The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMPHT, 2020-07-12 13:05:42

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

a

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

b

วิสยั ทัศน์

“สถาบันอดุ มศกึ ษาเฉพาะทางดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นนาํ ของ
อาเซยี นสร้างกําลังคนดา้ นสุขภาพเพือ่ ชมุ ชนสกู่ ารพฒั นาท่ียั่งยนื ”

“ขอต้อนรับนักศกึ ษาทกุ คน
ส…ู่ ครอบครัวเดียวกนั ”

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

c

คํานาํ

คู่มือปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่ ปีการศึกษา 2563 ฉบับน้ี จดั ทําขึน้ เพ่ือให้นักศึกษา
ของคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์ได้ทราบข้อมูลทีเ่ กี่ยวกับคณะ กฎระเบียบ
ท่ีสําคัญ และแนวการปฏิบัตติ นในวิทยาลยั ตลอดจนสวสั ดกิ ารตา่ งๆ ที่จะเปน็ ประโยชน์
ต่อนกั ศึกษาใหม่ ตง้ั แตก่ ้าวแรกจนกระทัง่ สําเรจ็ การศึกษา

สํานกั คณบดี คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ ขอขอบพระคุณสารจาก
อธกิ ารบดีและรองอธกิ ารบดสี ถาบนั พระบรมราชชนก สารจากผอู้ าํ นวยการท้งั 9
วทิ ยาลยั บทความของวทิ ยาลยั ในสงั กัด และการจัดรูปเล่มของภาควชิ าโสตทัศนศึกษา
ทางการแพทย์ วิทยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก

หวงั เปน็ อย่างย่งิ วา่ คมู่ ือปฐมนิเทศฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชนแ์ กน่ ักศึกษาใหมแ่ ละ
ผสู้ นใจท่ัวไป

สํานักงานคณบดี
คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์

กรกฎาคม 2563

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

d

สารบัญ 1

สารจากผบู้ ริหาร สถาบนั พระบรมราชนก 14
ลูก สบช.ต้องรู้
15
1) รู้จัก สบช. และคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ 23
2) กฎระเบียบที่สาํ คญั ที่นักศึกษาตอ้ งปฏิบัติ 31
3) กองทุนกู้ยมื และทนุ การศกึ ษาตา่ งๆ 33
4) ทําอยา่ งไรเรียนให้จบตามกาํ หนด 37
5) การสอบภาษาองั กฤษสําคญั อย่างไร 41
6) ชีวิตเดก็ หอในวิทยาลยั และปรบั ตวั อย่างไรกบั รุ่นพ่ี 45
7) เรยี นรอู้ ย่างไรในศตวรรษท่ี 21 49
8) อตั ลกั ษณ์วา่ ดว้ ยการให้บริการดว้ ยหัวใจความเป็นมนษุ ย์ 51
9) รอบรโู้ ควดิ 19 เราจะใชช้ ีวติ แบบ New Normal กนั อยา่ งไร 53
10) ขอ้ คดิ ในการหางานทํานอกเวลา 56
11) คา่ ใช้จ่ายในการศึกษา 59
12) ระเบียบการจดั การศึกษา
69
คณะผูจ้ ัดทํา

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

e

สารจากผบู้ ริหาร

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

1

สารจากอธิการบดี

โดย นายแพทย์สมชาย ธรรมสารโสภณ
อธกิ ารบดสี ถาบนั พระบรมราชชนก

สวัสดคี รับ

กระผม นายแพทย์สมชาย ธรรมสารโสภณ มุ่งมน่ั มสี ติมกี ําลังใจและตระหนกั ถงึ หน้าทีข่ อง

อธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนกในนาม ตนเอง พยายามฟนั ฝา่ อปุ สรรคทง้ั ปวงไปให้ได้
สถาบันพระบรมราชชนกขอต้อนรับนักศึกษาใหม่
คณาจารย์ทุกท่านพร้อมให้ความรู้ ชี้แนะแนวทาง
ท ุ ก ค น เ ข ้ า สู่ ค ณ ะ ส า ธ า ร ณ ส ุ ข ศ า ส ต ร์ และเป็นกําลังใจให้ลูกศิษย์ทุกคนก้าวผ่านไปถึง
แ ล ะ ส ห เ ว ช ศ า ส ต ร์ ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2 5 6 3
ด้วยความยินดียิ่งและขอแสดงความชื่นชม เส้นชัยอย่างสมภาคภูมิในระยะเวลาที่กําหนด
ในความสําเร็จของนักศึกษาทุกคนที่ได้สอบผ่าน ในหลักสูตร เพื่อไปพัฒนาตนเอง ครอบครัว
การคัดเลือกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสถาบันการ สงั คม และประเทศชาตติ อ่ ไป

ศึกษาแหง่ นี้

ในโอกาสนี้ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย
ซึ่งนับได้ว่าเป็นก้าวสําคัญก้าวหนึ่งในชีวิตของ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทุกคนเคารพสักการะ
นักศึกษาทุกคนที่ได้ก้าวเข้ามาสู่การศึกษา ได้โปรดอํานวยพรให้นักศึกษาใหม่ทุกคนจง
ในระดับที่สูงขึ้นอีกระดับหนึ่งนั่นคือสถาบัน ประสบความสุขความเจริญ มีกําลังใจที่แข็งแกร่ง
อุดมศึกษาซึ่งต้องดูแลรับผิดชอบในการแสวงหา มีสติปัญญาที่เพิ่มพูนและสําเร็จการศึกษา
ความรู้และการดูแลชีวิตส่วนตัวขอให้ทุกคน สมดงั ความตัง้ ใจ ดว้ ยความยินดีย่ิง

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2

สารจากรองอธกิ ารบดี

โดย ดร.ปัทมา ทองสม

รองอธิการบดสี ถาบันพระบรมราชชนก

ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกคนที่เข้ามา เ ป ็ น บ ุ ค ล า ก ร ด ้ า น ส ุ ข ภ า พ ท ี ่ ด ี ข อ ง ช า ติ
ศึกษาในคณะสาธารณสุขศาสตร์และ ในอนาคต เป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณ ฑิต
สหเวชศาตร์สถาบันพระบรมราชชนก นักศึกษาจะได้เรียนรู้การระเบียบชีวิตของตน
ปีการศึกษา 2563 ด้วยความยินดียิ่ง เองให้มีความตื่นตัวพร้อมจะไฝ่หาความรู้อย่าง
การศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นช่วงเวลา มีความสุขจงตั้งใจเรียนและใช้โอกาสในวิทยาลัยให้
ท ี ่ ส ํ า ค ั ญ ข อ ง ช ี ว ิ ต เ พ ร า ะ น ั ก ศ ึ ก ษ า จ ะ มี ค ุ ้ ม ค ่ า ส ร ้ า ง ภ ู ม ิ ค ุ ้ ม ก ั น ท ี ่ แ ข ็ ง แ ก ร ่ ง ทั้ ง
โอกาสพัฒนาตนเองในทุก ๆ ร ่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต ใ จ แ ล ะ เ ป ็ น บ ั ณ ฑ ิ ต ท ี ่ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ
ด้านไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทางด้าน พึงประสงค์ คอื เกง่ และดอี ย่างแท้จรงิ
ร่างกายการพัฒนาทางด้านสติปัญญา
การพัฒนาทางด้านสังคมและการพัฒนา “ ขออวยพรใหน้ กั ศกึ ษาใหม่ประจําปี
ตนเองทางด้านจิตใจขอให้นักศึกษาทุกคน
จงตั้งใจทําให้ดีที่สุดในการเรียนรู้และ การศึกษา 2563 ของวิทยาลยั ในสงั กัด
พัฒนาตนเองให้เรียนรู้อย่างมีความสุข คณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาตร์
สนุกกับพัฒนาตนเองเก่งทั้งวิชาการ
วิชาชีพและวิชาชีวิตเพื่อเป็นบัณฑิตที่มี สถาบันพระบรมราชชนก ทกุ คน
คณุ ภาพพร้อมทาํ งานได้อย่างมืออาชพี ประสบกบั ความสําเร็จทง้ั ดา้ นการศกึ ษาเล่าเรยี นและการ

ดาํ เนินชีวติ มสี ขุ ภาพพลานามัย
แข็งแรง สมบูรณส์ ามารถผ่านพ้น
อปุ สรรคปญั หาตา่ ง ๆ ท่ีพบเจอไปไดด้ ว้ ยดี
ประสบแต่ความสุข ความเจริญคดิ หวงั สง่ิ ใด

ท่ีดีงามขอให้สมความปรารถนาทุกประการ

ดว้ ยรกั และปรารถนาดี ”

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

3

สารจากคณบดี
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์
โดย ผศ.ดร. วนิ ัย สยอวรรณ
รักษาการตาํ แหนง่
คณบดคี ณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์

