา แรงงาน และทุนทรัพย์ รวมทั้งความ
สะดวกสบาย คลอ่ งตัวในการรวบรวมขอ้ มลู


ความยุติธรรม (Fair) ความยุติธรรม เป็นคุณลักษณะของข้อสอบท่ีดีต้องไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้เปรียบ
เสียเปรียบกัน เช่น ข้อสอบบางฉบับครูไปเน้นเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงตรงกับเรื่องท่ีเด็กทำรายงานในบางกลุ่ม ทำให้
กลุ่มนั้น ๆ ได้เปรียบคนอืน่ ๆ ข้อสอบบางขอ้ ใช้คำถามหรือข้อความทแ่ี นะคำตอบ ทำใหน้ กั เรยี นใชไ้ หวพรบิ เดาได้

คำถามลึก (Searching) ข้อสอบที่ถามลึกจะวัดความเข้าใจ การนำความรู้ที่ได้เรียนไปแล้วมาแก้ปัญหา
วเิ คราะห์ ตลอดจนสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหมข่ ึ้นมาจนท้ายที่สดุ คือการประเมินผลคำถามท่ถี ามลึกน้ันผตู้ อบต้องคดิ ค้นกอ่ น
จึงจะสามารถหาคำตอบได้

คำถามย่ัวยุ (Exemplary) คำถามท่ีมีลักษณะท้าทายให้เด็กอยากคิดอยากทำ มีลีลาการถามท่ีน่าสนใจ
ไม่ถามวนเวยี นซำ้ ซากนา่ เบื่อหนา่ ย การใช้รูปภาพประกอบ การเรียงลำดบั คำถามจากข้องา่ ยไปหายากเป็นวธิ ีหน่ึง
ทีท่ ำใหข้ ้อสอบมีลักษณะท้าทายน่าทำ

จำเพาะเจาะจง (Definite) คำถามที่ดีต้องไม่ถามกว้างเกินไป ไม่คลุมเครือหรือเล่นสำนวนให้ผู้สอบงง
ผสู้ อบอ่านแลว้ ต้องเข้าใจชดั เจนว่าครถู ามอะไร

ความเช่ือม่ัน (Reliability) ความเช่ือม่ัน เป็นคุณสมบัติของการวัดที่แสดงให้ทราบว่าค่าของคะแนนท่ี
เป็นผลมาจากการวัดด้วยเครื่องมือและวิธีการวัดประเมินที่มีความคงเส้นคงวา (Consistency) หรือคงตัว
(Stability) หรือไม่เพียงใด

การทดสอบซ้ำ (Test–Retest Method) โดยการนำเอาแบบทดสอบฉบับหน่ึง ไปทำการทดสอบกับ
นักเรียนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง 2 ครั้ง ในเวลาท่ีต่างกัน โดยเว้นระยะเวลาในการสอบท้ัง 2 ครั้ง ให้ห่างกันพอสมควร
และทำการสอบซ้ำคร้งั ที่ 2 นำคะแนนจากการสอบครัง้ ท่ี 1 และคะแนนจากการสอบคร้ังที่ 2 ไปหาค่าสมั ประสทิ ธิ์
สหสัมพันธโ์ ดยใชส้ ูตรของเพยี ร์สัน (Pearson Product Moment Correlation)

กำหนดให้ คือ ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
N คือ จำนวนผู้เข้าสอบ
X คือ คะแนนแต่ละตัวของคะแนนครงั้ ท่ี 1
Y คอื คะแนนแตล่ ะตวั ของคะแนนครั้งที่ 2


บทที่ 4
ผลการศกึ ษาค้นคว้า

วเิ คราะห์ข้อมลู
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 2/1 โดยมีเป้าหมายให้นักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์ท่ีกำหนด โดยเสนอผลการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นลำดบั ในลักษณะตารางประกอบคำบรรยายดงั น้ี

ตารางที่ 1 แสดงคา่ ร้อยละและค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบความสามารถในการเรยี นรู้ในวิชาวิทยาการคำนวณ ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ท่ีได้รับการจัดการเรยี นรู้ในชน้ั เรียนตลอดงานวิจัยน้ี เรื่องการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ขัน้ ตอน ของนกั เรียนก่อนและหลังเรยี น ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 10 คน

การทดสอบ คะแนนเตม็ คะแนนเฉลีย่ ( x ) ร้อยละของคะแนนท่ี สว่ นเบีย่ งเบน
เพม่ิ ขึน้ มาตรฐาน (S.D.)
กอ่ นเรียน 10 4.82
หลังเรียน 10 8.10 68.05 2.12
1.65

จากตารางพบว่า คะแนนเฉล่ียของการทดสอบกอ่ นเรียนเทา่ กบั 4.82 คะแนน และคะแนนเฉลย่ี หลงั เรียน
เท่ากับ 8.10 คะแนน ซ่ึงมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เท่ากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมี
คะแนนสงู ขึ้นกวา่ เดิมโดยมีคะแนนความก้าวหน้าเมื่อเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนกบั คะแนนหลังเรียนคดิ เป็น
รอ้ ยละ 68.05 และมีสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานทลี่ ดลง

ตารางที่ 2 แสดงผลการทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี นโดยใชว้ ิธีการสอนแบบใช้แบบฝกึ นวตั กรรม

ท่ี ช่อื -สกลุ ทดสอบกอ่ น ทดสอบหลัง ความแตกต่าง
เรียน เรียน คา่ คะแนน

(10 คะแนน) (10 คะแนน)

1 35 2

2 68 2

3 57 2

4 47 3

5 56 1


6 48 4
7 57 2
8 36 3
9 25 3
10 7 9 2
11 5 7 2
12 2 6 4
13 4 6 2
14 8 10 2
15 3 5 2
16 3 7 4
17 5 8 3
18 4 6 2
19 5 7 2
20 5 6 1
21 4 8 4
22 5 6 1
23 3 6 3
24 5 7 2
25 2 5 3
26 4 5 1
27 4 6 2
28 2 5 3
29 3 5 2
30 5 7 2
31 5 6 1
32 3 5 2
33 3 6 3
34 5 9 4
35 6 8 2
36 3 6 3
37 7 8 1


