The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 110 วิภาดา ไชยโชค, 2024-01-29 07:31:53

นางสาววิภาดา ไชยโชค

แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา


ข ก


1 เรื่อง สารบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 - ประวัติผู้จัดทำ 2 - ประวัติการศึกษา 3 - ประวัติสถานศึกษา 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 16 2.1 ด้านการเรียนการสอน 17 - สภาพการจัดการเรียนการสอน 17 - การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 18 - การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน 19 - ตารางสอน - ตารางวิเคราะห์หลักสูตร เทอม 1 - ตารางวิเคราะห์หลักสูตร เทอม 2 - ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 21 22 26 28 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ 43 - โครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ - คำอธิบายรายวิชาภาษาจีน 3 เทอม 1 - เกณฑ์การเก็บคะแนนรายวิชาภาษาจีน 3 เทอม 1 - คำอธิบายรายวิชาภาษาจีน 4 เทอม 2 - เกณฑ์การเก็บคะแนนรายวิชาภาษาจีน 4 เทอม 2 - วิจัยในช ั้นเรียน 44 45 47 49 51 52 ส่วนที่ 4 การปฏิบัติตน - ตารางนิเทศการสอน - ปฏิทินกิจกรรม Eng-Thai-Chi - คำสั่งการปฏิบัติงาน 53 54 55 56 ภาคผนวก ค าสั่งแต่งตั้ง 57 - กิจกรรมที่เข้าร่วม - คำสั่งโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี - เกียรติบัตรที่ได้รับ 58 81 93 ข


2 1


3 2


4 ระดับการศึกษา สาขาวิชา สถานศึกษา ปีการศึกษา ระดับประถมศึกษา - โรงเรียนบ้านหนองขาม 2550-2555 ระดับมัธยมศึกษา วิทย์-คณิต โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร 2556-2561 ระดับปริญญาตรี การสอนภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี 2562-2567 ประวัติการศึกษา 3


5 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โรงเรียน มัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี สังกัด สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 9 เทศบาลนครอุดรธานี ที่ตั้ง 237/4 ถนนอุดรดุษฎี อำเภอเมืองอุดรธานีอุดรธานี41000 ค าขวัญประจ าโรงเรียน เรียนดี สามัคคี มีวินัย ใฝ่กีฬา จรรยางาม 1. ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี เป็นโรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครอุดรธานี ตั้งอยู่เลขที่ 237 ถนนอุดรดุษฎี ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 มีพื้นที่ 39 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา การติดต่อ โทรศัพท์ 042 - 223565 โทรสาร 042 - 223565 หรือที่เว็บไซต์ www.t6udon.ac.th ซึ่งโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี มีประวัติความเป็นมา ดังนี้ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานีไลออนส์อุทิศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2519 บนพื้นที่ ฌาปนสถานวัดป่าโนนนิเวศน์ พื้นที่ 39 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา จัดตั้งโดยคณะเทศมนตรีชุดแรก โดย นาย มณเฑียร แก้ววงศ์ เป็นนายกเทศมนตรี นายวัลลภ ประดิษฐ์ด้วง และนายกิติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ เป็น เทศมนตรี พร้อมด้วยสโมสรไลออนส์อุทิศ ให้การสนับสนุนอาคารเรียนไม้ 1 ชั้น จำนวน 1 หลัง มีห้องเรียน จำนวน 10 ห้องเรียน เป็นเงิน 400,000 บาท (สี่แสนบาทถ้วน) และเทศบาลสมทบอีก 170,000 บาท (หนึ่ง แสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี นักเรียน 365 คน มีครู 14 คน และขณะนั้น มีนายสมชาย ประกิระสา ดำรงตำแหน่งเป็นครูใหญ่ ปี พ.ศ. 2512 จัดสร้างอาคารเรียน ค.ส.ล. 3 ชั้น 15 ห้องเรียน ด้วยเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เป็นเงิน 2,100,000 บาท (สองล้านหนึ่งแสนบาทถ้วน) ปี พ.ศ. 2539 รื้อถอนอาคารเรียนไม้ โรงอาหาร และห้องประชุม เพื่อใช้พื้นที่ก่อสร้างอาคาร ศูนย์ เยาวชนเทศบาลนครอุดรธานี จำนวน 1 หลัง ประวัติสถานศึกษา 4


6 ปี พ.ศ. 2542 เข้าร่วมโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เปิดทำการสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 ห้องเรียน พร้อมทั้งจัดสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น จำนวน 12 ห้องเรียน โดยใช้เงินอุดหนุนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2543 เปิดรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 2 ห้องเรียน พร้อมทั้งจัดสร้าง อาคารเรียน 4 ชั้น จำนวน 12 ห้องเรียน อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง ห้องน้ำห้องส้วมจำนวน 1 หลัง โดยใช้ เงินอุดหนุนจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นเงิน 13,027,444 บาท ปี พ.ศ. 2546 ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมการปกครองในการจัดสร้างอาคารเรียน 4 ชั้น 12 ห้องเรียน 1 อาคาร เป็นเงิน 6,390,000 บาท ( อาคาร 3 ) ปี พ.ศ. 2548 ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมการปกครองในการจัดสร้างอาคารเรียน 3 ชั้น 34 ห้องเรียน 1 อาคาร เป็นเงิน 31,000,000 บาท ( อาคาร 4 ) ปี พ.ศ. 2554 ได้รับคำสั่งเทศบาลนครอุดรธานี ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียน จาก "โรงเรียนเทศบาล 6 ไลออนส์อุทิศ" เป็น "โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี" ท าเนียบผู้บริหาร 5