สถาบนั พระบรมราชชนก

ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกคนเข้าสู่วิทยาลัยใน อย่างรวดเร็วของโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงและ
ส ั ง ก ั ด ค ณ ะ ส า ธ า ร ณ ส ุ ข ศ า ส ต ร์ สามารถแยกแยะไดว้ ่าส่ิงใดดี สิ่งใดไมด่ ีและ
และสหเวชศาสตรด์ ้วยความยนิ ดอี ย่างย่ิงขอให้ เลือกปฏิบัติในสิ่งที่ดีงาม ได้เจอเพื่อนใหม่
ทกุ คนไดต้ ระหนกั วา่ เราไดเ้ ป็นนกั ศึกษา และมีไหวพริบมสี ติใหด้ กี อ่ นคบใคร
ระดับอุดมศึกษาของกระทรวงสาธารณสุขอย่ และให้ยั้งคิดอยู่เสมออย่าหลงผิดและอย่าไปใกล้
างสมภาคภูมิวัฒนธรรมการเรียนจะเปลี่ยนแป ชิดสง่ิ ไม่ดีและใช้ชีวิตอยา่ งระมัดระวัง
ลงไปจากเดมิ เราตอ้ งศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้ โดยเฉพาะชีวิตในมหาวิทยาลัยที่ต้องไกลจากค
จากอาจารย์ จากชวี ิตจรงิ จากส่ือ จากแหลง่ รอบครัวแต่คณบดเี ชื่อมนั่
ฝึกปฏิบัติงานเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ดีมี ในระบบที่ปรกึ ษาของแต่ละวทิ ยาลัยและ
คุณคา่ ตอ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ความรักของ ครบู าอาจารยข์ องทุกวทิ ยาลยั
การดําเนินชีวิตและประกอบอาชีพในด้านวิทยา
ศาสตรส์ ุขภาพ ขอให้นักศกึ ษาม่งุ มน่ั ฝา่ ฟันปัญหาและ
อุปสรรคขยันหมั่นเพียรและอดทนตลอด
ขอให้ทุกท่านเรียนรู้เพื่อนํามาพัฒนาตน ระยะเวลาที่ศึกษา ทั้ง 9 วิทยาลัยในสังกัด
เองให้เป็นผ้รู อบรูใ้ นด้านตา่ ง ๆ ดงั นนั้ พวกเรา เมื่อสําเร็จการศึกษาจะเป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ใน
ทุกคนจึงควรเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองอยู่ การรบั ใช้ชุมชนและเปน็ ทีภ่ าคภมู ิใจของ
ตลอดเวลาเพ่ือใหท้ นั ต่อการเปลยี่ นแปลง คณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

4

สารจากผู้อาํ นวยการ

วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สิรินธร จังหวดั พษิ ณุโลก
โดย นายชัยวัฒน์ พันธร์ ศั มี

ขอแสดงความยินดี และขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ ของคณะสาธารณสุขศาสตร์
และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ประจําปี
การศึกษา 2563 ขอให้ทุกคนมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการศึกษาเพื่อจะได้นําความรู้ ทักษะ
ต่างๆ ตามวิชาชีพ ที่ได้ศึกษาไปให้บริการแก่ประชาชนในอนาคตข้างหน้าได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และจะทําให้ประเทศมีบุคลาการด้านสุขภาพ ที่มี
คณุ ภาพเพ่ิมข้นึ อกี กลุ่มหนงึ่
ผมขออาราธนาคณุ พระศรีรตั นตรัย และสงิ่ ศักดิส์ ิทธท์ิ ั้งหลายท่ที ุกคนเคารพ
นับถอื ตลอดจนคณุ ความดีที่ทกุ คนสง่ั สมมา จงเปน็ พลงั ส่งเสรมิ ให้ทกุ คน
มีความสขุ ความเจรญิ และประสบความสําเร็จในการศกึ ษาตลอดไป

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

5

สารจากผอู้ าํ นวยการ

วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สิรนิ ธร จังหวัดชลบุรี
โดย นายประเสรฐิ อัตโตหิ

ขอแสดงความยินดี ต้อนรับสู่รั้ววิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก
ด้วยความเต็มใจยง่ิ ไมว่ า่ นักศกึ ษาจะเรยี นอย่หู ลักสูตรใด
วิทยาลัยโปรดระลึกไว้เสมอว่า ท่านคือนักศึกษาของสถาบันพระบรมราชนก
สถาบันการศึกษาเฉพาะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข
สถาบันพระบรมราชชนกจะกล่อมเกลาให้ทุกคนมีจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
และท้ายที่สุดเมื่อก้าวออกไปจากรั้ววิทยาลัย เราคาดหวังว่าทุกคนจะเป็นคน
“ เก่ง ดี มีความสุข ” สมดังเจตนารมยข์ องสงั คมท่ตี ั้งความหวังไว้

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

6

ในปกี ารศึกษา 2563 สารจากผอู้ ํานวยการ
คณะสาธารณสุขศาสาตร์
และสหเวชศาสตร์ วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร
โดยวิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวดั ขอนแกน่
จงั หวดั ขอนแกน่ รับนักศึกษาใหมร่ ะดับ โดย ดร.เสาวลักษณ์ ศรดี าเกษ
ปริญญาโทหลักสตู รสาธารณสขุ
ศาสตรมหาบณั ฑติ ระดบั ปริญญาตรี กระบวนการหลอ่ หลอมให้นักศึกษาถงึ พรอ้ มดว้ ย
2 หลกั สตู ร คือ คุณลักษณะดังกล่าวประกอบดว้ ยปัจจัยเก้อื หนุน
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต จากหลายๆสว่ นทัง้ กระบวนการจัดการเรียน
สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน การสอนในหลักสตู ร กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ รวมถงึ การสนับสนุนจากผูป้ กครองนักศกึ ษา
สาขาวชิ าทันตสาธารณสุข ทัง้ ด้านการใหค้ วามรัก เอาใจใส่ ใหก้ าํ ลังใจ
และระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง สนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยฯลฯ ในระหวา่ งที่นกั ศกึ ษา
2 หลกั สูตร คือ ศึกษาเลา่ เรยี นในวิทยาลยั ในสงั กัดพระบรมราชชนก
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู โดยคณาจารย์ทกุ ท่านพรอ้ มใหก้ ารสนบั สนุน
สาขาวิชาเทคนคิ เภสชั กรรม ชว่ ยเหลอื แก้ไขปญั หาตา่ งๆของนักศึกษาทเี่ กดิ ข้นึ
และหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้น ในระหว่างการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งทันทว่ งที
สูง สาขาปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินการแพทย์ และหนุนเสรมิ ให้การศกึ ษาเรยี นรู้ของนักศกึ ษาเปน็ ไป
ดว้ ยความราบรื่น เรียบรอ้ ย และมีประสทิ ธภิ าพ
หัวใจสาํ คญั ที่สุดของการพัฒนา สําหรับนักศึกษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป
บณั ฑติ คือการมงุ่ เนน้ ให้ถงึ พรอ้ มด้วย
คุณลกั ษณะสําคญั ตามอัตลักษณ์บัณ

ฑติ ของสถาบนั พระบรมราชชนกคอื

“บริการสขุ ภาพด้วยหวั ใจ
ความเป็นมนษุ ย์ ”

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

7

สารจากผอู้ ํานวยการ

วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร
จังหวัดอบุ ลราชธานี
โดย ดร. อรรณพ สนธิไชย

กอ่ นอ่นื ครยู นิ ดตี อ้ นรับนกั ศึกษาใหม่ การฝกึ ฝนวชิ าการ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความชาํ นาญ
ประจาํ ปีการศกึ ษา 2563 ทุกๆ คน กอ่ นที่จะออกไปรับใช้ประชาชน
และขอแสดงความยนิ ดกี ับผู้ปกครอง
ทุกๆ ท่าน ท่ีได้มอบความไว้วางใจ สําเร็จด่ังปณธิ านของสมเด็จพระมหิตลาธิ
สง่ บตุ รหลานของทา่ นเข้ามาเรยี น เบศร์ อดุลเดชวิกรมพระบรมราชชนก
ในร้ัวสิรินธรที่สมเดจ็ พระกนิษฐาธิ
ราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรตั น “พระบิดาของการแพทยแ์ ละสาธารณสุข”
ราชสดุ าฯ สยามบรมราชราชกุมารี วา่ ขอให้ถอื ประโยชนส์ ่วนตนเป็นกิจทส่ี อง
ไดพ้ ระราชทานนามวทิ ยาลัย
การสาธารณสขุ สิรินธร ประโยชน์ของเพอ่ื นมนษุ ย์เปน็ กิจท่ีหน่งึ
เพอ่ื เป็นสถานทีผ่ ลติ นกั ศึกษา ซ่ึงจะอยใู่ นร้วั สริ ินธรอยา่ งนอ้ ย 2-4 ปี
หลากหลายสาขาวชิ าชพี
และเป็นสถาท่ฝี ึกอบรม ทา้ ยทีส่ ุด ครขู ออํานวยพรให้นกั ศกึ ษาใหม่
ฝึกฝนวิชาการ ดั่งภาษาบาลที ว่ี า่ ทเ่ี ขา้ มาส่คู รอบครัวสริ ินธรทุกคน มีความสุข
“ทน. โต เสฏ.โฐ พร้อมท่ีปรบั ตัววิถชี ีวิตใหม่ (New Normal) ปรับตวั กับการเรยี น
มนสุ .เสส.”คือเป็นมนษุ ยท์ ปี่ ระเสริฐ การสอนแบบใหม่ ปรับตัวกับวถิ คี วามอยแู่ บบใหม่
แล้ว ท่ีไดผ้ ่านการเรยี นการสอน
โดยมีครูเสมอื นเป็นหัวหน้าครอบครัว
พรอ้ มท่จี ะดูแล ให้ลูกๆ

สิรินธรทกุ คนประสบความสาํ เร็จดัง่ เปา้ หมายท่ี
วางไว้ รวมทง้ั เป็นคนดี มวี นิ ยั มีจิตบริการ

ด้วยหัวใจความเปน็ มนษุ ย์ มคี ุณธรรม มีความซือ่ สตั ย์สจุ ริต
ใฝร่ ูต้ ามทักษะวิชาชพี อนั จะนาํ มาซึง่ สร้างชื่อเสยี ง
ศกั ดศิ์ รีให้กบั ตนเอง เกยี รติภูมขิ องวิทยาลยั

และสถาบนั พระบรมราชชนก สมกับเป็น “ลกู หลานพระบดิ า”

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

8

สารจากผู้อํานวยการ

วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ นิ ธร

จังหวดั ยะลา
โดย นายสนุ ทร ปราบเขต

ในนามของผูบ้ ริหาร ในชว่ งระยะเวลา 4 ปีหรือ 2 ปีตามท่หี ลักสตู รกาํ หนด
คณาจารย์และบุคลากรของวทิ ยาลยั กา ทน่ี กั ศึกษามาศกึ ษา ณ วิทยาลยั ฯ

รสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวดั ยะลา ในสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนก ขอใหน้ ักศกึ ษาทกุ คน
ขอแสดงความยนิ ดีและขอต้อนรบั ตงั้ ใจศกึ ษาเล่าเรยี นสรา้ งองคค์ วามรูท้ างวชิ าการ
นกั ศกึ ษาใหมท่ กุ คนในวิทยาลยั ฯ
ใหเ้ ขม้ แขง็ มสี ว่ นร่วมกับกจิ กรรมตา่ งๆนอกหอ้ งเรยี นและ
สังกดั สถาบันพระบรมราชชนก เสรมิ ทกั ษะการใช้ชีวติ การทาํ งานรว่ มกบั ผอู้ ื่น
ประจําปกี ารศึกษา 2563 สร้างตนเองใหม้ ีความสามารถทกุ ดา้ น
ด้วยความยนิ ดยี ิง่ พร้อมทจ่ี ะปรับตัววิถีชิวิตใหม่ในสังคมยคุ ปจั จุบนั
สถาบันพระบรมราชชนก
มที ักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ภายใต้วสิ ยั ทศั น์ประเทศไทย
เป็นสถาบนั อดุ มศกึ ษาเฉพาะทาง 2580 มีคุณลักษณะ เกง่ ดี มีสุข
ในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข
เป็นสถาบนั อุดมศกึ ษาในกาํ กับของ เปน็ คนมีคุณภาพเป็นทค่ี าดหวังของสงั คมและสามารถ
กระทรวงสาธารณสุขแห่งแรกตาม นาํ ความรู้และประสบการณไ์ ปพัฒนาระบบสุขภาพ
พระราชบัญญตั สิ ถาบนั พระบรม สงั คมและประเทศชาตติ อ่ ไป
ในโอกาสน้ี ขออวยพรใหน้ กั ศกึ ษาใหม่
ราชชนก พ.ศ. 2562 ประจําปีการศึกษา 2563 ทกุ คน
โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือผลติ และ
พฒั นาบุคลากรตามความต้องการ มีสุขภาพพลานามยั แข็งแรง ท้ังทางด้านรา่ งกาย จิตใจ
ประสบความสําเรจ็ ในการศกึ ษา
ของกระทรวงสาธารณสุข
ให้การศกึ ษาสง่ เสรมิ วชิ าการและ และทุกๆดา้ นท่ไี ด้มุง่ หวงั ไว้ทกุ ประการ
วชิ าชพี ทาํ การสอน ทําการวจิ ยั
ให้บรกิ ารทางวชิ าการแกส่ งั คม
ทะนุบาํ รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

9

สารจากผ้อู าํ นวยการ

วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั สพุ รรณบุรี
โดย ดร.อาภาพร กฤษณพนั ธ์ุ
รกั ษาราชการแทนตําแหนง่ ผอู้ าํ นวยการ

ขอตอ้ นรับนกั ศึกษาทกุ คนเขา้ สู่คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตรด์ ้วยความ
ยนิ ดยี ิ่ง และขอแสดงความชน่ื ชมนกั ศกึ ษาทุกคนทไ่ี ด้สอบผ่านการคัดเลอื กเขา้ มาเปน็
ส่วนหนึง่ ของสถาบันการศกึ ษาแหง่ น้ี ซ่งึ นับได้วา่ เป็นก้าวสําคญั กา้ วหน่งึ ในชวี ิตของ
นักศึกษาทกุ คนเพราะต่อจากนไ้ี ปจนครบ 4 ปี นกั ศึกษาจะได้ศกึ ษาเรยี นรูเ้ พอ่ื เตรียม
เปน็ ผู้ท่มี ีส่วนสาํ คัญในการขับเคล่อื นระบบสุขภาพของประเทศ ซ่ึงจะเหน็ ไดจ้ ากการ
ระบาดของ โรค COVID-19 ในปีทผ่ี า่ นมา
ขอให้นกั ศกึ ษาตั้งใจศกึ ษาเก็บเก่ยี วความรู้ และประสบการณ์ ทง้ั ในหอ้ งเรยี น การฝึก
ประสบการณ์ภายนอกห้องเรยี น รวมทงั้ การทาํ กจิ กรรมกบั สถาบัน เพื่อนาํ ไปใช้ใน
การทาํ งาน และดาํ เนนิ ชีวิตภายหลงั จากจบการศกึ ษาตอ่ ไป
ขอใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนสําเร็จการศึกษาดว้ ยคะแนนดี ๆ เปน็ คนดีของสังคมต่อไป และ
ประสบความสําเร็จตามทปี่ รารถนาทกุ ประการ

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

10

สารจากผู้อํานวยการ

วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรงั
โดย นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจรญิ

เมอ่ื กา้ วพน้ จากรว้ั โรงเรยี น และยา่ งก้าวเขา้ สู่การ สําหรับระบบสขุ ภาพและสังคมไทย อนั จะนาํ มาซงึ่ สังคมแหง่ ภมู ิ
เร่ิมต้นชีวติ ของการเป็นนักศกึ ษา ในระดบั อดุ มศึกษา อยา่ เพ่งิ ฝนั ไกล ปัญญาและการเรียนรู้ มีความสมานฉนั ท์และเออื้ อาทร โดยจะเปน็
ไปถึงวนั สําเรจ็ การศึกษา แตค่ วรคิดทจี่ ะเรง่ ตกั ตวงแสวงหาความรู้ ฐานรากของการพฒั นาระบบสุขภาพและประเทศอยา่ งสมดุล
ทกั ษะ ประสบการณ์ทั้งในและนอกห้องเรียนในช่วงชีวิตของการเป็น มีความมน่ั คง มั่งคัง่ และย่ังยนื ตอ่ ไป
นักศกึ ษาของสถาบนั แหง่ นี้ อีกนัยหน่งึ กค็ ือ “เร่งตักตวงทัง้ วชิ าชีพ
และวชิ าชีวติ ” รวมถงึ การที่จะนาํ ความรแู้ ละประสบการณไ์ ป นอกจากนัน้ แล้ว ศกึ ษาจะต้องมีความพรอ้ มท่จี ะเปน็
ประยกุ ต์ใช้ให้เกิดมรรคผลในการทาํ งานเมือ่ สําเรจ็ การศึกษาแลว้ ส่วนหน่งึ ของประชาคมอาเซยี น (ASIAN Community; AC) ไมว่ า่ จะ
เพียงมคี วามมุ่งมนั่ ทาํ ได้ดังกล่าวน้ี ก็ถอื วา่ ไดป้ ระสบความสาํ เรจ็ แลว้ เปน็ ในดา้ นประชาคมการเมืองและความมน่ั คง (ASIAN Political-
เมื่อถงึ วนั รับพระราชทานประกาศนียบัตรหรอื ปริญญาบัตร จะแปลก Security Community; APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASIAN
ใจย่ิงที่วันนน้ั มาถึงอย่างรวดเรว็ แตถ่ า้ มุง่ หวงั เพยี งเพือ่ ตอ้ งการ Economic Community; AEC) ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรม
ประกาศนยี บัตรหรือปรญิ ญาบัตร โดยไมใ่ ฝ่ใจเรยี นรู้และใฝ่ควา้ หา อาเซียน (ASIAN Socio-Cultural Community; ASCC) ดงั นน้ั
ประสบการณ์ จดุ หมายปลายทางยอ่ มจะห่างไกลและเลือนราง และ นักศกึ ษาจะตอ้ งพัฒนาตนเองให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นา
อาจไปไม่ถึงจดุ หมายที่ตอ้ งการ ศักยภาพทเี่ ก่ยี วขอ้ งในทกุ ๆ ดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การสอ่ื สารและ
การอย่รู ่วมกันดว้ ยความเขา้ ใจระหว่างประชากรของอาเซยี นบน
ขอตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศึกษา 2563 ฐานะทเ่ี ท่าเทยี มกันเมอื่ เปน็ เช่นน้นี กั ศึกษาพึงตรวจสอบวตั ถปุ ระสงค์
ทุกหลักสูตรของสถาบัน ด้วยความยินดียิง่ ขอให้ใช้เวลาใน สมรรถนะคุณลกั ษณะอัตลักษณ์และอ่ืนๆ ในหลักสตู รท่ตี นมาเรียน
การศึกษาเรียนรอู้ ยา่ งมีความสขุ และมีความสขุ มากยงิ่ ขน้ึ เมื่อไดก้ ้าว ต้ังแต่วันน้ีเป็นต้นไปวา่ “เราพร้อมหรือยงั ต้องพัฒนาสว่ นใด มาก
ไปจนถงึ พรมแดนแหง่ ความรู้ในวชิ าชีพของตน เพอ่ื จะเป็นผู้สําเรจ็ นอ้ ยเพียงไร” จงึ จะเป็นประชากรยคุ Thailand 4.0 ที่พร้อมจะเปน็
การศึกษาและเป็นบณั ฑิตทน่ี า่ ภาคภมู ิของสถาบนั และเปน็ ประชากร ส่วนหน่งึ ของอาเซียน รวมถึงการมีวิถีชวี ิตใหม่ (New Normal) ใน
ที่มีคุณภาพทางดา้ นสตปิ ญั ญา เป็นคนดี มีคุณธรรม ซื่อสตั ย์ สจุ ริต สถานการณ์ COVID-19 ร่วมกับพลโลกด้วย

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

11

สารจากผอู้ ํานวยการ

วทิ ยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข
กาญจนาภิเษก
โดย ดร.นพมาส เครอื สวุ รรณ
รกั ษาการในตําแหนง่ ผ้อู าํ นวยการ

ขอแสดงความยนิ ดี และตอ้ นรับกบั นักศึกษาใหมท่ ุกท่าน สสู่ ถาบันพระบรมราชชนก
ซ่งึ เปน็ สถาบนั อุดมศกึ ษาเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ การเลอื กเขา้ มาศกึ ษาใน
สถาบันแหง่ นถ้ี อื ไดว้ า่ ทา่ นเป็นผ้ทู ี่มีพน้ื ฐานจติ ใจท่เี สียสละมคี วามปรารถนาและยนิ ดที จ่ี ะ
ดูแลเอาใจใส่ต่อบคุ คลอน่ื