38 57 2
39 47 3
40 59 4
4.82 8.10 3.28
คา่ เฉลี่ย

จากตารางที่ 2 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผลการทดสอบก่อนและหลงั เรียนนักเรยี นประถมศึกษาปีที่ 2/1 น้นั โดย
ใช้วธิ กี ารสอนแบบใช้แบบฝึกนวตั กรรมน้ัน นักเรียนทดสอบก่อนเรียนมคี า่ คะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 4.82 คะแนน
จากนนั้ ทดสอบหลังเรยี นมีค่าคะแนนเฉลย่ี เท่ากับ 8.10 คะแนน โดยนกั เรียนมีค่าคะแนนเฉล่ยี ที่เพ่มิ ขึ้น 3.28
คะแนน ซึ่งเป็นพฒั นาการของคะแนนเพ่ิมขนึ้ ค่อนข้างมากจากเดิม

ตารางท่ี 3 การหาคา่ ดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC)

ขอ้ คนท่ี 1 ความคิดเห็นผูเ้ ชีย่ วชาญ รวม ค่า แปลผล
คนท่ี 2 คนที่ 3 IOC

1 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้

2 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้

3 +1 0 +1 2 0.67 ใช้ได้

4 +1 0 +1 2 0.67 ใชไ้ ด้

5 +1 +1 +1 3 1.00 ใชไ้ ด้

6 +1 0 +1 2 0.67 ใช้ได้

7 +1 +1 +1 3 1.00 ใชไ้ ด้

8 +1 +1 +1 3 1.00 ใชไ้ ด้

9 +1 +1 +1 3 1.00 ใช้ได้

10 +1 +1 0 2 0.67 ใชไ้ ด้

ค่า IOC รวมทั้งหมด = 8.68
= 8.68/10 = 0.868

สรปุ ว่า แบบทดสอบการเรียนการสอนดงั กล่าวนัน้ ใช้ได้


บทที่ 5

สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั

1. เพ่ือพัฒนาวิธกี ารเรียนของนักเรยี นโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปี
ที่ 2/1 โดยมีเป้าหมายให้นกั เรยี นทุกคนมผี ลการเรียนผ่านเกณฑท์ ่กี ำหนด เรือ่ งการแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ข้ันตอน

2. เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี นให้ดีขึน้ และเปน็ แนวทางในการพฒั นาการสอน

สมมติฐานของการวิจยั

รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง : การสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรม สามารถทำให้
นกั เรียนบางสว่ นทไ่ี มเ่ ขา้ ใจบทเรยี นนั้น กลับมาเขา้ ใจบทเรยี นมากขน้ึ และเรยี นรไู้ ดม้ ากขนึ้ กวา่ คำอธิบายของครู

ประโยชนค์ าดวา่ จะได้รับ

1. ผลการการวิจัยครั้งนี้ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาการคำนวณและกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ
สามารถนำวิธกี ารการจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกนวตั กรรมเป็นฐาน ไปปรับใช้และประยุกต์ใช้ไดใ้ น กระบวนการ
เรยี นการสอนเพื่อพฒั นาใหผ้ ู้เรียนเกิดความสามารถในการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและแกไ้ ขปญั หาได้

2. นักเรียนทีไ่ ด้รบั การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมเป็นฐาน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
อย่างมีวจิ ารณญาณและแก้ไขปัญหาท่สี ูงขนึ้

เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
1. รปู แบบการเรยี นการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม
2. แบบบันทึกคะแนนประจำหนว่ ยและใบงาน
3. สมุดแบบฝกึ หดั และใบกิจกรรมของนักเรียน
4. แบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรยี น

กลุม่ ตวั อย่าง
กลมุ่ ตวั อย่าง คือ นกั เรียนระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 จำนวน 10 คน
ประชากร คือ นกั เรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 จำนวน 19 คน

การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แบ่งกลุม่ นักเรยี นออกเป็นกลมุ่ ในแต่ละกลมุ่ จะเฟน้ หานกั เรยี นทีเ่ กง่ และมีความรบั ผิดชอบ มีลักษณะเป็น
ผ้นู ำมอบหมายให้เป็นหวั หน้ากลมุ่ เพือ่ ชว่ ยในการกระตุน้ เพื่อนๆ ขณะทำกจิ กรรมการเรยี นรู้


2. ครูผู้สอนชแ้ี จงการเรยี นแบบใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรม โดยหลังจากครูสอนในแต่ละครั้งก็จะมอบหมายใหน้ ักเรียนทำ
แบบฝกึ หดั โดยนักเรียนน่งั ทำแบบฝึกหัดระดมสมองช่วยกนั คิด หากหัวข้อใดสมาชกิ ในกลมุ่ ไม่เข้าใจ ผู้ที่เข้าใจก็
จะช่วยกันอธิบายจนเพ่อื นเขา้ ใจ หากสมาชกิ ในกลมุ่ ยงั ไม่เข้าใจก็จะปรึกษาครูผ้สู อน
3. ครสู ังเกตการทำกิจกรรมของกล่มุ การชว่ ยกันแกป้ ญั หา ความสนใจ และความต้ังใจของสมาชิกในกลุ่ม
4. สงั เกตผลการทำแบบฝกึ หัดวา่ ดีขึน้ หรือไม่
5. สงั เกตการประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในแต่ละครั้ง
6. วัดผลการเรียนเมื่อส้นิ บทเรียน
7. ครชู ว่ ยสรุปการเรียนรู้ทง้ั หมดทน่ี กั เรียนปฏิบตั เิ ป็นความคดิ รวบยอด

สรุปผลการวจิ ัย
ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม มาใช้ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ

คำนวณ ผลปรากฎว่า คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 4.82 คะแนน และคะแนนเฉล่ียหลังเรียน
เท่ากับ 8.10 คะแนน ซ่ึงมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เท่ากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมี
คะแนนสูงขึ้นกว่าเดิมโดยมีคะแนนความก้าวหน้าเมื่อเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคดิ เป็น
รอ้ ยละ 68.05 และมีส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานที่ลดลง นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในรายวชิ าเพ่มิ ข้นึ อย่างเห็น
ได้ชัด และกิจกรรมกลมุ่ ของนกั เรียนทำใหเ้ กิดบรรยากาศท่ีดีและเอื้อตอ่ การเรียนการสอน ช่วยให้นกั เรยี นมีความ
กระตือรือร้นสนใจ ต้ังใจ และมีความรับผิดชอบต่อการเรียนมากข้ึน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียนมีความ
กระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา ช่วยสรา้ งความสามัคคีให้เกิดข้ึนในกลุ่ม รู้จักแก้ปัญหาร่วมกนั ทำงานเป็นทีมระดม
ความคิดของหลายคน ซึ่งแนวทางน้ีเหมาะสมในการแก้ปัญหาในชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี รวมถึงสามารถสร้าง
ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนวิชาวิทยาการคำนวณเป็นอย่างมาก ผลพฤติกรรมการทำงานและความรับผิดชอบของ
นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกนวัตกรรมจากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานและความ
รบั ผดิ ชอบของนักเรียน ทุกคนมีคะแนนพฤตกิ รรมการทำงานท่เี พมิ่ ขนึ้

อภิปรายผลการวจิ ัย

จากการศึกษาวิจัยพบว่าการสอนโดยวิธีใช้แบบฝึกนวตั กรรม ระหว่างนกั เรียนในรายวิชา ทำให้ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผเู้ รยี นมีพฒั นาการทดี่ ขี ึ้นอยา่ งเห็นไดช้ ัด ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลงั การจดั การเรียนรู้
แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม มีคะแนนเฉล่ียสูงขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนเรียนและเทียบกับเกณฑ์ ทั้งนี้อาจเน่ืองมาจาก
การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม เป็นกิจกรรมที่ให้โอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองตาม
แนวคิดการสร้างความรู้ นำมาใช้ในการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้ผู้เรียนได้คิด ได้สร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง การวิจัยคร้ังน้ียังสอดคล้องกับประพันธ์ศิริ สุเสารัจ (2558:48), ซึ่งกล่าวว่าการคิดวิเคราะห์
เป็นการจำแนกแยกแยะข้อมูลองค์ประกอบของส่ิงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ เรื่องราว เหตุการณ์ต่าง ๆ ออกเป็น


สว่ นย่อย ๆ เพ่ือค้นหาความจรงิ ความสำคัญ แก่นแท้องค์ประกอบหรือหลักการของเรอ่ื งนั้น ๆ ทั้งที่อาจแฝงซ่อน
อยภู่ ายในส่ิงตา่ ง ๆ หรอื ปรากฏไดอ้ ย่างชดั เจนรวมทงั้ หาความสัมพนั ธ์และความเชือ่ มโยงของสงิ่ ต่าง ๆ วา่ เกี่ยวพัน
กันอย่างไร อาศัยหลกั การใดจนได้ความคิดเพ่ือนำไปสู่การสรปุ การประยุกต์ใช้ การทำนาย หรือคาดการณ์ส่ิงตา่ ง
ๆ ได้อย่างถูกต้อง และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ชัยยศ สมาผล (2559) ท่ีพบว่าความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ หลังการจัดการเรียนรู้แบบใช้แบบฝึกนวัตกรรม มีคะแนนเฉลี่ยสูงข้ึนเม่ือเทียบกับก่อนเรียนและเทียบ
กบั เกณฑ์

จากการท่ีครูจะกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติและตรวจสอบความถูกต้อง วิธีการเช่นน้ีจะทาให้หลักสูตรมี
ความหมายมากขึ้น บทเรียนไม่จำเปน็ ต้องจบลงด้วยคำตอบท่ีถูก แต่ควรจะเปน็ คำตอบที่สามารถขยายผลไปสู่การ
ต้ังคำถามของผู้เรียนต่อไป เพราะแนวคิดสมัยใหม่มองว่าความคิดของนักเรียนมีคุณค่า นักเรียนจะใช้พัฒนา
ความหมายของตัวเองแทนการถา่ ยโอนความรจู้ ากครู โดยจะเนน้ การคิดเชิงวพิ ากษ์มากกวา่ ขอ้ มูลทีเ่ ปน็ ข้อเทจ็ จรงิ

กิจกรรมการเรียนควรมีความหมายและน่าสนใจให้กับนักเรียน พวกเขาควรได้รับอนุญาตในการสร้าง
พัฒนาและประยกุ ต์ใช้ความรู้หรือทักษะเพ่ิมเติม พวกเขาควรจะมีทางเลอื กและได้รับโอกาสที่จะเป็นนักวางแผน
และผู้มีอำนาจตัดสินใจ กิจกรรมควรจะสรา้ งข้ึนที่ช่วยให้นักเรียนท่ีจะใช้ประโยชน์จากความรู้ในสถานการณ์ใหม่
นักเรียนควรจะเปน็ การสนับสนนุ ในการหาคำตอบสำหรับคำถามของตวั เองโดยใช้การวิเคราะห์และปฏบิ ัติเอง

ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะจากการวจิ ัยในครง้ั น้ี
1.1 ครูผู้สอนในวิชาควรใช้กระบวนการใช้แบบฝึกนวัตกรรมมาจัดกระบวนการเรียนรู้ในหน่วยเนื้อหาที่

ต้องการ และการเรยี นการสอนในยุคใหม่ไมเ่ พียงแต่สอนนักเรยี น แตย่ งั ต้องดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับพวกเขา
ด้วยกระบวนการของการเรียนรผู้ า่ นการแก้ปญั หาเป็นขั้นตอนสำคญั

1.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ควรสนับสนุนให้ครูในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ นำกระบวนการเรียนรู้แบบใช้
แบบฝกึ นวตั กรรมไปจดั กระบวนการเรียนรู้และสรา้ งแบบฝึกนวัตกรรมการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ

1.3 ควรทำวิจัยเปรียบเทียบระหว่างการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบปกติกับการจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบใชแ้ บบฝกึ นวัตกรรมหรือทำแบบทดสอบเพ่ิมได้จริง

2. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การวิจัยคร้งั ตอ่ ไป
2.1 ควรมกี ารศึกษาวิจัยตัวแปรอนื่ ๆ ในการจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสานโดยใช้นัวตกรรมเพ่มิ เติม
2.2 ควรทำการวจิ ัย ผลดีและผลเสียของการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบใช้แบบฝึกนวัตกรรมว่า ในด้านใด
จะช่วยพัฒนาการเรียนรไู้ ด้ดีกว่า การเรียนรู้ลักษณะน้จี ะชว่ ยใหค้ รูผ้สู อนท่ีจะทาให้ก้าวกระโดดจากทฤษฎไี ปสู่การ
ปฏิบัติท่ีประสบความสำเรจ็
2.3 ข้อมูลจากการวิจัยครั้งน้ี จะเป็นแนวทางให้ครูสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้โดยการลงมือปฏิบัติ
เช่นเดยี วกับการเชญิ ชวนใหน้ กั เรียนรว่ มลงมือกับครูดว้ ยครจู ะอาศัยโอกาสดงั กลา่ วนใ้ี นการสงั เกตการณ์การทางาน
และรว่ มแบง่ ปนั ประสบการณท์ คี่ ้นพบด้วยกนั


บรรณานกุ รม

ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2556). เอกสารการสอนชดุ วิชาสือ่ การสอนระดบั ปะถมศกึ ษา หน่วยที่ 2 การสอน
ระดบั ประถมศกึ ษา. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สุโขทัย ธรรมาธริ าช.

พมิ พ์วิไล ถนดั ช่าง. (2557, มถิ ุนายน). “การสอนแบบใชแ้ บบฝกึ นวตั กรรม”, วารสารแนะแนว. 135:25.
กมลรตั น หล้าสุวงษ. (2558). จติ วิทยาการศกึ ษาภาควิชาแนะแนวและจติ วิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ:

คณะศกึ ษาศาสตรมหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.
----------. กระทรวงศกึ ษาธิการ (2559). หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพ :

โรงพิมพ์องค์การรับสง่ สินค้าและพสั ดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
----------.กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). สาระและมาตรฐานการเรยี นรใู้ นหลักสตู รการศึกษาข้ัน

พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพ : โรงพมิ พ์องค์การรบั สง่ สนิ คา้ และพสั ดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
วมิ ลรัตน์ สนุ ทรโรจน.์ (2559). กระบวนการเรยี นรโู้ ดยแบบฝึกนวตั กรรม. ภาควิชาหลกั สูตรการสอน.

มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ฐิติพร ดวงจิตร. (2560). การพัฒนาชุดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาการคำนวณสำหรับนกั เรยี นช่วงช้นั ท่ี 2 โดยใช้รปู แบบใชแ้ บบฝกึ นวตั กรรม. ปริญญา
นพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.
---------- . (2560). การใชแ้ บบฝึกนวัตกรรมเพ่ือการทำงานและการจดั การเรียนรู.้ กรงุ เทพฯ : นิชิน
แอดเวอร์ไทซง่ิ กร๊ฟู .
วฒั นา ทวพี รสวรรค์. แบบฝกึ นวตั กรรมแนวการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษา. นครราชสีมา :สำนักงาน
เขตพ้นื ที่การศกึ ษา นครราชสมี า เขต 1, 2560.


ชนาธิป พรกุล. (2560). รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง. กรงุ เทพฯ :
สำนักพิมพ์ แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. (2561). รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นาโรงเรยี นต้นแบบ
การพัฒนาการใช้แบบฝึกนวัตกรรมเพอื่ เรียนรู้. กรงุ เทพ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่.

มลิวลั ย์ สมบญุ ญา. (2561). เอกสารประกอบการสอนรายงานการวิจัย. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช.

สกุ ญั ญา อิม่ ใจ. (2562). การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ระหวา่ งการ
เรียนรู้แบบรว่ มมือกนั เรียนรดู้ ้วยแบบกลุ่มแบบ STAD กบั แบบใชแ้ บบฝกึ นวตั กรรม.
วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข. (2562). แผนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปนศูนยกลาง (พมิ พครั้งท่ี 2). กรงุ เทพฯ:
ม.ป.ท. : มหาวิทยาลยั เกรกิ .

Morgan, Clifford T. (2016). “Innovation and Problem Solving”. A Brief Introduction to
Psychology. 2nd ed. New Delhi Tata McGrew-Hill.co.

Piaget, J. (2016). The Origins of Intelligence in Children. New York : W.W.Norton. Polya,
George. (2016). How to solve it. San Francisco : Stanford University.
Carman ,Jared M. (2017). BLENDED LEARNING DESIGN: FIVE KEY INGREDIENTS. [Online].

Accessed 8 September 2016. Available from: http://www.agilantlearning.com/
pdf/Blended%20Learning%20Design.pdf
Rauly, Benjamin S. (2018). Taxonomy of educational objective handbook 1 : cognitiwe
domain. London : Longman.
Kare, John. (2019). Innovation of Education. New York : Philosophical Library.


ภาคผนวก


แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1

วิชาวทิ ยาการคำนวณพน้ื ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2
เรือ่ งการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นขนั้ ตอน เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด

1.1 ตัวช้ีวัด
ว 4.2 ป. 2/1 แสดงลำดับขัน้ ตอนการทำงานหรอื การแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์
หรือข้อความ

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายวธิ กี ารแกป้ ญั หาเบื้องต้นแตล่ ะข้นั ตอนได้ (K)
2. เขียนขั้นตอนการแกป้ ัญหาเบอ้ื งต้นได้ (P)
3. สนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษา (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
-
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- การแสดงขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทำได้โดย
การเขียนบอกเล่า วาดภาพ หรอื ใช้สัญลกั ษณ์
- ปญั หาอยา่ งง่าย เช่น เกมตัวต่อ 6-12 ชิน้
การแตง่ ตัวมาโรงเรียน

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

ในชวี ติ ประจำวันจะตอ้ งพบเจอปัญหาต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ การไปโรงเรยี นสายหรอื การลมื จดั กระเป๋า
นักเรยี น ดังนนั้ จงึ ตอ้ งมีการเรียนรู้ขัน้ ตอนการแกป้ ญั หาเบ้ืองต้น เพอื่ ให้สามารถแก้ปัญหาได้อยา่ งถูกต้อง ถูก
วธิ ี และรวดเร็ว

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั รบั ผดิ ชอบ

- ทักษะการส่ือสาร 2. ใฝ่เรยี นรู้

2. ความสามารถในการคิด 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน


สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
- ทักษะการคิดเชงิ คำนวณ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการแก้ปญั หา
- ทกั ษะการสงั เกต
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

6. กิจกรรมการเรยี นรู้

วธิ กี ารสอนโดยเนน้ การจดั การเรียนรู้แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (problem- based learning)