7 โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ได้แบ่งโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่าย บริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานแผนและงบประมาณ ฝ่ายบริหารงานบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป โดย มีรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้ นายกฤษดา โสภา ผู้อ านวยการสถานศึกษา นายธนากร รัฐถาวร รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารงานวิชาการ นายกิตติ กุลธนานพเดช รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายบริหารแผนและงบประมาณ นายวัฒนะ มั่งคั่งดี รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายงานบริหารงานทั่วไป นายพินิจ จันทร์งาม รองผู้อ านวยการสถานศึกษา ฝ่ายงานบริหารบุคลากร 6


8 1.1 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ตราประจ าโรงเรียน ท้าวเวสสุวัณ หมายถึงเทพเจ้าผู้คุ้มครองดูแลชชาวเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศอุดร ให้อยู่เย็นเป็นสุข อักษรย่อโรงเรียน ท.6 ค าขวัญประจ าโรงเรียน เรียนดี สามัคคี มีวินัย ใฝ่กีฬา จรรยางาม ต้นไม้ประจ าโรงเรียน ต้นอินทนิล หมายถึง ลูก ท.6 ทุกคน จึงควรมีจิตใจที่แข็งแกร่ง ห้าวหาญ มุมานะ และอดทน ภายใต้ท่าทีที่สุภาพ เรียบร้อย อ่อนโยน นิ่มนวล สดชื่น และเบิกบาน สีประจ าโรงเรียน ม่วง-ขาว ม่วง หมายถึง ผู้ที่มีจิตใจที่บริสุทธิ์และสงบ ย่อมก่อให้เกิด ปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาสังคมและประเทศชาติ สีม่วง หมายถึง สี่แห่งผู้รู้ สี่ที่มีความคิดสร้างสรรค์ และผู้ที่มีความ สงบในจิตใจ สีขาว หมายถึงผู้ที่มีจิตใจบริสุทธิ์และสงบย่อมก่อให้เกิดปัญญาและ ความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาสังคมและประเทศชาติ วิสัยทัศน์ โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี เป็นสถานศึกษาดี มีมาตรฐาน ประสานงานเครือข่ายและชุมชน ผู้เรียนดำรงตนตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 4. ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน 7


9 จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา 1. การศึกษามีประสิทธิภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา 2. หลักสูตรมีความทันสมัย และเป็นสากล 3. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านวิชาการ 4. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านดนตรี 5. ผู้เรียนมีศักยภาพ และความถนัดทางด้านกีฬา 6. ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในความเป็นท้องถิ่น 7. ผู้เรียนได้อนุรักษ์ความเป็นท้องถิ่นของตนเอง 8. ครูและผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม 9. ผู้เรียนมีทักษะชีวิตที่ดี และถูกต้อง 10. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครู ผู้เรียน และชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ครูและบุคลากร เพศ ชาย หญิง 1. ผู้อำนวยการสถานศึกษา 1 - 2. รองผู้อำนวยการโรงเรียน 4 - 3. ครูประจำการ 19 46 4. พนักงานราชการ 2 3 5. อัตราจ้าง 3 7 6. นักการภารโรง 4 - รวม 33 56 1.3 ข้อมูลนักศึกษาฝึกประสบการณ์ สถาบัน เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด รวม ชาย หญิง ป.บัณทิต ป.ตรี ป.โท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 12 19 - 29 2 31 รวมทั้งหมด 31 คน 8


10 1.4 ข้อมูลนักเรียน ระดับชั้นม.ต้น จ านวนนักเรียน (คน) จ านวนห้อง ชาย หญิง รวม ม.1 158 107 256 8 ม.2 124 111 235 8 ม.3 116 87 203 7 รวม ม.1-3 398 305 703 23 ระดับชั้นม.ปลาย จ านวนนักเรียน (คน) จ านวนห้อง ชาย หญิง รวม ม.4 121 155 276 8 ม.5 65 134 199 8 ม.6 96 99 195 8 รวม ม.4-6 282 388 670 24 รวมทั้งหมด 680 693 1373 47 1.5 อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาคาร 2 ห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 9


11 1.6 สภาพทั่วไปของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาคาร 1 ห้องพักนักเรียนโครงการความเป็นเลิศทางด้านฟุตบอล สถานที่ :โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี อาคาร 3 ห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 10


12 อาคาร 4 ห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี อาคาร 5 ห้องเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 11


13 อาคารห้องประชุม สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ห้องสมุด สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 12


14 ห้องพยาบาล สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี โรงอาหาร สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 13


15 ร้านค้าสวัสดิการ สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ลานอเนกประสงค์ สถานที่ : โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 14


16 2. แผนที่โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี 3. แผนผังภายในโรงเรียน 4. โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา ลงชื่อ วิภาดา ไชยโชค ( นางสาววิภาดา ไชยโชค ) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา วันที่22 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 15


17 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเอง ทางด้านวิชาชีพครู 16


18 2.ด้านการเรียนการสอน 2.1 สภาพการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทำกรณีศึกษา เป็นต้น โดยกิจกรรมที่นำมาใช้ควรช่วย พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร/นำเสนอ และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างเหมาะสมบทบาทของผู้เรียนนอกจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกันด้วย ผู้สอนควรลดบทบาทในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนใน ลักษณะการบรรยายลง และเพิ่มบทบาทในการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทำกิจกรรมต่างๆ รวมถึงการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเรียนรู้ ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นดังนี้ 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรียนเรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดขั้นสูง 8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิด รวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง 10. ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน 17