การเป็นนักศกึ ษาในระดับอุดมศึกษาน้ันเป็นช่วงทตี่ อ้ งปรับตวั เขา้ กับส่ิงแวดล้อม
ใหม่ ทั้งสถานที่ เพื่อน อาจารย์ และระบบการเรียนการสอน ซึ่งต้องมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อ
ตนเองมากขน้ึ การเปน็ ผ้มู วี ินยั ใฝ่เรียนใฝ่รู้ มีความซื่อสตั ย์ มีนํา้ ใจสามารถทํางานรว่ มกบั
ผ้อู ื่นได้ จะทําใหส้ ามารถประสบความสาํ เรจ็ ได้โดยไม่ยาก ขอใหท้ กุ ท่านอยใู่ นสถาบันแหง่ น้ี
อยา่ งมคี วามสขุ และประสบความสาํ เร็จตามที่ปรารถนาเพ่อื กลบั ไปเป็นกําลังสาํ คัญของ
ระบบบรกิ ารสขุ ภาพของประเทศตอ่ ไป

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

12

สารจากผู้อาํ นวยการ

วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร
จังหวดั ปราจีนบุรี

โดย นายสมศกั ด์ิ มงคลธนวัฒน์

ขอต้อนรบั นักศกึ ษาใหมท่ ุกหลกั สตู ร
ทไ่ี ดเ้ ข้ามาศึกษาอยู่ในวิทยาลยั ในสงั กัดคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์
สถาบนั พระบรมราชนก กระทรวงสาธารณสุข ประจาํ ปกี ารศกึ ษา 2563
ในนามของวิทยาลัยการแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศร จงั หวัดปราจีนบุรี
ขอแสดงความยินดีและขอตอ้ นรบั นกั ศึกษาใหมท่ กุ คนทุกหลกั สูตร
ทีไ่ ดเ้ ข้ามาศกึ ษาอยใู่ นวิทยาลัยต่างๆ และขอให้นกั ศกึ ษาทกุ คน
ไดต้ ง้ั ใจศกึ ษาเล่าเรยี นในหลักสูตรท่เี ข้าศกึ ษา หมน่ั ศกึ ษาค้นคว้าหาความรู้
ฝกึ ฝนตนเองอยา่ งสมา่ํ เสมอ

เพ่ือให้มคี วามรู้ความสามารถในวิชาชีพให้พรอ้ มทจ่ี ะออกไปปฏบิ ัติงานรบั ใช้ประชาชน
และสงั คมส่วนรวม และขอถือโอกาสน้ี อวยพรใหก้ บั นกั ศึกษาใหมท่ ุกคน
มคี วามสขุ กบั การเรยี นการสอนและการใชช้ ีวติ อยใู่ นวิทยาลยั
และจงประสบความสาํ เร็จการศกึ ษาตามหลักสตู รของตนทกุ คน

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

13

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

14

ลกู สบช. ต้องรู้

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

1) รู้จัก สบช. และคณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 15

เรียบเรียงโดย ดร.ภก เกยี รตศิ ักดิ์ แซ่อวิ เภสัชกรชาํ นาญการพเิ ศษ

กระทรวงสาธารณสขุ ไดม้ ีการจดั ต้ังหนว่ ยงานทท่ี าํ หนา้ ท่ี บางส่วนของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2535 และพระราชกฤษฎีกา
ในการผลิตบุคลากรด้านสขุ ภาพ โดยเน้นการผลิตบุคลากรทม่ี ี แบง่ ส่วนราชการสาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2536 ให้
ภมู ิลาํ เนาอยู่ในชุมชนและท้องถิน่ เม่ือสําเร็จการศกึ ษาแล้วกลับไป สถาบันพฒั นากําลงั คนด้านสาธารณสขุ มฐี านะสงู กวา่ กองแต่ตํา่ กวา่
ปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพทเ่ี ป็นภูมลิ ําเนาตนเอง เพ่อื เปน็ กรม เพ่อื รวมหนว่ ยงานต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั การผลติ บคุ ลากรดา้ น
การแกป้ ัญหาการขาดแคลนบคุ ลากรตามเขตชนบทที่ห่างไกลและ สุขภาพท่อี ยู่ในกรมกองต่าง ๆ ได้แก่ วิทยาลยั พยาบาล วิทยาลยั การ
ทรุ กนั ดาร สาธารณสขุ ภาค โรงเรียนตา่ ง ๆ ในสังกดั กรมการแพทย์ กรมควบคมุ
โรคติดต่อ กรมอนามัย กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กองฝกึ อบรม
ระยะแรกการผลติบคุ ลากรด้านสุขภาพไดก้ ระจายอยตู่ าม และกองงานวทิ ยาลยั พยาบาล สาํ นักงานปลดั กระทรวง กระทรวง
หนว่ ยงานระดับกรมและกองต่าง ๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ และ สาธารณสขุ มาอย่ใู นสังกัดเดียวกนั เพอื่ ใหเ้ ปน็ เอกภาพในด้านการ
ต่อมาจงึ ได้จัดต้ัง สถาบันพฒั นากาํ ลงั คนด้านสาธารณสขุ เป็น ผลติ และพฒั นาบคุ ลากรของกระทรวงสาธารสุข
หน่วยงานตามพระราชบัญญตั โิ อนอํานาจหน้าท่ีและกจิ การบรหิ าร

สถาบนั พฒั นากําลงั คนด้านสาธารณสขุ ไดร้ บั พระราชทานพระบรมราชานญุ าต เชญิ พระนามาภิไธย สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร อดลุ ยเดช
วิกรม พระบรมราชชนก เปน็ ช่ือสถาบนั การศกึ ษาของกระทรวงสาธารณสุข ว่า สถาบันพระบรมราชชนก ตามหนังสอื สํานกั งานเลขาธกิ าร ที่ รล
0003/12819 ลงวนั ท่ี 27 กนั ยายน 2537 และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 112 ตอน 53 ก วันท่ี 25 ธนั วาคม 2538 โดยสถาบนั พระบรม
ราชชนกมีอํานาจหน้าท่ตี ามกฎหมาย 7 ประการ (ราชกิจจานเุ บกษา, 2552) คือ

1) เสนอความคิดเหน็ ในการกําหนดนโยบายและความต้องการด้านการผลิตและการพฒั นากาํ ลังคนด้านสขุ ภาพของประเทศ
2) จัดทําแผนการผลติ และพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพใหส้ อดคลอ้ งและตอบสนองนโยบาย และความตอ้ งการกาํ ลงั คนของกระทรวง
สาธารณสขุ
3) ผลิตและพฒั นาบุคลากรด้นสุขภาพและประสานงานกับหน่วยงานอ่นื ทเี่ กย่ี วขอ้ ง
4) พัฒนาระบบข้อมลู และงานวิจัย สรา้ งองคค์ วามร้กู ารพัฒนากําลงั คน
5) พฒั นามาตรฐานการศึกษาและวิชาการดา้ นการศกึ ษาและการฝึกอบรมบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ
6) กาํ กับและดแู ลวทิ ยาลยั ในสงั กัดสถาบันพระบรมราชชนกใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานบรกิ ารสุขภาพแก่ประชาชนท่ัวไปและเป็นแหล่งศกึ ษา
ค้นควา้ วิจัย และฝึกภาคปฏิบัติของอาจารยแ์ ละนักศึกษา
7) ปฏิบตั งิ านร่วมกบั หรอื สนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานอื่นทเ่ี ก่ยี วขอ้ งหรอื ไดร้ ับมอบหมาย

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

1) รูจ้ ัก สบช. และคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 16

พฒั นาการการผลิตบคุ ลากรด้านพยาบาล

กระทรวงสาธารสขุ เรมิ่ มกี ารผลติ บุคลากรด้านสขุ ภาพ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2473 ตงั้ แตก่ ารผลิตผดงครรภ์ เพื่อแกป้ ญั หาอนามยั แมแ่ ละเดก็

ที่วชิรพยาบาล (ปัจจบุ ันคอื วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนนี พรตั น์วชริ ะ) และการผลิตผชู้ ว่ ยแพทย์ พ.ศ.2478 เพื่อแกป้ ญั หาเกีย่ วกับโรคตดิ ตอ่ และ

การพัฒนาสุขาภบิ าล

โรงเรียนพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขแห่งแรกกอ่ ตงั้ ขึน้ ณ โรงพยาบาลกลาง ในปีพ.ศ. 2489 ช่อื ว่า “โรงเรยี นพยาบาลผดุงครรภ์

และอนามัยกรมการแพทย”์ ต่อมาไดย้ า้ ยโรงเรียนมาดาํ เนนิ การทโ่ี รงพยาบาลหญงิ (โรงพยาบาลราชวถิ ี) ช่ือวา่ “โรงเรยี นพยาบาลโรงพยาบาล

หญิง” (ปัจจบุ นั คือวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี กรงุ เทพ) จากนั้นเพอ่ื แก้ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล จึงได้มีการกอ่ ตงั้ โรงเรยี นพยาบาลผดุง

ครรภ์และอนามยั ในส่วนภมู ิภาคเปน็ แห่งแรกขึ้นทจี่ งั หวดั พิษณุโลก ณ โรงพยาบาลพุทธชินราช เมือ่ ปี พ.ศ.2492 และ โรงเรยี นพยาบาลผดุงครรภ์

และอนามยั ณ จังหวดั นครราชสีมา พ.ศ.2498 จนถงึ ปัจจบุ นั มวี ิทยาลัยพยาบาลในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนกจาํ นวน 30 แหง่ และทกุ แหง่

ได้รบั การพระราชทานพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ใชช้ อ่ื วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยกเวน้ วทิ ยาลัยท่ีไดร้ บั พระราชทานช่ืออยกู่ ่อนแล้วใหย้ ังคง