ขนั้ นำ

1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ขั้นตอน
เพ่ือวดั ความรูเ้ ดมิ ของนักเรียนกอ่ นเข้าส่กู ิจกรรม

2. ครถู ามคำถามกระตุ้นความสนใจของนกั เรยี นว่า“ถ้านักเรยี นมาโรงเรยี นสายทกุ วันและ
นักเรียนต้องการจะไปโรงเรยี นใหท้ นั เวลาต้องทำอยา่ งไร”
(แนวตอบ : พจิ ารณาคำตอบของนกั เรียน โดยขนึ้ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของครผู สู้ อน)

3. ครถู ามคำถามเพื่อเชื่อมโยงเขา้ สบู่ ทเรียนวา่ “นักเรียนคดิ ว่าการหาขอ้ มลู เข้ามีความสำคัญ
ตอ่ การแกป้ ัญหาอยา่ งไร”
(แนวตอบ : ข้อมูลมีส่วนสำคัญ เพราะถ้ามขี อ้ มลู ที่ดี มคี วามสมบูรณ์ก็จะชว่ ยให้ทราบถงึ
สาเหตุของปญั หา และนำมาซึ่งการแก้ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างถูกตอ้ ง รวดเร็ว และได้ผลลัพธ์
ตามท่ีต้องการ)

ข้ันสอน

ขน้ั ที่ 1 กำหนดปัญหา
1. ครูถามนักเรยี นวา่ “ในชวี ติ ประจำวันนกั เรียนพบปญั หาอะไรบ้างและนกั เรยี นมีวิธกี ารแกไ้ ข
ปัญหาอย่างไร”
(แนวตอบ : พจิ ารณาคำตอบของนักเรียน โดยข้นึ อยู่กบั ดลุ ยพนิ จิ ของครูผูส้ อน)
2. ให้นกั เรยี นเขยี นปัญหาทีส่ ำคัญท่ีสุดของตนเองพร้อมบนั ทึกลงในกระดาษโนต้

ข้ันท่ี 2 ทำความเข้าใจปญั หา
3. นักเรียนแต่ละคนวเิ คราะหถ์ ึงสภาพปัญหาและแนวทางการแกไ้ ขปัญหาของตนเอง แล้วบนั ทกึ
ลงในกระดาษโนต้ (ใบเดิม)

ขั้นท่ี 3 ดำเนินการศกึ ษาคน้ คว้า


4. นกั เรียนศึกษาข้ันตอนการแกป้ ัญหาเบือ้ งต้นทั้ง 4 ขั้นตอนจากหนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐาน
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 การแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นขั้นตอน
ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยข้ันตอนดังน้ี
- พจิ ารณาและทำความเข้าใจปญั หา
- วางแผนการแก้ปัญหา
- ลงมอื แก้ปญั หา
- ตรวจสอบผลการแกป้ ญั หา

5. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ ถึงรายละเอียดของข้นั ตอนการแกป้ ัญหาเบอ้ื งต้น ดงั นี้
1. พจิ ารณาและทำความเข้าใจปัญหา คือ การวเิ คราะหว์ ่าปัญหาคืออะไร มขี ้อมูล และ
เงอื่ นไขอะไรบา้ งที่เก่ียวข้องกบั ปัญหานน้ั ๆ
2. วางแผนการแกป้ ัญหา คือ การกำหนดวธิ ีการแกป้ ัญหาและผลลพั ธท์ ี่ตอ้ งการ
3. ลงมือแก้ปัญหา คือ การแก้ปญั หาตามแนวทางท่ีได้วางแผนไว้ใหป้ ระสบความสำเร็จ
ตามที่ตอ้ งการ
4. ตรวจสอบผลการแกป้ ัญหา คือ การตรวจสอบผลลพั ธ์ทีไ่ ดว้ า่ ตรงตามแนวทางการแกไ้ ข
หรือไม่ หากผลลพั ธ์ไม่เป็นไปตามแนวทางใหด้ ำเนนิ การปรับปรงุ ข้นั ตอนการแก้ปัญหาอกี ครง้ั

6. เปดิ โอกาสให้นักเรียนศกึ ษาสถานการณก์ ารแกป้ ัญหาจากตัวอยา่ งในหนงั สือเรียนทวี่ เิ คราะห์
ตามขั้นตอนการแก้ปัญหาเบอ้ื งตน้ โดยใหน้ ักเรยี นทำความเขา้ ใจกับสถานการณ์การแกป้ ัญหา
อยา่ งเป็นข้นั ตอน เรมิ่ จากการพิจารณาและทำความเข้าใจปัญหาของสถานการณ์ โดยวเิ คราะห์
วา่ ปญั หาคืออะไร มีข้อมูลหรือเงอ่ื นไขใดบา้ งที่เกย่ี วขอ้ ง จากน้ันศกึ ษาข้นั ตอนการวางแผน
การแก้ปัญหาว่ามีการกำหนดหรือการจดั ลำดบั ข้ันตอนเพอ่ื แกป้ ญั หาอยา่ งไร มวี ิธกี ารลงมือ
แกป้ ัญหาใหป้ ระสบความสำเรจ็ ตามทก่ี ำหนดไวไ้ ด้หรอื ไม่ และศึกษาวิธีการตรวจสอบผล
การแกป้ ัญหาว่าผลลพั ธ์ท่ไี ดเ้ ปน็ ไปตามแนวทางการแกป้ ัญหาที่วางไวห้ รือไม่

7. ครอู ธบิ ายเกรด็ นา่ รใู้ นการแก้ปญั หาต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันว่า“ในการแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ
จำเปน็ ต้องใช้ทักษะการคิดเชงิ คำนวณมาชว่ ยในการดำเนินการ เพราะจะชว่ ยให้ลงมือ
แกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ได้ง่ายข้ึน และได้ผลลัพธต์ ามที่ต้องการ”

ข้นั ที่ 4 สังเคราะหค์ วามรู้
8. ครูให้นกั เรยี นทำกิจกรรมฝึกทกั ษะการแกป้ ญั หาในหนงั สือเรยี น โดยให้นักเรียนวเิ คราะห์
สถานการณ์ และอธิบายวธิ ีการแก้ปัญหาแตล่ ะข้ันตอนลงในสมดุ ประจำตวั
9. ครูสุ่มนกั เรียน 1-2 คน ออกมาอธิบายวิธกี ารแกป้ ัญหาหนา้ ช้ันเรยี น