19 2.2 การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนต้องจัดให้เหมาะกับผู้เรียน ดังนั้นนักออกแบบการเรียนการสอนจึงต้องมีความเข้าใจ ลักษณะของผู้เรียนที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในกระบวนการเรียนรู้และเข้าใจสภาพและสถานที่ปฏิบัติงานของ ผู้เรียน ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนการสอนซึ่งเป็นบริบทของการเรียนรู้ที่มีผลกระทบต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียน ในกระบวนการออกแบบการเรียนการสอนนั้นผู้ออกแบบการเรียนการสอนมีความมุ่งหวังให้ สิ่งที่ออกแบบไว้ไม่ว่าจะเป็นสื่อการเรียนรู้หรือกิจกรรมการเรียนรู้สามารถนำไปใช้ได้กับผู้เรียนที่เป็นประชากร เป้าหมาย (target population) ให้ครอบคลุมได้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้แต่ในการที่จะพิสูจน์และประเมิน ว่าสิ่งที่ออกแบบไว้นั้นมีประสิทธิภาพใช้ได้เหมาะสมหรือไม่จำเป็นต้องทดลองกับผู้เรียนที่เป็นกลุ่มทดลอง (try out learners) ซึ่งเป็นสมาชิกของประชากร กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมีลักษณะเฉพาะเจาะจงมากกว่ามาเป็น ตัวแทนเพื่อการทดลองว่าสิ่งที่ออกแบบไว้นั้นใช้ได้ดีเพียงใด ก่อนที่จะอ้างอิงผลการทดลองไปยังประชากร กลุ่มเป้าหมาย ลักษณะของผู้เรียนที่มีผลต่อการเรียนรู้ ได้แก่ 1) ทักษะที่มีอยู่ก่อนซึ่งมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายการเรียนรู้หมายถึง ทักษะที่ผู้เรียนมีอยู่แล้ว ก่อนที่จะเรียนรู้เรื่องใหม่ทำให้การเรียนรู้เรื่องใหม่ง่ายขึ้น เพราะไม่ต้องไปเรียนรู้ทักษะนั้น 2) ความรู้เดิมในเรื่องที่สอน ความรู้เดิมนี้มีทั้งความรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ใหม่ หรืออาจเป็น ความรู้เดิมที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ใหม่ก็ได้ หากเป็นความรู้เดิมที่ไม่ถูกต้องผู้สอนจะต้องหาทางแก้ไข ให้ถูกต้องก่อนเรียนรู้เรื่องใหม่ 3) เจตคติที่มีต่อเนื้อหาและระบบการถ่ายทอด 4) แรงจูงใจทางวิชาการ 5) ระดับความสามารถทางการศึกษา 6) ความชอบในการเรียนรู้โดยทั่วไป 7) เจตคติที่มีต่อการเรียนการสอน 8) ลักษณะของกลุ่มผู้เรียนมีลักษณะคล้ายคลึงหรือมีความแตกต่างจากกลุ่มประชากร วิธีการรวบรวม ข้อมูล การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความแตกต่างของผู้เรียนดังกล่าว ควรเลือกใช้เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการ เช่น 1) ใช้การสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้สอนและผู้เรียนเพื่อให้ทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของผู้เรียน 2) ใช้แบบรายงานตนเอง ให้ผู้เรียนสะท้อนความถนัด ความสนใจ แรงจูงใจ และเจตคติที่มีต่อ การเรียนรู้ต่าง ๆ 3) สังเกตการท างานของผู้เรียนในบริบทการเรียนรู้ต่าง ๆ 4) ทดสอบก่อน เรียนเพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้เดิมและทักษะก่อนเรียนเป็นอย่างไร ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ท าให้ทราบ ลักษณะต่าง ๆ ของผู้เรียน เช่น พฤติกรรมที่มีอยู่ก่อนของ ผู้เรียน เจตคติที่มีต่อเนื้อหาและรูปแบบการ 18


20 ถ่ายทอดเนื้อหา แรงจูงใจทางวิชาการ ระดับความสามารถและ ผลสัมฤทธิ์ที่มีอยู่ก่อน ความชอบทางวิชาการ เจตคติที่มีต่อองค์กร และลักษณะของกลุ่มผู้เรียน ข้อมูล ดังกล่าวข้างต้นจะเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบกล ยุทธ์การสอน วิธีการถ่ายทอดและการฝึกทักษะ ให้แก่ผู้เรียน 2.3 การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน 1.3.1 การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียน มีการดาเนินการดังนี้ 1) เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิมในปีการศึกษาที่ผ่าน มาหรือ จัดสร้างเครื่องมือแบบทดสอบวิชานั้น ๆ ขึ้นใหม่แล้วนามาใช้ทดสอบผู้เรียนทุกคน 2) นาข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจริง พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง (หรือผ่านเกณฑ์) และกลุ่มที่ต้องปรับปรุงแก้ไข 3) การวิเคราะห์ผู้เรียนจะพิจารณาทั้งความพร้อมด้านความรู้ความสามารถ สติปัญญาและความ พร้อมด้านอื่น ๆ ของผู้เรียนควบคู่กันไปด้วย 4) สาหรับนักเรียนที่มีความพร้อมต่ำกว่าเกณฑ์ที่กาหนดผู้สอนจะต้องรีบดาเนินการ ปรับปรุง แก้ไขให้มีความพร้อมดีขึ้นก่อน จึงค่อยจัดการเรียนรู้ในระดับชั้นที่จะทาการสอน ส่วนความพร้อม ด้านอื่น ๆ ได้พยายามปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นในลาดับต่อไป 1.3.2 แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียน 1) การจัดการเรียนรู้ให้ประสบความสำเร็จ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ผู้เรียน ควร มีความ พร้อมที่ดีในทุก ๆ ด้าน ดังนั้นก่อนจะเริ่มดาเนินการสอนวิชาใด ๆ ควรมีการศึกษาวิเคราะห์ ผู้เรียน เป็น รายบุคคล ทั้ง 4 ด้านดังนี้ 1.1) ความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ 1.2) ความพร้อมด้านสติปัญญา 1.3) ความพร้อมด้านร่างกาย 1.4) ความพร้อมด้าน สังคม 2) ก่อนจะเริ่มดาเนินการจัดการเรียนรู้วิชาใด ๆ ผู้สอนควรศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียน ให้ รู้ถึง ความ แตกต่างระหว่างบุคคลในแต่ละด้าน หากพบผู้เรียนคนใดมีข้อบกพร่องด้านใดควรปรับปรุงแก้ไข ให้มี ความพร้อมที่ดีขึ้นก่อน 3) การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขข้อบกพร่อง สาหรับนักเรียนที่ยังขาดความ พร้อมใน ด้านใด ๆ ควรใช้กิจกรรมหลาย ๆ แบบหรือใช้เทคนิควิธีการที่เหมาะสมจนผู้เรียนมีความพร้อมดี ขึ้น 19