ชอ่ื ท่ไี ดร้ บั พระราชทานอยู่ตอ่ ไป ได้แก่

1) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นพรตั น์วชิระ พ.ศ. 2482

2) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ พ.ศ. 2489

3) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พทุ ธชนิ ราช พ.ศ. 2492

4) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา พ.ศ. 2489

5) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ขอนแกน่ พ.ศ. 2504

6) วิทยาลยั พยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบรุ ี พ.ศ. 2508

7) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สงขลา พ.ศ. 2509

8) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สระบรุ ี พ.ศ. 2510

9) วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยะลา พ.ศ. 2510

10) วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รรี ชั พ.ศ. 2512

11) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารกั ษ์ นครสวรรค์ พ.ศ. 2513

12) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค์ พ.ศ. 2513

13) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎรธ์ านี พ.ศ. 2513

14) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี พ.ศ. 2514

15) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ พ.ศ. 2516

16) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี พ.ศ. 2517

17) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อตุ รดติ ถ์ พ.ศ. 2517

18) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี พ.ศ. 2519

19) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท พ.ศ. 2520

20) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี เชยี งใหม่ พ.ศ. 2520

21) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาํ ปาง พ.ศ. 2521

22) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จงั หวัดนนทบุรี พ.ศ. 2524

23) วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท พ.ศ. 2525

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

1) รูจ้ ัก สบช. และคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์ 17

24) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา พ.ศ. 2525
25) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช พ.ศ. 2525
26) วิทยาลัยพยาบาลศรมี หาสารคาม พ.ศ. 2526
27) วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2532
28) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรงั พ.ศ. 2533
29) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี พ.ศ. 2539
30) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ พ.ศ. 2558

พัฒนาการการผลติ บุคลากรด้านสาธารณสุข
กระทรวงสาธารสุขมกี ารผลิตบุคลากรด้านสาธารณสุข เพอื่ ปฏิบัตหิ น้าทใ่ี นการป้องกนั โรค ส่งเสริมสขุ ภาพ และการอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม

โดยเริ่มตั้งแตป่ ี พ.ศ.2498 มสี ถานอี นามยั ชน้ั หน่งึ 91 แหง่ และสถานอี นามยั ชน้ั สอง 644 แห่ง และกระทรวงสาธารณสขุ มีนโยบายในการขยาย
สาขาไปให้ครอบคลุมทกุ ตําบลของประเทศไทย แตอ่ ตั รากําลงั ของแพทย์ พยาบาล และเจา้ หนา้ ทีไ่ ม่เพยี งพอ กรมอนามยั ในขณะนัน้ จงึ จดั ทาํ
หลักสูตรอบรมพนักงานอนามัย และดาํ เนนิ การจดั อบรม ณ ศนู ย์อบรมและแสดงการปฏิบตั กิ ารอนามยั จงั หวดั ชลบรุ ี (ปจั จุบนั คอื วทิ ยาลยั การสา
ธารสขุ สริ นิ ธร จังหวดั ชลบุรี) ในปีพ.ศ.2494 ต่อมามกี ารจดั ทําหลักสูตรอบรมและพฒั นาใหเ้ ป็นหลักสูตรการศกึ ษาในระบบ

1. หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน
เร่ิมจากการพฒั นาจากหลกั สูตรอบรมเปน็ หลกั สูตรการศึกษาในระบบ
พศ.2500 จัดทาํ “หลกั สูตรพนกั งานอนามยั ” โดยรับผูส้ ําเร็จการศึกษาระดบั มธั ยม 6 หรอื ม.ศ.3 เขา้ ศกึ ษาเปน็ เวลา 1 ปี
พศ.2511 พัฒนา “หลักสตู รพนักงานอนามยั ” โดยรับผูส้ าํ เร็จการศึกษาระดับมัธยม 6 หรือ ม.ศ.3 เข้าศกึ ษาเปน็ เวลา 1 ปี 6 เดอื น
พศ.2520 พฒั นา “หลักสตู รพนกั งานอนามัย” โดยรับผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยม 6 หรอื ม.ศ.3 เขา้ ศึกษาเป็นเวลา 2 ปี
พศ.2525 จดั ทาํ “หลักสตู รประกาศนยี บัตรเจ้าพนกั งานสาธารณสขุ (พนกั งานอนามัย) พ.ศ.2525” เพ่ือแกป้ ัญหาว่าผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษา

หลกั สูตรพนกั งานอนามยั ในขณะน้ันมีอายุน้อยมาก บางรายไมถ่ งึ 18 ปี อาจทาํ ใหก้ ารตัดสนิ ใจ ความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ีผิดพลาดไดง้ ่าย อกี ท้ังขาด
ความเชอื่ ถอื ของประชาชนในท้องถิ่น โดยมกี ารพฒั นาปรบั เพม่ิ เนื้อหาและโครงสรา้ งของหลกั สูตรให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการจดั การศกึ ษา
ระดับอุดมศกึ ษา และรบั ผสู้ าํ เร็จการศึกษาระดบั ม.ศ.5 (มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ในปจั จุบนั ) เขา้ ศกึ ษาเป็นเวลา 2 ปี

พศ.2534 มกี ารปรับปรงุ หลักสูตรและเปลยี่ นชือ่ เป็นประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2534) และเมอ่ื มีการก่อต้งั
สถาบนั พฒั นากาํ ลงั คนด้านสาธารณสุข ปรับปรงุ หลักสตู รอีกคร้ังเปน็ ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์ (สาธารณสขุ ชมุ ชน) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.
2538 และมกี ารก่อตง้ั วิทยาลัยการสาธารณสุขเพ่มิ อกี 3 แหง่ รวมเปน็ 7 แหง่ ตามลําดบั คอื

1) วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2494
2) วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จงั หวดั ขอนแก่น พ.ศ. 2506
3) วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จงั หวัดยะลา พ.ศ. 2509
4) วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั พษิ ณโุ ลก พ.ศ. 2514

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

1) รจู้ ัก สบช. และคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 18

5) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดตรงั พ.ศ. 2538
6) วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอบุ ลราชธานี พ.ศ. 2538

7) วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2539

เพื่อให้มีการพัฒนาคณุ ภาพของการบริการสุขภาพในระดับทอ้ งถน่ิ จึงมกี ารจดั ทําหลกั สตู รในระดับปริญญาตรี ใชช้ ื่อวา่ “สาธารณสุขศา
สตรบณั ฑติ (สาธารณสุขชมุ ชน) เร่มิ ผลติ บัณฑิต ทว่ี ทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จงั หวดั ชลบรุ ี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2540 เป็นต้นมา โดยมกี ารสบทบกับ
มหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ เพ่ือรบั ปรญิ ญาบตั ร โดยระยะแรก วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี สมทบกบั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวดั พษิ ณุโลกสมทบกับคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วทิ ยาลยั การ
สาธารณสขุ สริ นิ ธร จังหวัดอบุ ลราชธานี สมทบกบั คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธร จังหวัดตรัง สมทบ
กับมหาวทิ ยาลยั ทักษณิ และวทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จังหวัดยะลา สมทบกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎยะลา ต่อมาจึงมีการ
ปรับปรุงหลกั สูตร สาธารณสุขศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน โดยวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จาํ นวน 6 แหง่ มีการสมทบกับคณะ
สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ส่วน วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวัดยะลา สมทบกับ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎยะลา
จดั ทาํ หลักสูตร วทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน

สําหรบั หลักสูตรประกาศนียบัตรสาธารณสขุ ศาสตร (สาธารณสุขชมุ ชน) มีการจดั การเรยี นการสอนต่อเน่ืองจนถึงปี พ.ศ.2554 จึงยุตกิ าร
ผลติ ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสขุ ท่พี ิจารณาเห็นวา่ บคุ ลากรของกระทรวงสาธารณสขุ ทปี่ ฏิบัตงิ านในท้องถน่ิ ควรมวี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั
ปริญญาตรีเพอื่ พัฒนาบทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบใหค้ รอบคลมุ ขอบเขตการทํางานของระบบบรกิ ารสขุ ภาพและมคี วามทัดเทียมกบั บุคลากรท่ี
ปฏบิ ตั งิ านในท้องถน่ิ ของกระทรวงอ่ืน ๆ รวมท้งั หน่วยงานปกครองสว่ นท้องถน่ิ

2. หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าทันตสาธารณสุข
จากแผนพัฒนาด้านทนั ตสุขภาพของเด็กในประเทศของกระทรวงสาธารณสขุ ร่วมกับองค์การอนามัยโลกในปี พ.ศ.2505 พบวา่ ประทศ

ไทยขาดแคลนทันแพทย์เป็นจาํ นวนมาก ทําให้ไมส่ ามารถดูแลทันตสุขภาพใหแ้ ก่ประชาชนได้อยา่ งท่ัวถงึ เพ่อื เป็นการแก้ไขปญั หาในระยะยาวเพ่ือ
หวงั ผลสําเร็จในการควบคมุ และปอ้ งกนั โรคในชอ่ งปาก และปัญหาทันตสาธารณสขุ จึงไดผ้ ลติ ทนั ตบคุ ลากรระดบั ผชู้ ่วยเพือ่ แบ่งเบาภาระของทนั ต
แพทย์

พ.ศ. 2511 จัดการเรียนการสอนหลกั สตู รทันตาภบิ าล ครั้งแรกท่ีโรงเรยี นทันตาภบิ าลชลบุรี โดยรบั ผู้สําเร็จการศึกษาชั้น ม.ศ.5
(มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ในปจั จบุ นั ) เข้าศึกษาเปน็ ระยะเวลา 1 ปี 6 เดอื น