ขัน้ ท่ี 5 สรปุ และประเมนิ คา่ ของคำตอบ
10. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนซักถามข้อสงสัย และครูใหค้ วามรเู้ พมิ่ เติมเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ

มากย่งิ ขน้ึ
11. ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นทำใบงานท่ี 1.1.1 เรอ่ื ง แกป้ ญั หากนั ดกี วา่ โดยให้นักเรียน


บอกปญั หาทน่ี กั เรยี นพบในชีวิตประจำวัน และเขียนอธบิ ายวธิ กี ารแกป้ ญั หาเบอื้ งตน้
แต่ละข้นั ตอนให้ชัดเจน และนำมาสง่ ในชัว่ โมงถดั ไป
ข้นั ท่ี 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
12. ครปู ระเมินผลโดยการสังเกตการตอบคำถาม การทำใบงาน และสมดุ ประจำตวั
13. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานที่ 1.1.1 และกจิ กรรมฝกึ ทักษะ

Note
วตั ถปุ ระสงค์ของกิจกรรมเพอ่ื ให้นักเรียน
- มที ักษะการแก้ปญั หาท่ีนักเรียนพบในชีวติ ประจำวนั และเขยี นขน้ั ตอน

การแก้ปัญหาเบอื้ งต้นไดอ้ ยา่ งชดั เจนโดยใช้การคิดเชิงคำนวณ
- มีทกั ษะการสอ่ื สาร โดยการตอบคำถามและการอธิบายวิธีการแก้ปัญหา

จากกิจกรรมฝึกทักษะในหนังสอื เรยี น
- มที ักษะการสงั เกต โดยเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ศึกษาตวั อย่างสถานการณ์

การแกป้ ัญหาทวี่ เิ คราะหต์ ามข้นั ตอนการแกป้ ญั หาเบ้ืองตน้ จากหนังสอื เรยี น

ขัน้ สรุป

1. ครใู หน้ กั เรยี นนำกระดาษโนต้ ทไ่ี ดบ้ อกถึงผลการวเิ คราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไข
ปัญหาของตนเองมาแปะบนกระดานหน้าชัน้ เรยี น

2. จากนั้นครูส่มุ กระดาษโนต้ จำนวน 2-3 ใบ โดยให้เจ้าของผลงานออกมานำเสนอแนวทาง
การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หาหนา้ ช้นั เรยี น โดยครใู หข้ ้อเสนอแนะ
เพ่ิมเตมิ เพื่อใหน้ กั เรียนมแี นวทางในการแก้ไขปญั หาทีถ่ ูกตอ้ งมากยงิ่ ขึ้น

3. นกั เรยี นและครูสรุปร่วมกันว่า“คนเราทุกคนยอ่ มมีปัญหาทแี่ ตกตา่ งกันอย่างหลากหลาย
บางปญั หาสามารถแกไ้ ขได้ บางปญั หาไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ ดงั นนั้ เมอื่ พบปญั หาควรมสี ติ
ในขณะทลี่ งมือแกไ้ ขปัญหาโดยใช้วธิ กี ารแก้ปัญหาท่ีเหมาะสมและถกู วิธกี ็จะทำให้ปญั หา
ทเ่ี กดิ ข้นึ สามารถแก้ไขได้อย่างสมบรู ณ์”


7. การวัดและประเมินผล วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

รายการวดั

7.1 การประเมินกอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
- แบบทดสอบก่อนเรยี น ก่อนเรียน กอ่ นเรียน
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1
เรอ่ื ง การแก้ปัญหา
อยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน

7.2 การประเมินระหวา่ งการ - ใบงานที่ 1.1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
จัดกจิ กรรม
1) แกป้ ญั หากนั ดกี วา่ - ตรวจใบงานที่ 1.1.1

2) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2

รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์

3) คุณลักษณะ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
อนั พงึ ประสงค์ ความรับผิดชอบ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ัน อันพงึ ประสงค์
ในการทำงาน

8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้

8.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนังสอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1
เรอ่ื ง การแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ข้ันตอน
2) ใบงานที่ 1.1.1 เรือ่ ง แก้ปัญหากันดีกวา่
3) กระดาษโนต้

8.2 แหลง่ การเรยี นรู้
หอ้ งสมุด


บตั รภาพ


ใบงานที่ 1 แก้ปญั หากันดกี วา่

ชอื่ ชัน้ เลขที่
คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนบอกปญั หาทน่ี กั เรยี นพบในชวี ิตประจำวัน และเขยี นขนั้ ตอนการแก้ปัญหาเบอื้ งตน้

ให้ชดั เจน

ปญั หาท่ีนักเรียนพบในชีวติ ประจำวันคอื

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

มขี ั้นตอนการแกป้ ัญหาเบื้องตน้ ดังน้ี

1.พจิ ารณาและทำความเข้าใจปัญหา 2.วางแผนการแก้ปญั หา

…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

4.ตรวจสอบผลการแกป้ ญั หา 3.ลงมอื แก้ปญั หา

…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………


เฉลย ใบงานที่ 1 แกป้ ญั หากันดกี ว่า

ชอ่ื ชัน้ เลขที่
คำชี้แจง : ให้นักเรยี นบอกปญั หาท่ีนกั เรยี นพบในชวี ิตประจำวนั และเขยี นขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาเบ้ืองตน้

ให้ชดั เจน

ปญั หาทน่ี กั เรยี นพบในชีวติ ประจำวันคือ
.....................................................................ม...า..โ.ร..ง..เ.ร..ยี..น...ส..า..ย.....................................................................
................................................................................................................................................................