21 1.3.3 วัตถุประสงค์การวิเคราะห์ผู้เรียน 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะเกี่ยวกับความพร้อมของผู้เรียนในแต่ละด้านเป็นรายบุคคล 2) เพื่อให้ครูผู้สอนรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และหาทางช่วยเหลือผู้เรียนที่มีข้อบกพร่องให้มีความพร้อม ที่ดีขึ้น 3) เพื่อให้ผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน สื่อ หรือนวัตกรรม สาหรับดาเนินการจัด การเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้ สอดคล้องเหมาะสม ตรงตามความต้องการของผู้เรียนมากยิ่งขึ้น 1.3.4 ขอบเขตของการวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อแยกแยะหาความแตกต่าง ระหว่าง บุคคลใน เรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 1.1) ความรู้พื้นฐานของวิชาที่จะทาการสอนในระดับชั้นนั้น ๆ 1.2) ความสามารถในการแก้ปัญหา 1.3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้ 2) ความพร้อมด้านสติปัญญา 2.1) ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 2.2) ความมีเหตุผล 2.3) ความสามารถในการเรียนรู้ / การลำดับความ 3) ความพร้อมด้านพฤติกรรม 3.1) การแสดงออก 3.2) การควบคุมอารมณ์ 3.3) ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร อดทน 3.4) ความรับผิดชอบ 4) ความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ 4.1) ด้านสุขภาพร่างกายสมบูรณ์ 4.2) การเจริญเติบโตสมวัย 4.3) ความสมบูรณ์ด้านสุขภาพจิต 5) ความพร้อมด้านสังคม 5.1) การปรับตัวเข้ากับคนอื่น 5.2) การช่วยเหลือ เสียสละ แบ่งปัน 5.3) การเคารพ ครู กติกา และมีระเบียบวินัย 20


22 2.4 ตารางสอน 21


23 2.5 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร โครงสร้างรายวิชาภาษาจีน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ชั้น ม.2 ภาคเรียนที่1 จ านวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 1 สัทอักษรจีนพินอิน 汉语拼音 มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความ เรื่องที่ฟังและอ่าน จากสื่อประเภทต่างๆ และ แสดงความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสาร ทางภาษาในการ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู สึก และความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ การเรียนการสอน ฝึกหลักการใช้ คำศัพท์เพื่อสื่อ ความหมายให้ถูกต้อง ตามหลักการ สามารถบอกและ แปลความหมายเป็น ภาษาจีนได้ จะช่วย ให้เข้าใจความหมาย และสามารถเรียน ภาษาจีนได้ง่ายขึ้น 8 15 2 รูปร่างของคุณสูงจริงๆ 你的个子真高! มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความ เรื่องที่ฟังและอ่าน จากสื่อประเภทต่างๆ และ แสดงความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผล การเรียนรู้คำศัพท์ ประจำบทเรียน เป็น การเรียนรู้เกี่ยวกับ การสนทนาภาษาจีน พื้นฐาน เป็นการ เรียนรู้ที่ผู้เรียน 7 15 22


24 ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสาร ทางภาษาในการ แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู สึก และความคิดเห็น อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำไปใช้ได้ จริงในชีวิตประจำวัน เมื่อได้เรียนจะทำให้ ผู้เรียนสามารถออก เสียงคำ กลุ่มคำและ ประโยคแบบง่าย ๆ ได้ตามหลักการออก เสียง 3 นี่คือสุนัขของใคร? 这是谁的狗? มาตรฐาน จ 1.1 ม. 2/2 อ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว ประกาศ และบทร้อย กรองสั้น ๆ ถูกต้อง ตามหลักการอ่าน มาตรฐาน จ 1.1 ม. 2/3 ระบุภาพหรือ สัญลักษณ์ตรงตาม ความหมายของคำ กลุ่มคำ และ ประโยคจากการฟัง หรืออ่าน มาตรฐาน จ 1.2 ม. 2/1 สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูล เกี่ยวกับ ตนเอง เรื่อง ต่าง ๆ ใกล้ตัว และ สถานการณ์ต่างๆใน การเรียนรู้คำศัพท์ ประจำบทเรียน 这 是谁的狗? เป็นการเรียนรู้ เกี่ยวกับการออก เสียงสัทอักษร ภาษาจีน การ สนทนาภาษาจีน พื้นฐาน ด้านการ สนทนากับชาวจีน เบื้องต้น เป็นการ เรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถนำไปใช้ได้ จริงในชีวิตประจำวัน เมื่อได้เรียนจะทำให้ ผู้เรียนสามารถออก เสียงคำ กลุ่มคำและ ประโยคแบบง่าย ๆ ได้ตาม หลักการออก เสียง สามารถสื่อสาร 7 15 23