พ.ศ. 2514 ปรบั ปรุงหลักสูตร ขยายเวลาการศึกษาเปน็ 2 ปี
พ.ศ. 2529 นําหลกั สตู รเจ้าพนักงานสาธารณสขุ และเกณฑ์มาตรฐานของทบวงมหาวทิ ยาลัยมาปรบั ปรุงใหผ้ ู้สาํ เรจ็ การศกึ ษาสามารถเขา้
ศึกษาต่อเนื่องในหลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรบัณฑิตได้
พ.ศ.2538 ปรบั ปรงุ หลกั สตู รเปน็ ประกาศนยี บตั รสาธารณสขุ ศาสตร์ (ทันตสาธารณสุข) หลกั จากนน้ั ไดข้ ยายบทบาทหนา้ ทีบ่ คุ ลากรทนั ต
สาธารณสุขใหท้ ําหนา้ ท่ีสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากในการทนั ตสาธารณสุขให้ครอบคลมุ พืน้ ท่ที ัว่ ประเทศ จงึ ไดจ้ ดั ทาํ หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี โดย
ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากทนั ตแพทยสภา ชือ่ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าทนั ตสาธารณสขุ จัดการเรยี นการสอนท่วี ทิ ยาลยั การ
สาธารณสขุ สิรินธร จงั หวดั ชลบรุ ี และ วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั ขอนแกน่ ในปี พ.ศ.2554 และขยายไปอกี 5 วิทยาลยั ในปี พ.ศ.2555
ทัง้ น้ีกระทรวงสาธารณสขุ ได้งดผลิตหลักสูตรประกาศนยี บัตรสาธารณสุขศาสตร์ (ทนั ตสาธารณสขุ ) ต้ังแตป่ ี พ.ศ.2556

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

1) รจู้ ัก สบช. และคณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 19

3. หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู (เทคนคิ เภสัชกรรม)
สบื เนื่องดว้ ยกระทรวงสาธารณสขุ มีหน่วยงานบรกิ ารสขุ ภาพกระจายอยใู่ นทุกพ้นื ที่ แต่เภสชั กรที่จะทําหน้าท่ีในการบริหารคลังยา จดั การ

ระบบจา่ ยยายังไมเ่ พยี งพอ รวมทงั้ การผลติ ยาอย่างงาน และการผลติ นาํ้ เกลอื ดังนั้นในปี พ.ศ.2518 จึงไดม้ ีการจัดต้งั โรงเรียนผ้ชู ่วยเภสัชกร ข้นึ ท่ี
โรงพยาบาลราชวิถี โดยรับผ้สู ําเรจ็ การศึกษาชน้ั ม.ศ.3 (มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ในปัจจุบนั ) เขา้ ศกึ ษาเปน็ ระยะเวลา 2 ปี และในปีพ.ศ. 2523 มีการ
พฒั นาหลกั สูตรและปรับเป็นรับผูส้ ําเร็จการศึกษาชัน้ ม.ศ.5 (มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ในปัจจบุ ัน) เขา้ ศึกษาเปน็ ระยะเวลา 2 ปี เปลย่ี นชอื่ เป็น หลกั สูตร
เจ้าพนักงานเภสัชกรรม

ต่อมาวิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ได้นําหลกั สูตรเจ้าพนกั งานเภสัชกรรมไปจัดการเรียนการสอน ในปี พ.ศ. 2527
วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวัดขอนแกน่ ในปี พ.ศ.2528 เพ่อื เปน็ การขยายกาํ ลงั การผลิตให้ครอบคลุมทุกพน้ื ที่ และได้มกี ารปรับปรุง
หลกั สตู รอกี ครงั้ เป็นหลักสตู ร เจ้าพนักงานเภสัชกรรม พ.ศ.2529 และขยายการผลติ ไปที่ วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จงั หวดั ชลบุรี และ
วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวดั พิษณุโลก

มคี วามรว่ มมือกบั คณะเภสชั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ทําให้มีการปรบั ปรงุ หลกั สตู รอกี คร้งั ในปี พ.ศ.
2536 เปน็ หลักสตู รประกาศนียบัตรเทคนิคเภสัชกรรม พ.ศ.2536 หลงั จากนน้ั ปรบั ปรุงหลกั สตู รให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปวส. ชอ่ื
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สงู สาธารณสขุ ศาสตร์ (เทคนิคเภสชั กรรม)

พ.ศ.2556 ปรับปรุงหลักสูตรใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปวส. เป็น หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูงสาธารณสุขศาสตร์
สาขาวชิ าเทคนคิ เภสชั กรรม

พ.ศ.2561 ปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปวส. เปน็ หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสงู สาขาวชิ าเทคนคิ
เภสัชกรรม

4. หลักสตู รประกาศนบี ตั รวิชาชพี ชนั้ สงู สาขาวชิ าเวชระเบยี น และ วิทยาศาสตรบัณฑติ

สาขาวชิ าเวชระเบยี น
กระทรวงสาธารณสขุ ซึง่ รรับผิดชอบระบบบรกิ ารสขุ ภาพา จาํ เป็นต้องมรี ะบบจดั การข้อมูลและสถิตติ ่าง ๆ เช่น ชื่อโรค ชอ่ื ผู้ปว่ ย/

ผู้รับบริการ งานบริการทีใ่ หไ้ ป ค่าใชจ้ า่ ยในการรักษา เป็นต้น จึงจัดทําหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าเวชสถิตขิ ้นึ โดยรบั ผ้สู ําเรจ็ การศกึ ษาช้นั ม.ศ.3
(มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในปจั จบุ ัน) เข้าศึกษาเปน็ ระยะเวลา 2 ปี และจัดการเรียนการสอนท่ีโรงเรยี นเวชสถิติ สถาบันมะเร็งแห่งชาตใิ นปี พ.ศ.2518
และในปพี .ศ.2530 มีการปรบั ปรงุ หลกั สตู รและเปลยี่ นช่ือเปน็ หลกั สูตรเวชสถิติ และรับผสู้ าํ เร็จการศกึ ษาช้นั ม.ศ.5 (มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในปัจจบุ นั )
เขา้ ศึกษาเป็นระยะเวลา 2 ปี

ต่อมากระทรวงสาธารณสุขไดป้ รบั ปรงุ โครงสรา้ งการบริหารงาน มกี ารจดั ต้งั วทิ ยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนา
ภเิ ษก ในปีพ.ศ. 2536 ใหเ้ ป็นศูนย์รวมการผลติ บคุ ลากรสาธารณสขุ ประเภทตา่ ง ๆ (สหเวชศาสตร์) ท่ีช่วยสนับสนนุ งานบรกิ ารรกั ษาพยาบาลให้
เป็นไปในทิศทางเดียวกนั จึงมกี ารโอนภารกจิ ของโรงเรยี นเวชสถิติ สถาบนั มะเรง็ แหง่ ชาตมิ าเป็นภาควชิ าหนึ่งของวทิ ยาลยั และในปีพ.ศ.2538 ไดม้ ี
การพฒั นาหลักสตู รเปน็ ประกาศนียบัตรเวชระเบยี น (เวชสถติ )ิ

พ.ศ. 2547 ปรบั ปรุงหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปวส.ชือ่ หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รเวชระเบียน
พ.ศ. 2556 ปรับปรงุ หลกั สตู รตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับ ปวส.เป็นหลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู สาขาวชิ าเวชระเบยี น

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

1) รจู้ ัก สบช. และคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ 20

และในปี พ.ศ.2555 วิทยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภิเษก ไดจ้ ัดการเรียนการสอนหลักสูตรสาธารณสุขศา
สตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเวชระเบียน โดยสมทบกบั คณะสาธารณสขุ ศาสตร มหาวทิ ยาลัยบรู พา เพ่ือให้ผลิตบุคลากรด้านการจดั การขอ้ มลู ระบบบรกิ าร
สุขภาพระดบั ปริญญาตรี ทาํ หน้าที่ด้านการจดั การข้อมลู สารสนเทศดา้ นสขุ ภาพซง่ึ เปน็ ภารกิจสาํ คญั ทต่ี อ้ งมีการดําเนินการอยา่ งเปน็ ระบบ และ
จัดทาํ รายงานไดค้ รบถว้ น ถกู ต้อง ทันเวลา เปน็ เคร่อื งมือหน่ึงในการพฒั นาและแกป้ ญั หาสาธารณสขุ ของประเทศ ประกอบการตัดสนิ ในของ
ผู้บรหิ ารทุกระดับ

5. ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง สาขาวชิ าโสตทัศนศึกษาทางการแพทย์
แต่เดิมโรงพยาบาลประจาํ จงั หวัดต่าง ๆ ในส่วนภูมิภาค สังกดั อยู่กบั กรมการแพทย์ ในแตล่ ะปจี ะมีการประชุมใหญท่ างวิชาการประจาํ

ของแพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกร ในสังกดั กรมการแพทย์ โดยแพทย์ ทนั ตแพทย์ และเภสชั กร นําผลงานต่าง ๆ. ท่ีเปน็ ผลงานเด่นในรอบปีมา
นําเสนอต่อทป่ี ระชมุ ซึง่ จัดทําในรูปแบบของโปสเตอร์ ชารท์ แผ่นใส สไลด์ และภาพ มาประกอบการนาํ เสนอและบรรยายทางวิชาการ อุปสรรค
อย่างหนงึ่ ที่พบในการประชมุ ของแตล่ ะโรงพยาลาลก็คือ การขาดเจ้าหนา้ ท่ีทมี่ ีความรูท้ างด้านโสตทัศนศกึ ษาทางการแพทย์ ทาํ การผลิตส่อื ต่าง ๆ
ให้ ทาํ ใหก้ ารประชมุ วิชาการไมป่ ระสบผลสมบรู ณ์เท่าท่ีควร มีหลายแหง่ ทแ่ี พทยผ์ ู้นําเสนอผลงานตอ้ งทาํ การถ่ายภาพเอง หรอื ร่วมกับเจา้ หนา้ ท่ีอนื่ ที่
พอมคี วามรู้ทางการถา่ ยภาพบา้ ง ทางศลิ ปะบ้าง ช่วยกันถ่ายภาพ ทําสไลด์ ทาํ โปสเตอร์ ชาร์ท เพ่ือนํามาแสดง ในการถา่ ยภาพสไลด์ก็เช่นเดียวกัน
ขาดหลกั การและความรใู้ นการถ่ายภาพ ทําให้ภาพทไี่ ดม้ ดื มวั ไม่คมชัด สสี ันของอวัยวะที่ถา่ ยภาพไมต่ รงกับความเปน็ จริง บางภาพใหญเ่ กินไปจน
ลน้ จอ บางภาพถา่ ยเล็กเกนิ ไปจนผู้ดไู มส่ ามารถมองเหน็ ภาพได้ชัด ฯลฯ ทาํ ให้บ่อยครั้งที่ต้องสง่ มาขอความร่วมมือจากส่วนกลาง ทําให้เกิดความ
ยงุ่ ยากและไมส่ ะดวกในการดาํ เนนิ การ