มีข้ันตอนการแก้ปญั หาเบอื้ งตน้ ดังน้ี

1.พิจารณาและทำความเข้าใจปญั หา 2.วางแผนการแก้ปญั หา

…ม…าโ…ร…งเ…รยี …น…ส…าย…เ…พ…รา…ะ…ไ…ม่ย…อ…ม…ทำ…ก…า…รบ…า้ …น………… …ร…บี …ท…ำก…า…รบ…า้ …นห…ล…ัง…จา…ก…เล…กิ …เร…ีย…น…แ…ละ…เข…้า…น…อน…เ…รว็ …
…ห…ล…งั จ…า…กเ…ล…ิกเ…รยี…น…จ…ึง…ทำ…ใ…ห้ต…้อ…ง…นอ…น…ด…ึก…แล…ะ…ท…ำใ…ห…้ …จ…ะ…ทำ…ใ…ห้ม…า…โร…ง…เร…ียน…ไ…ด้ท…นั …เ…วล…า…………………………
…ม…าโ…ร…งเ…รยี …น…ส…าย……………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

4.ตรวจสอบผลการแก้ปญั หา 3.ลงมอื แกป้ ญั หา

…ต…รว…จ…ส…อบ…ผ…ล…วา่…เม…อื่ …เข…า้ …น…อน…เ…รว็ …จ…ะท…ำ…ให…้ …………… …ลง…ม…อื …แก…ป้ …ญั …ห…าต…า…ม…แน…ว…ท…าง…ท…กี่ …ำห…น…ด…………………
…ม…าโ…ร…งเ…รีย…น…ได…้ท…นั …เว…ลา…ห…ร…ือไ…ม…่ ถ…า้ ห…า…ก…ไม…ท่ …นั ………… ……………………………………………………………………
…จ…ะต…อ้ …ง…หา…ว…ธิ ีก…า…รแ…ก…ไ้ ข…ป…ญั …ห…า…ตอ่ …ไ…ป…………………… ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

……………………………………………………………………

……………………………………………………………………


ใบงานที่ 2 การแสดงขัน้ ตอนการแกป้ ญั หา

ช่ือ ชน้ั เลขท่ี
คำช้ีแจง : ให้นักเรียนแสดงลำดบั ขัน้ ตอนการทอดไข่เจยี วโดยการเขียนบอกเล่า และการวาดภาพ

ข้ันตอนการทอดไข่เจยี วโดยการเขยี นบอกเล่า

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ข้นั ตอนการทอดไข่เจียวโดยการวาดภาพ


เฉลย ใบงานที่ 2 การแสดงขน้ั ตอนการแก้ปญั หา

ช่อื ชนั้ เลขที่
คำช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนแสดงลำดับขัน้ ตอนการทอดไข่เจยี วโดยการเขยี นบอกเล่า และการวาดภาพ

ข้ันตอนการทอดไขเ่ จยี วโดยการเขยี นบอกเลา่

..........................................................................................................................................................
....1.....ต..อ...ก..ไ.ข..ใ่.ส..่ช...า.ม.................................................................................................................................
....2.....ใ..ส..่เ.ค..ร..อ่ื ..ง.ป...ร..ุง.ร..ส..ท..ี่ต...้อ..ง.ก..า..ร................................................................................................................
....3.....ต..ีไ..ข..ผ่ ..ส..ม..ใ..ห..้เ.ข..า้..ก..ัน...........................................................................................................................
....4.....ต..ัง้..ก..ร..ะ..ท..ะ..เ.ท...น..ำ้ ..ม..นั ..........................................................................................................................
....5.....น...ำ.ไ..ข..ล่ ..ง.ใ..น..ก..ร..ะ..ท..ะ...........................................................................................................................
....6.....ก..ล..บั...ด..า้ ..น..ไ.ข..่..................................................................................................................................
....7.....ต..ัก..ใ..ส..่จ..า..น..เ.ส..ริ..์ฟ...............................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

ข้ันตอนการทอดไข่เจียวโดยการวาดภาพ 3

12

4

7 65


แบบทดสอบ

ช่ือ ชน้ั เลขท่ี

คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ กู ตอ้ งทีส่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ขน้ั ตอนการแกป้ ญั หาเบ้อื งตน้ 6. เมอื่ พบปญั หาควรทำส่ิงใดเปน็ ขั้นตอนแรก

ก. วางแผนการแกป้ ญั หา ก. ลงมอื แก้ปัญหา

ข. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ข. พจิ ารณาและทำความเข้าใจปญั หา

ค. ลงมือแก้ปัญหา ค. วางแผนการแก้ปัญหา

2. ขัน้ ตอนในข้อใด คือ ขัน้ ตอนการตรวจสอบว่า 7. เมอื่ ลงมือแก้ปัญหาแล้วควรทำสง่ิ ใดเปน็ ข้นั ตอนตอ่ ไป

ปัญหาคอื อะไร ก. จบการแกป้ ญั หา

ก. พิจารณาและทำความเขา้ ใจปญั หา ข. ตรวจสอบผลการแก้ปัญหา

ข. วางแผนการแก้ปญั หา ค. แกป้ ัญหาอื่นตอ่ ๆไป

ค. ลงมือแก้ปัญหา 8. สญั ลกั ษณ์ทิศทางข้อมลู เป็นแบบใด

3. ข้อใด ไม่ใช่ การแสดงขน้ั ตอนการแกป้ ญั หา ก.

ก. การพดู บรรยาย ข.
ข. การวาดภาพ
ค. การใช้สญั ลกั ษณ์ ค.
4. ขอ้ ใด ไม่ใช่ สญั ลกั ษณ์ของผังงานอยา่ งง่าย 9. การใช้สัญลกั ษณ์ในการแสดงขัน้ ตอนการแก้ปญั หา
ก.
นยิ มใชก้ ับข้อใด
ข. ก. ผงั ความคดิ
ข. แผนภาพ

ค. ค. ผังงาน

5. สัญลกั ษณใ์ นข้อใดหมายถึงการเรมิ่ ตน้ 10. เม่อื เลน่ เกมตวั ต่อควรทำส่ิงใดเป็นข้ันตอนแรก

หรอื ส้ินสดุ การทำงาน ก. แยกตวั ตอ่ ตามโทนสีทคี่ ล้ายกันเอาไว้ในกล่มุ

ก. เดยี วกัน

ข. ข. ตอ่ ตวั ต่อที่เป็นส่วนดา้ นขอบก่อน
ค. ต่อตวั ตอ่ จนครบ

ค.