25 ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน ชีวิตประจำวัน อย่าง เหมาะสม มาตรฐาน จ 1.2 ม. 2/3 พูดและเขียน แสดงความต้องการ ขอและให้ความ ช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธใน สถานการณ์ต่างๆ กันโดยใช้การสนทนา ภาษาจีน หรือพูดให้ ข้อมูลง่าย ๆเกี่ยวกับ สิ่งใกล้ตัวที่ เกี่ยวกับ สัตว์ปฏิบัติตามคำสั่ง ง่าย ๆ หรือพูด โต้ตอบประโยคสั้นๆ ระหว่างบุคคลได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสม 4 ฉันไปร้านค้า 我去商店。 การเรียนรู้คำศัพท์ ประจำบทเรียน 我 去商店。เป็น การเรียนรู้เกี่ยวกับ การออกเสียงสัท อักษร ภาษาจีน การ สนทนาภาษาจีน พื้นฐาน ด้านการ สนทนากับชาวจีน เบื้องต้น เป็นการ เรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถ นำไปใช้ได้ จริงในชีวิตประจำวัน เมื่อได้เรียนจะทำให้ ผู้เรียนสามารถออก เสียงคำ กลุ่มคำและ ประโยคแบบ ง่าย ๆ ได้ตามหลักการออก เสียง 7 15 24


26 ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 5 อารมณ์และความรู้สึก 情感 เนื่องจากแต่ละคนมี อารมณ์ที่แตกต่างกัน เช่น อารมณ์ดี อารมณ์โกรธ อารมณ์ เครียด ดังนั้น นักเรียนจึง ควร เรียนรู้เรื่องอารมณ์ ของบุคคล เพื่อที่จะ สามารถนำไปใช้ใน การบอกอารมณ์ของ บุคคลต่างๆ ได้อย่าง ถูกต้องตามความเป็น จริง 6 10 6 งานอดิเรก 爱好 การฝึกภาษาทางด้าน การอ่านออกเสียงบท สนทนาเกี่ยวกับงาน อดิเรกของบุคคล เป็นการฝึกใช้ภาษา ใน ชีวิตประจำวัน นักเรียนจำเป็นต้อง ใช้คำศัพท์สำนวน ภาษา และโครงสร้าง ประโยคที่ถูกต้อง และเหมาะสม ตาม วัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา 5 10 เก็บคะแนนระหว่างภาค 40 80 สอบวัดผลปลายภาค 20 รวม 40 100 25


27 ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชาภาษาจีน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรโรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ชั้น ม.2 ภาคเรียนที่2 จ านวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 7 วันนี้คือวันอะไร? 今天星期几? ต 1.1 ม.2/1 ต 1.1 ม.2/3 ต 1.2 ต 2.1 ม.2/1 การเรียนรู้คำศัพท์และประโยค ประจำบทเรียน 今天星期 几? เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับ การสนทนาภาษาจีนพื้นฐาน ด้านการสนทนากับชาวจีน เบื้องต้น เป็นการเรียนรู้ที่ ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงใน ชีวิตประจำวัน 8 20 8 ตอนนี้กี่โมง? 现在几点? ต 1.2 ม.2/3 ต 1.3 ม.2/3 ต 2.1 ม.2/1 เรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับวันเวลา เวลามีความสำคัญและเกี่ยวข้อง กับการดำเนินชีวิตของคนเราทำ ให้เรารู้ว่าเหตการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นเมื่อวัน เดือน ปีใด เ ห ต ุ ก า ร ณ ์ ใ ด เ ก ิ ด ก ่ อ น เหตุการณ์ใดเกิดหลัง เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นหรือดำเนินอยู่ใน ช่วงเวลาที่แตกต่างกัน 6 10 9 คุณกินอะไร? 你吃什么? ต 1.2 ม.2/3 ต 1.3 ม.2/3 ต 2.1 ม.2/1 เรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับอาหาร และการเรียกชื่ออาหารและ เครื่องดื่มต่างๆ เป็นภาษาจีน 7 15 26


28 หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 10 คุณซื้ออะไร? 您买什么? ต 1.1 ม.2/1 ต 1.1 ม.2/3 ต 1.2 ต 2.1 ม.2/1 การเรียนรู้คำศัพท์ประจำ บทเรียน 您买什么? เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการ สนทนาภาษาจีนพื้นฐาน ด้าน การสนทนากับชาวจีนเบื้องต้น เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถ นำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน 7 15 11 นี่คือคนประเทศไหน? 这是哪国人? ต 1.1 ม.2/3 ต 1.2 ต 2.1 ม.2/1 การเรียนรู้คำศัพท์ประจำ บทเรียนเกี่ยวกับชื่อประเทศ ต่างๆ ของเรื่อง 这是哪国人? เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการ สนทนาภาษาจีนพื้นฐาน ด้าน การสนทนากับชาวจีนเบื้องต้น เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถ นำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน 6 10 12 ภาษาจีนยากไหม? 汉语难吗? ต 1.1 ม.2/1 ต 1.1 ม.2/3 ต 1.2 ต 2.1 ม.2/1 การเรียนรู้คำศัพท์ประจำ บทเรียน 汉语难吗? เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการ สนทนาภาษาจีนพื้นฐาน ด้าน การสนทนากับชาวจีนเบื้องต้น เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถ นำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน เมื่อได้เรียนจะทำให้ผู้เรียน สามารถออกเสียงคำ กลุ่มคำ และประโยคแบบง่าย ๆ ได้ตาม หลักการออกเสียง 6 10 เก็บคะแนนระหว่างภาค 80 สอบวัดผลปลายภาค 20 รวม 40 100 27