ดงั นนั้ ใน พ.ศ. 2509 โรงเรียนเวชนทิ ศั น์ มหาวิทยาลัยมหิดล จงึ มีการรับผู้สาํ เรจ็ การศึกษาระดับอนุปริญญาจากมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
และ วทิ ยาลยั เพาะช่าง เข้ามาศกึ ษาตอ่ อกี 2 ปี โดยเรียนเกี่ยวกบั การถ่ายภาพทางการแพทย์ การวาดภาพทางการแพทย์ การใช้เคร่ืองมือ
โสตทศั นูปกรณ์ทางการแพทย์ และรวมทง้ั การป้นั และหล่อแบบพิมพ์ เม่ือสําเร็จการศกึ ษา ได้รับคุณวุฒปิ รญิ ญาตรีทางวิทยาศาสตรบ์ ัณฑติ สาขา
เวชนิทศั น์ แตส่ ามารถผลติ บคุ ลากรได้เพียงปลี ะ 6-8 คน เทา่ นั้น ซึ่งไมเ่ พียงพอต่อความต้องการของหน่วยงานในภาครัฐบาล

ใน พ.ศ. 2524 กระทรวงสาธารณสุขจดั ตง้ั โรงเรยี นเวชสาธิต กรมการแพทย์ และเปดิ สอนหลักสูตรเวชสาธิต โดยรบั ผสู้ าํ เร็จการศึกษาชน้ั
ม.ศ.5 หรือเทียบเทา่ หรือ ปวช. ทม่ี ีพน้ื ฐานทางด้านศลิ ปกรรมเขา้ ศกึ ษาเป็นเวลา 1 ปี เมอ่ื กระทรวงสาธารณสขุ ได้จดั ต้งั วิทยาลยั เทคโนโลยีทาง
การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภิเษก ได้รบั โอนภารกจิ ของโรงเรยี นเวชสาธิตมาเป็นภาควิชาหนึ่ง และพัฒนาหลักสตู รโดยขยายเวลาการศึกษา
เป็น 2 ปี

ใน พ.ศ. 2538 ใชช้ ือ่ หลกั สูตรวา่ ประกาศนยี บตั รโสตทัศนศกึ ษา (เวชสาธติ )
พ.ศ. 2547 ปรับหลกั สูตรใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ ปวส. ชอ่ื หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรโสตทัศนศึกษาทางการแพทย์
พ.ศ. 2556 ปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาระดับ ปวส. ชอื่ หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชัน้ สูง สาขาวิชาโสตทัศน
ศกึ ษาทางการแพทย์

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

1) รู้จกั สบช. และคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์ 21

6. หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู สาขาวิชาปฏิบตั ิการฉกุ เฉินการแพทย์
ความเจริญกา้ วหนา้ ของประเทศ โดยเฉพาะดา้ นการคมนาคม พาหนะทใ่ี ชใ้ นการเดินทางมี มคี วามทันสมัย จาํ นวนรถยนต์

รถจกั รยานยนต์ ท่เี พมิ่ ขน้ึ เป็นจาํ นวนมาก ก่อให้เกิดปญั หาทางดา้ นสขุ ภาพ ทม่ี าจากอบุ ตั ิเหตทุ างจราจร กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะทีร่ ับผิดชอบ

การดูแลและใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ จึงมภี าระงาน ในการให้ความชว่ ยเหลอื ดแู ลผ้ปู ระสบภัยจากอุบตั เิ หตุการเดนิ ทางเพ่ิมขึ้น ปญั หาหนึ่งท่ปี ระสบ
คอื การนาํ ผู้ได้รบั บาดเจบ็ ออกจากพาหนะ เชน่ รถยนต์ เรอื เครื่องบิน การขนย้ายผู้ป่วยจากจดุ เกดิ เหตไุ ปยังโรงพยาบาลหรือหนว่ ยงานบริการ

สขุ ภาพ รวมทง้ั การปฐมพยาบาลเบอ้ื ต้น อาจดาํ เนนิ การไมถ่ กู ตอ้ ง อึกทั้งบคุ ลากรทางการพยาบาลกม็ ไี ม่เพยี งพอที่จะออกไปใหบ้ ริการ ณ จุดเกิด
เหตุ จงึ มีแนวคิดการผลติ บุคลากรเพอื่ รองรับภารกิจและการดําเนนิ การเหลา่ นี้

พ.ศ. 2538 สถาบนั พระบรมราชชนก รว่ มกบั สถาบนั การแพทยด์ ้านอบุ ตั เิ หตแุ ละสาธารณภยั กรมการแพทย์ จัดทําหลกั สูตร
ประกาศนียบัตรสาธารณสขุ ศาสตร์ (ก้ชู ีพ) เพ่ือผลติ บุคลากรระดบั ผ้ชู ว่ ยดําเนินงานในสว่ นของการปฐมพยาบาลและดแู ลผูป้ ว่ ยกอ่ นส่งถงึ
โรงพยาบาล ชื่อหลักสูตร ประกาศนยี บัตรสาธารณสุขศาสตร์ (กู้ชพี ) จัดการเรยี นการสอน ณ วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จังหวดั ขอนแก่น
ต่อมาได้พัฒนาหลกั สูตรเปน็ ปวส. ชอื่ หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู เวชกิจฉกุ เฉิน และขยายการผลติ ในวิทยาลัยพยาบาลและวิทยาลัยการ
สาธารณสขุ สริ ินธรอ่ืน ๆ ด้วย

พ.ศ. 2556 ปรบั ปรงุ หลักสูตรใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปวส. อีกครั้ง ชอ่ื หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง สาขาวิชา
ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์

7. หลักสตู รการแพทย์แผนไทยบณั ฑติ
กระทรวงสาธารณสุขให้ความสาํ คัญกับการพัฒนาวิชาการดา้ นการแพทย์แผน เป็นการคุ้มครอง อนรุ กั ษ์ และเสริมสรา้ งภูมปิ ญั ญา

การแพทยแ์ ผนไทย สง่ เสรมิ และพฒั นาการจดั ระบบความรู้ และสร้างมาตรฐานด้านการแพทย์แผนไทยให้ทัดเทียมกบั การแพทย์แผนปัจจบุ ัน และ
นาํ ไปใช้ในระบบบรกิ ารสุขภาพอย่างมคี ณุ ภาพและปลอดภยั เพอ่ื เป็นทางเลอื กแกป่ ระชาชนในการใชบ้ รกิ ารสขุ ภาพ จงึ ไดม้ ีการจดั การเรยี นการ
สอนหลักสตู รประกาศนยี บตั รการแพทยแ์ ผนไทย (อายุระเวท) ในปี พ.ศ.2537 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก

วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จังหวดั พิษณุโลก ไดน้ ําหลกั สูตรการแพทยแ์ ผนไทย 3 ปี ไปดําเนินการจดั อบรมใหแ้ กบ่ คุ ลากรสาธารณสุข
ท่ีปฏิบตั งิ านในหนว่ ยงานบรกิ ารสุขภาพต่าง ๆ ซง่ึ มนี โยบายทจ่ี ะเปิดหน่วยย่อยให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยแก่ประชาชน โดยปรบั หลกั สตู ร
การศึกษาให้เปน็ หลักสูตรอบรม กําหนดระยะเวลาอบรมทั้งหมด 3 ปี และแบ่งรายวชิ าออกเป็นชุดวชิ าใหผ้ ้เู ขา้ อบรมไดร้ บั การอบรมเปน็ ระยะ ๆ
รวมทงั้ มีการกาํ หนดวัน เวลาในการอบรมช่วงวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการดว้ ย เพ่ืออาํ นวยความสะดวกให้ผู้เข้าอบรมไมต่ ้องลาตามระเบยี บ
ราชการเกนิ กว่าเกณฑ์ท่สี ํานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น และสาํ นกั นายกรัฐมนตรีกาํ หนดไว้

ตอ่ มาโรงพยาบาลศูนย์อภยั ภูเบศร จงั หวัดปราจนี บรุ ี ซึง่ มีการให้บรกิ ารสขุ ภาพดา้ นการแพทย์แผนไทย และมีการจดั ต้งั หนว่ ยฝึกอบรม
ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยกับประชาชนทว่ั ไป มีศกั ยภาพในการผลติ บณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรีการแพทย์แผนไทย และประสานความรว่ มมือกับ
มหาวทิ ยาลัยบูรพา ดงั น้ันกระทรวงสาธารณสขุ จงึ ปรบั ปรุงโครงสรา้ งการบริงาน ให้โรงพยาบาลศนู ยอ์ ภัยภเู บศร จังหวดั ปราจีนบุรี โอนภารกิจด้าน
การจัดการศกึ ษาและพน้ื ทต่ี ้ังหนว่ ยฝึกอบรมมาสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนก ตงั้ เปน็ วิทยาลัยการแพทยแ์ ผนไทยอภยั ภเู บศร เปดิ การเรยี นการ
สอนหลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต ในปี พ.ศ. 2549 เปน็ หลกั สูตรท่สี มทบกับคณะการแพทยแ์ ผนไทย มหาวิทยาลยั บรู พา