เฉลย
1. ข 2. ก 3. ก 4. ค 5. ข 6. ข 7. ข 8. ก 9. ค 10. ก


แบบประเมนิ คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของนักเรียน

ประกอบหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 แผนการเรียนร้ทู ี่ 1

คำชแ้ี จง ครสู งั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น และการปฏบิ ัตงิ านของนกั เรยี น แล้วขีด / ให้คะแนนลงในชอ่ ง ทต่ี รง

กบั พฤตกิ รรมของนกั เรยี น

คณุ ลกั ษณะที่ประเมนิ

ความสนใจ ความ ความมี ความรบั ผดิ การตรงต่อ สรุปผล

และ ซือ่ สตั ย์ ระเบียบ ชอบ เวลาในการ การประเมนิ

เลขที่ ใฝ่รู้ ต่องาน ทำงาน

ใฝ่เรยี น

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 ผา่ น/ไม่

ผา่ น

1✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผ่าน

2 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผา่ น

3✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 ผา่ น

4 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน

5✓ ✓✓ ✓✓ 13 ผา่ น

6✓ ✓ ✓ ✓✓ 14 ผา่ น

7 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 ผ่าน

8✓ ✓ ✓ ✓✓ 14 ผ่าน

9 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 ผ่าน

10 ✓ ✓ ✓ ✓✓ 14 ผา่ น

เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ท่ผี ่านเกณฑป์ ระเมินตอ้ งได้คะแนน 12 คะแนนขนึ้ ไป ถอื ว่าผ่าน

ลงชือ่ ผู้ประเมิน
(…………........…………………………………..)


แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี นรายบคุ คล

ชื่อ ชัน้ เลขที่
คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่องท่ี

ตรงกับระดบั คะแนนท่ีกำหนด

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
321

1 การแสดงความคิดเหน็
2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่น
3 การทำงานตามหนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
4 ความมนี ำ้ ใจ
5 การตรงต่อเวลา

รวม

ลงชอ่ื ...................................................ผ้ปู ระเมนิ

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน
ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ

12 - 15 ดี

8 - 11 พอใช้

ตำ่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ


แบบแสดงความคิดเหน็ ของผ้ทู รงคุณวุฒทิ ่ีมตี ่อแบบทดสอบการประเมินผลตามจดุ ประสงค์

คำช้ีแจง ขอให้ท่านผู้เช่ียวชาญได้กรุณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อแบบทดสอบการประเมินผลตาม
จดุ ประสงค์ โดยใสเ่ ครื่องหมาย ( ✓) ลงในช่องความคิดเห็นของทา่ นพร้อมเขียนขอ้ เสนอแนะที่เป็นประโยชนใ์ น
การนำไปพิจารณาปรับปรงุ ต่อไป

+1 คือ แน่ใจ ว่าขอ้ สอบนัน้ สอดคล้องกบั ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู/้ วัตถปุ ระสงคท์ กี่ ำหนด

0 คอื ไม่แน่ใจ วา่ ขอ้ สอบนัน้ สอดคลอ้ งกบั ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นร/ู้ วตั ถุประสงค์ท่ีกำหนด

-1 คอื แนใ่ จ ว่าขอ้ สอบนน้ั ไม่สอดคล้องกับตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนร้/ู วตั ถุประสงค์ทก่ี ำหนด

รายการขอความคิดเห็น ความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ
ไม่
1. ความสอดคล้องเหมาะสมกบั หลักสตู ร
2. ความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั ธรรมชาติวิชา เหมาะสม ไม่แนใ่ จ เหมาะสม
3. ความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับวยั ของผเู้ รยี น
4. ความสอดคล้องเหมาะสมกบั สภาพปัจจุบันและ 1 0 -1
ปัญหา
5. ความเหมาะสมต่อกระบวนการพฒั นาผ้เู รียน
6. ความเหมาะสมของเนื้อหา
7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร
8. ความเหมาะสมของการใชภ้ าษา
9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน
10.ความเหมาะสมของรูปแบบ

ขอแสดงความขอบคณุ อย่างยง่ิ
............................................
(..............................................)


ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของข้อสอบกับตวั ช้วี ัด/ผลการเรียนร/ู้ วัตถปุ ระสงค์

จากผเู้ ชยี่ วชาญ

คะแนนความเหน็ ของ สรุปผล

ตวั ชี้วดั / ขอ้ สอบขอ้ ที่ ผู้เชี่ยวชาญ รวม IOC

ผลการเรยี นรู้ คนที่1 คนท่ี2 คนท่ี3


9.บันทกึ หลังจัดการเรยี นรู้

9.1 ผลความรู้ทีเ่ กดิ ขนึ้ กับนักเรยี น (K) นักเรียนรอ้ ยละ 84 มีความเขา้ ใจในบทเรยี นและ

สามารถอธบิ ายเนอื้ หาได้อยา่ งถูกตอ้ ง และสามารถสอ่ื สารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทั้งปฏบิ ัติกจิ กรรมตาม

เน้ือหาการเรียนรู้ทก่ี ำหนดให้ไดอ้ ย่างถกู ต้อง เกดิ ความรู้ความเข้าใจท่ีคงทนคิดวิเคราะหไ์ ด้

9.2 กระบวนการ/สมรรถนะ (P) นักเรียนรอ้ ยละ 83 มีความสามารถในการเรียนรู้

บทเรียนและสามาถสรา้ งแนวคดิ จากกระบวนการสอนมาเป็นความเข้าใจของตนเองไดอ้ ย่างดี มีทกั ษะการคิด

วิเคราะห์ท่ีดี และสามารถสงั เคราะห์ความคิดจากความเข้าใจของตนเองออกมาได้ สามารถอธิบายได้

9.3 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของนกั เรยี น (A) นกั เรียนรอ้ ยละ 91 มีวินัยในการเรยี นรู้

มคี วามรบั ผดิ ชอบในการทำงานรว่ มกนั และงานส่วนตัวท่ไี ด้รับมอบหมายจากครูผ้สู อน มมี ารยาทให้ห้องเรียน ตงั้ ใจ
เรียน และใหค้ วามเคารพครผู ู้สอนขณะทำการเรียนการสอน และมคี ุณลักษณะของผู้เรยี นทด่ี ีตามคุณลักษณะทพ่ี งึ
ประสงค์ตามหลักสตู ร

ลงชอื่ ............................................................ ลงชอื่ ............................................................
(นางสาววาสนา จนั ทรเ์ จริญ) (นางวิลาวรรณ คำพิลา)
ครผู ู้สอน หัวหน้ากลุม่ สาระฯ


Click to View FlipBook Version