29 2.6 ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 28


30 แผนการจัดการเรียนรู้ 6 รายวิชาภาษาจีน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน3) รหัสวิชา จ22201 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง 你的个子真高!(รูปร่างของคุณสูงจริงๆ) เวลา 7 ชั่วโมง/ หน่วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง 生词 ค าศัพท์ เวลา 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาววิภาดา ไชย โชค 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรูสึก และ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด มาตรฐาน จ 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน มาตรฐาน จ 1.1 ม.2/2 อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน มาตรฐาน จ 1.1 ม.2/3 ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของคำ กลุ่มคำ และ ประโยค จากการฟังหรืออ่าน มาตรฐาน จ 1.2 ม.2/3 พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและ ปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ 2. สาระส าคัญ การเรียนรู้คำศัพท์ประจำบทเรียน 你的个子真高!เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับการสนทนา ภาษาจีนพื้นฐาน ด้านการสนทนากับชาวจีนเบื้องต้น เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ได้จริงใน 29


31 ชีวิตประจำวัน เมื่อได้เรียนจะทำให้ผู้เรียนสามารถออกเสียงคำ กลุ่มคำและประโยคแบบง่าย ๆ ได้ ตามหลักการออกเสียง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้(เชิงพฤติกรรม) 1. สาระการเรียนรู้(K) 1.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง (ประจำแผนการจัดการเรียนรู้6) 1.2 นักเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับเรื่องร่างกายได้ 1.3 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 2. ทักษะกระบวนการ (P) 2.1 นักเรียนสามารถสนทนาตอบคำถามของบทเรียนเรื่องร่ายกายได้ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 3.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ประจำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6) 3.2 มีวินัย 3.3 ใฝ่เรียนรู้ 3.4 มุ่งมั่นในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ คำศัพท์ในเรื่อง 你的个子真高!nǐ de gèzi zhēn gāo! แปลว่า คุณตัวสูง มาก! 头 tóu หัว 头发 tóufa ผม 眼睛 yǎnjing ตา 鼻子 bízi จมูก 耳朵 ěrduǒ หู 嘴 zuǐ ปาก 脸 liǎn หน้า 肩膀 jiānbǎng ไหล่ 30


32 5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. คุณครูแนะนำตนเองแล้วกล่าวทักทายนักเรียนเป็นภาษาจีน ยกตัวอย่างเช่น 同学们早上好! สวัสดีตอนเช้าค่ะ/ครับ นักเรียนทุกคน 同学们下午好! สวัสดีตอนบ่ายค่ะ/ครับ 大家好! สวัสดีครับ/ค่ะทุกคน 2. คุณครูทำการเช็คชื่อโดยกล่าวคำว่า 老师点名一下! 3. ครูเกริ่นนำเข้าสู่บทเรียนและอธิบายเนื้อหาในบทเรียน เรื่อง 你的个子真高! เพื่อ เตรียมความพร้อมทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อเตรียมการตรวจสอบความพร้อมของ นักเรียน ขั้นสอน 1. ครูเปิดเพลง 身体都位 。หลังจากเพลงจบ ครูจะถามนักเรียนว่าเพลงนี้เกี่ยวกับเรื่อง อะไร? 2. ครูอ่านหัวข้อบทเรียน 你的个子真高!nǐ de gèzi zhēn gāo! และ อ่านสะกดคำศัพท์ในประโยคของบทเรียน แปลว่า ตัวของคุณสูงจริงๆ! และเรียนรู้คำศัพท์ใน หมวดร่างกาย 3. ครูอ่านออกเสียงคำศัพท์ 1 รอบ หลังจากนั้นให้นักเรียนอ่านตาม พร้อมแปลความหมาย 4. ครูยกตัวอย่างประโยคของคำศัพท์ เช่น ท า妹妹的眼睛很小。ตาของน้องสาวเล็ก มาก 你的个子真高!รูปร่างของคุณสูงจริงๆ 5. ครูอธิบายรูปประโยคการใช้的 แปลว่าของ คือแสดงความเป็นเจ้าของ ของภาษาจีนและ ภาษาไทย ดังนี้ ประโยคภาษาจีน ประโยคภาษาไทย 妹妹(น้องสาว)的(ของ) 眼睛(ตา) 很(มาก) 小 (เล็ก) ตาของน้องสาว เล็ก มาก ชั่วโมงที่ 1 31


33 6. ให้นักเรียนเล่นเกมทายคำศัพท์พร้อมบอกความหมายแล้วตอบคำถามโดยใช้ท่าประกอบ 7. ให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ของบทเรียนและคัดตัวอักษรจีนลงในสมุด ค าศัพท์ พินอิน ค าแปล 头 tóu หัว 头发 tóufa ผม 眼睛 yǎnjing ตา 鼻子 bízi จมูก 耳朵 ěrduo หู 嘴巴 zuǐba ปาก 肩膀 jiānbǎng ไหล่ 手 shǒu มือ 膝盖 xīgài เข่า 脚 jiǎo เท้า 个子 gèzi ตัว/รูปร่าง 长 cháng ยาว 大 dà ใหญ่ 高 gāo สูง 小 xiǎo เล็ก ขั้นสรุปบทเรียน 1. ครูถามคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนในคาบนี้และคาบถัดไปเขียนตามคำบอก 2. ครูสำรวจความเข้าใจและถามว่ามีอะไรสงสัยไหม 你们有问题吗? 3. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ 5. เมื่อหมดคาบเรียนนักเรียนกล่าวลาคุณครู โดยใช้คำว่า 谢谢老师,老师 再见。 32


34 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. คุณครูแนะนำตนเองแล้วกล่าวทักทายนักเรียนเป็นภาษาจีน ยกตัวอย่างเช่น 同学们早上好! สวัสดีตอนเช้าค่ะ/ครับ นักเรียนทุกคน 同学们下午好! สวัสดีตอนบ่ายค่ะ/ครับ 大家好! สวัสดีครับ/ค่ะทุกคน 2. คุณครูทำการเช็คชื่อโดยกล่าวคำว่า 老师点名一下! 3. ครูเกริ่นนำเข้าสู่บทเรียนและอธิบายเนื้อหาในบทเรียน เรื่อง 你的个子真高! เพื่อ เตรียมความพร้อมทบทวนความรู้เกี่ยวกับภาษาจีนเพื่อเตรียมการตรวจสอบความพร้อมของ นักเรียน ขั้นสอน 1. ครูพานักเรียนทบทวนความรู้คำศัพท์จากที่เรียนมาชั่วโมงที่แล้ว 2. ครูให้นักเรียนเขียนตามคำบอกจากคำศัพท์ที่เรียนมา เพื่อทดสอบความเข้าใจ 3. ครูสุ่มนักเรียนออกมาอ่านคำศัพท์ตามที่ครูกำหนดให้ พร้อมทำท่าประกอบ 4. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1 ขั้นสรุปบทเรียน 1. ครูถามคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนในคาบนี้ 2. ครูสำรวจความเข้าใจและถามว่ามีอะไรสงสัยไหม 你们有问题吗? 3. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม 4. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาที่เรียนในวันนี้ 5. เมื่อหมดคาบเรียนนักเรียนกล่าวลาคุณครู โดยใช้คำว่า 谢谢老师,老师 再见。 6. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 1. รูปภาพ คลิปเสียง วีดีโอ 2. PPT 3. ใบงาน ชั่วโมงที่ 2 33


35 6.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนภาษาจีน 2. YouTube 3. Google 7. กระบวนการวัดและประเมินผล เกณฑ์การประเมินผลใช้เกณฑ์ดังนี้ 80% ขึ้นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน -นักเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับ เรื่องร่างกายได้(K) สังเกตจาก -การทำใบงานเรื่องร่างกาย -แบบบันทึกการ ร่วมกิจกรรม การ อ่านและการพูด -นักเรียนทำใบงานได้ ถูกต้อง 70 % -นักเรียนสามารถสนทนา ตอบคำถามของบทเรียน เรื่องร่ายกายได้(P) สังเกตจาก -การตอบคำถามในชั้นเรียน -แบบบันทึกการ ร่วมกิจกรรม การ อ่านและการพูด -นักเรียนตอบคำถาม ได้ขณะที่ทำกิจกรรมใน ชั้นเรียน 70 % -มีวินัย ใฝ่เรียนรู้มุ่งมั่นใน การทำงาน (A) สังเกตจาก -ความร่วมมือในการทำ กิจกกรม -แบบบันทึกการ สังเกตพฤติกรรม -ผ่านเกณฑ์ในระดับดี 34


36 แบบบันทึกการประเมินคุณภาพชิ้นงาน/ภาระงาน เลขที่ ประเด็นการ ประเมิน ชื่อ-สกุล ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน ความคิดสร้างสรรค์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 35


37 เลขที่ ประเด็นการ ประเมิน ชื่อ-สกุล ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน ความคิดสร้างสรรค์ 27 28 29 30 31 32 33 34 ลงชื่อ......................................................... (นางสาววิภาดา ไชยโชค) ครูผู้สอน วันที่........ เดือน............พ.ศ. .......... 36


38 เกณฑ์การให้คะแนนคุณภาพชิ้นงาน / ภาระงาน ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 4 3 2 1 ความสมบูรณ์ ของ ชิ้นงาน ชิ้นงานมีราย ละเอียดครอบ คลุมวงคำศัพท์ ที่เรียนสมบูรณ์ ชิ้นงานมีราย ละเอียดครอบ คลุมวงคำศัพท์ ที่เรียนเป็น ส่วนใหญ่ ชิ้นงานมีราย ละเอียดครอบ คลุมวงคำศัพท์ ที่เรียนพอ สมควร ชิ้นงานมีราย ละเอียดครอบ คลุมวงคำศัพท์ ที่เรียนน้อย ความคิด สร้างสรรค์ เป็นชิ้นงาน ที่แปลกใหม่ คิดขึ้นเอง ไม่เหมือน ตัวอย่าง เป็นชิ้นงาน ที่แปลกใหม่ แต่มีบางส่วน คล้ายกับ ตัวอย่าง เป็นชิ้นงาน ที่ปรับปรุงดัดแปลง เล็กน้อยจาก ตัวอย่าง เป็นชิ้นงานที่ เหมือนกับ ตัวอย่าง เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 1-4 ควรปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับ “พอใช้” ขึ้นไป สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 37


39 แบบบันทึกการประเมินผลด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เลข ที่ ชื่อ - สกุล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวม ผลการ ประเมิน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ท างาน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 38


40 เลข ที่ ชื่อ - สกุล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวม ผลการ ประเมิน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ท างาน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 ลงชื่อ......................................................... (นางสาววิภาดา ไชยโชค) ครูผู้สอน วันที่........ เดือน............พ.ศ. .......... 39


41 เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ดี 3 พอใช้ 2 ควรปรับปรุง 1 มีวินัย เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อยเหมาะสม เข้าเรียนตรงเวลา นักเรียนมีพฤติกรรม ที่ไม่ได้ปฏิบัติ ใฝ่เรียนรู้ ผู้เรียนมีความตั้งใจในการ เรียนและมีส่วนร่วมกับการ เรียน ผู้เรียนตั้งใจเรียนบางครั้ง ผู้เรียนไม่ตั้งใจเรียน และไม่มีส่วนร่วมใน การเรียน มุ่งมั่นในการทำงาน ผู้เรียนเข้าเรียนทุกครั้งและ ตรงเวลาตลอด ผู้เรียนเข้าเรียนแต่ไม่ตรง เวลา ผู้เรียนไม่เข้าเรียน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 1-5 ควรปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพ “พอใช้” ขึ้นไป สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 40


42 41


43 ค าชี้แจง จงเลือกคำศัพท์ให้สอดคล้องกับอวัยวะต่างๆของร่างกาย โดยลือกคำศัพท์จากด้านบนมาเติมใน ช่องว่างให้ถูกต้อง ใบงานที่ 1 shǒu tóufa 42


44 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ 43


45 โครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ ในการปฏิบัติการสอนในครั้งนี้ ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่อื่นๆ นอกเหนือจากการสอน ดังต่อไปนี้ 1.1 ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง ร่วมกับนักเรียนชั้นมัธยมต้น ทุกวันจันทร์ 1.2 เวรประจำวันตามบริบทที่รับผิดชอบ ทุกวันศุกร์ 1.3 ปฏิบัติงานหน้าที่พิเศษอื่นๆ ตามคำสั่งของโรงเรียน (ประชุมประจำเดือน และอื่นๆ) ตารางเวรสวัสดิการประจ าวันศุกร์ 44


46 ค าอธิบายรายวิชา รายวิชาภาษาจีน 3 จ 22201 สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ความรู้ (K) ศึกษา ภาษาเพื่อการสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น และภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก เกี่ยวกับ คำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้อง คำอธิบาย หลักการอ่านใน ระบบเสียงภาษาจีนกลาง คำศัพท์ กลุ่มคำ ประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน การใช้พจนานุกรม คำ กลุ่มคำ และบท สนทนาสั้น ๆ ที่มีความหมายเกี่ยวกับเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน อาหาร เครื่องดื่ม ทิศทาง คำศัพท์สะสม 150-200คำ บทสนทนาที่มีภาพประกอบ ประโยคคำถาม คำตอบ เส้นขีดพื้นฐานอักษรจีน ลำดับขีด อักษรจีน ตัวเลข ตัวอักษรง่ายๆ ถ้อยคำ น้ำเสียง กิริยาท่าทาง ตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของจีน ข้อมูล ความสำคัญของ เทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของจีน กิจกรรมทางภาษา วัฒนธรรมของจีน ความแตกต่าง ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ ของภาษาจีนกับภาษาไทย ความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง วัน สำคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของจีนกับวัฒนธรรมของไทย คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากสื่อเทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ประโยคหรือบทสนทนาในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา นำคำศัพท์ ประโยค บทสนทนาที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้ตามสถานการณ์จริง การใช้ภาษาจีนในการสืบค้น และ รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งใกล้ตัวจากสื่อต่าง ๆ ทักษะกระบวนการ (P) โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อฝึกทักษะปฏิบัติ แนะนำ อธิบาย อ่านออก เสียง พูดและเขียน ใช้ภาษาสื่อสาร บรรยาย เข้าร่วม/จัดกิจกรรม บอกความเหมือนใช้เครื่องหมาย เปรียบเทียบ ค้นคว้า รวบรวม และนำเสนอข้อมูล คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาฟัง พูด อ่าน และเขียน ได้อย่างถูกต้อง และ สุภาพตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของจีน ตามความสนใจ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถใน การ สื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้อง คำชี้แจง และคำอธิบายที่ฟังและอ่าน 2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คำศัพท์ กลุ่มคำ ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง 3. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยคจากการฟัง หรือการอ่าน 4. พูดหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล 5. เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คำศัพท์ 45


47 6. ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน 7. บอกข้อมูล และความสำคัญของเทศกาล วันสำคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของจีน 8. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมของจีน ตามความสนใจ 9. ฟัง พูด อ่าน หรือเขียนประโยคหรือบทสนทนาในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน รวมผลการเรียนรู้ 9 ผลการเรียนรู้ 46


48 เกณฑ์การเก็บคะแนนวิชาภาษาจีน (จ22201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 โรงเรียนมัธยมเทศบาล 6 นครอุดรธานี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายการประเมิน-คะแนน ก่อนกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาค ปลายภาค K P A K K P A K บทที่1 汉语拼音 สัทอักษรจีนพินอิน 1.นักเรียนรู้คำศัพท์การทักทาย การบอกกเลิกชั้น เรียนนภาษาจีนได้ถูกต้อง 5 3 2 7 คะแนน - - - - 2. สามารถสนทนากับครูผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้น เรียนเป็นภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง บทที่2 你的个子真高!รูปร่างของคุณสูงจริง 1.นักเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับเรื่องร่างกายได้ 2.นักเรียนสามารถสนทนาตอบคำถามของบทเรียน 5 4 2 7 คะแนน - - - - เรื่องร่ายกายได้ บทที่3 这是谁的狗?นี่คือสุนัขของใคร 1.นักเรียนมีความรู้และจดจำคำศัพท์เกี่ยวกับเรื่อง สัตว์ 5 3 1 6 คะแนน - - - - 2.นักเรียนสามารอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีนได้ ถูกต้อง บทที่4 我去商店。ฉันไปร้านค้า 1.นักเรียนมีความเข้าใจคำศัพท์ภาษาจีนหมวด สถานที่ - - - - 5 3 2 7 คะแนน 2.นักเรียนสามารถสนทนากับครูผู้สอนและเพื่อน ร่วมชั้นเป็นภาษาจีนได้ถูกต้อง บทที่5 情感 อารมณ์ความรู้สึก 1.นักเรียนสามารถจำแนกอารมณ์และความรู้สึก บุคคลบอกความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวกับ ความรู้สึกได้ - - - - 5 4 2 7 คะแนน 2. นักเรียนเกิดทักษะการสื่อความรู้สึกเป็น ภาษาจีนได้ 47


Click to View FlipBook Version