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

1) รจู้ กั สบช. และคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์ 22

นอกจากนนั้ วิทยาลยั การสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั ยะลา มีข้อตกลงความรว่ มมอื ทางวชิ าการกับมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา พัฒนา
หลักสตู รการแพทย์แผนไทยบณั ฑติ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย (แพทย์แผนไทยทั่วไป) และเริ่มจัดการเรียนการสอนต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2551 เปน็ ต้น
มา ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรินธรจงั หวดั พิษณุโลก และวิทยาลัยเทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก

ได้รว่ มกบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสกลนคร จัดทาํ หลักสูตรการแพทยแ์ ผนไทยบัณฑติ สาขาวิชาการแพทยแ์ ผน
ไทย (แพทยแ์ ผนไทยทวั่ ไป) และจัดการเรยี นการสอนหลกั สูตรนี้ตง้ั แต่ปี พ.ศ.2555 เป็นต้นมา

ดังนน้ั ในปจั จุบนั วิทยาลยั ในสังกัดสถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ท่ีดําเนนิ การจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รการแพทย์
แผนไทยบัณฑิต ไดแ้ ก่

1) หลักสตู รการแพทยแ์ ผนไทยบณั ฑติ สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทย (แพทย์แผนไทยทวั่ ไป) ได้แก่ วิทยาลัยการสาธารณสขุ สิรินธร จังหวัด
พิษณุโลก และวทิ ยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก

2) หลกั สตู รการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บณั ฑติ สาขาวชิ าการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ คือ วิทยาลยั การแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร
และปัจจบุ นั วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวัดตรัง และวิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวดั ชลบุรี กาํ ลงั ดาํ เนนิ การจดั ทาํ
หลักสตู รการแพทย์แผนไทยบัณฑิต

สถาบันพระบรมราชชชนกในฐานะสถาบนั อุดมศกึ ษา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข

พ.ศ.2562 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสนิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
พระราชบญั ญตั ิ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา ให้สถาบันพระบรมราชชนก มีสถานะเป็นสถาบันอดุ มศกึ ษาเฉพาทางด้านวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ ทจี่ ดั
การศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ มีฐานะเปน็ นติ ิบคุ คล และเป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ ีการงบประมาณ
อยใู่ นสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ 4 เมษายน 2562

ทง้ั ยงั กาํ หนดใหว้ ิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก มฐี านะเป็นวิทยาลัยตาม พรบ.น้ี ได้แก่วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ นิ ธร จํานวน
7 แห่ง วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร วิทยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
จํานวน 27 แหง่ วทิ ยาลัยพระจอมเกล้า จ.เพชรบรุ ี วิทยาลยั พระปกเกล้าจันทบุรี และวทิ ยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม รวม 39 แหง่

สถาบนั พระบรมราชชนก มีการแบ่งโครงสรา้ งตามพรบ.ออกเป็น 4 หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ สํานกั งานอธิการบดี สาํ นักวิชาการ คณะพยาบาล
ศาสตร์ และคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ในปจั จบุ ัน

คณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์
จาก พรบ.สถาบันพระบรมราชชนก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ เป็นคณะท่ปี ระกอบด้วยวทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร
จาํ นวน 7 แห่ง วิทยาลัยการแพทยแ์ ผนไทยอภยั ภูเบศร วทิ ยาลัยเทคโนโลยที างการแพทย์และสาธารณสขุ กาญจนาภิเษก ดําเนนิ การจัดทําหลักสตู ร
ทางดา้ นสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตรต์ ่าง ๆ ในระดบั ปริญญาตรี โดยมีหลกั สูตรท่ีเปิดการเรียนในปีการศกึ ษา 2563 ได้แก่ หลักสตู รวิทยา
ศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนคิ เพอ่ื แก้ปญั หาการขาดแคลนบุคคลากรตาํ แหน่งนใ้ี นกระทรวงสาธารณสุข โดยจดั การศกึ ษาท่ีวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภเิ ษก และยังมหี ลกั สูตรทกี่ าํ ลังพฒั นาอีกหลายหลักสตู ร เช่น วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาอาชวี อนามยั
และความปลอดภยั วทิ ยาศาสตร์บณั ฑติ สาขาวิชาฉกุ เฉนิ การแพทย์ ฯลฯ รวมถึงหลักสูตรในระดับปรญิ ญาโท สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑติ ซึ่งจะ
เปดิ การเรยี นการสอนตอ่ ไปในอนาคต
เรยี บเรียง ปรบั ปรุงจาก หนังสอื แพทย์แผนไทยเทดิ ไท้ เจา้ ฟ้ามหาจกั รีสิรินธร

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบท่สี ําคัญท่ีนกั ศกึ ษาต้องปฏิบัติ 23

เรียบเรยี งโดย อ.นิธิศ ธานี วทิ ยาจารยช์ ํานาญการพิเศษ

ระเบียบ ขอ้ บังคับ ท่นี ักศกึ ษาตอ้ งตอ้ งปฏบิ ัติ

นักศึกษาต้องถือปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ คําสั่งหรือข้อกําหนดตามระเบียบนี้และตามระเบียบอื่นที่สถานศึกษา
กําหนดโดยเครง่ ครดั วินัย และการรักษาวนิ ัย นกั ศึกษาตอ้ งปฏิบัติ ดงั นี้

(1) ปฏบิ ัตติ ามหลกั ศีลธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมอันดีของสังคมไทย
(2) ปฏิบตั ติ ามระเบียบขอ้ บงั คบั ของสถานศกึ ษาโดยเคร่งครดั
(3) รักษาไวซ้ ง่ึ ความสามคั คี ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ไมป่ ลกุ ป่ัน ยั่วยุ อันก่อให้เกดิ ความขดั แย้งในสถานศึกษาหรือสังคม และชือ่ เสียง
เกยี รตคิ ณุ ของสถานศึกษาหรือวิชาชพี
(4) ประพฤติตนเปน็ สุภาพชน ไม่ประพฤตใิ นสงิ่ ทอ่ี าจนาํ มาซึง่ ความเสอื่ มเสียแกต่ นเอง บดิ า มารดา ผู้ปกครอง สถานศึกษา หรือวิชาชีพ
(5) ไมด่ ื่ม หรือมี สุราหรือเคร่ืองด่มื ที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
(6) ไม่เสพสารเสพติด หรือมสี ารเสพติดไวใ้ นครอบครองหรือมไี ว้จาํ หน่าย
(7) ไม่เลน่ การพนันหรอื มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งหรือสนับสนนุ การเลน่ พนันใด ๆ
(8) ไมก่ ระทําตนให้เป็นผู้มีหนี้สินลน้ พน้ ตวั จนมเี รอ่ื งเสยี หายถงึ ผอู้ นื่ หรือสถานศึกษา
(9) ไมน่ ําสิ่งผดิ กฎหมายใด ๆ เขา้ มาในบรเิ วณสถานศกึ ษา หรือมีส่ิงผดิ กฎหมายใด ๆ ไวใ้ นครอบครอง
(10) ไม่มหี รือพกพาอาวธุ วัตถรุ ะเบดิ หรือวตั ถอุ ่ืนใดท่ีอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ชีวิตและทรพั ย์สนิ
(11) ไมก่ อ่ หรือมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในการทะเลาะวิวาทกบั นกั ศกึ ษาดว้ ยกันเองหรอื กับผู้อ่นื
(12) ไม่ลักขโมย ยกั ยอก ฉ้อโกงหรือทําลายทรัพยส์ ินของผู้อื่น หรือของสถานศกึ ษาหรอื แหล่งฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ
(13) ไม่กระทําการอันใด ซึ่งเชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว เช่น กระทําผิดศีลธรรมทางด้านชู้สาว กระทําการใดหรือยอมให้ผู้อื่นกระทําการใดซึ่ง
อาจทําใหเ้ ส่ือมเสียช่ือเสยี งของตนเอง สถานศกึ ษาหรอื วชิ าชพี
(14) ไมท่ จุ รติ รายงานเทจ็ ปลอมแปลงลายมอื ช่ือ ปลอมแปลงเอกสารหรอื ละเมดิ สทิ ธสิ ว่ นบุคคลหรือทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาของผูอ้ นื่
(15) ในการศึกษาภาคปฏิบัติ นักศกึ ษาจะต้องปฏิบัติ ดังน้ี

(ก) ปฏบิ ัติงานด้วยความรู้ มีวิจารณญาณและความรอบคอบ มใิ ห้เกดิ ความเสียหายแก่ผ้ใู ช้บรกิ าร
(ข) ปฏิบัติงานตรงตามเวลาทีก่ าํ หนด
(ค) ปฏิบัติงานตามขอบเขตหน้าท่รี ับผิดชอบภายใตก้ ฎ ระเบยี บของสถานศึกษาและแหลง่ ฝกึ ภาคปฏิบตั ิ
(ง) เคารพในสทิ ธขิ องผรู้ บั บริการและปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี โดยเครง่ ครดั
(จ) รายงานอาจารยผ์ สู้ อนภาคปฏบิ ัตโิ ดยทนั ทที ี่ปฏิบตั ิงานผดิ พลาด หรอื มีเหตกุ ารณไ์ ม่ปกติเกดิ ข้ึน
(ฉ) มมี นุษยสัมพนั ธเ์ ชิงวิชาชีพตอ่ ผรู้ บั บรกิ าร ผู้ร่วมงานและผทู้ ีเ่ กี่ยวข้อง
(ช) มีความซอื่ สัตย์ตอ่ ผ้รู ับบรกิ าร ผ้รู ว่ มงานและผู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
(ซ) ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากอาจารยผ์ ้สู อนภาคปฏิบัติ หรอื อาจารย์นเิ ทศ หรือผู้ดแู ลนักศกึ ษากอ่ นออกนอกแหล่งฝกึ ปฏิบตั ิ
(ฌ) ตอ้ งได้รับความเหน็ ชอบจากอาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏิบตั ิ หรืออาจารยน์ ิเทศ หรอื ผู้ดูแลนักศกึ ษาก่อนฝึกปฏบิ ัติงาน
นอกเหนือจากวนั เวลาที่กาํ หนด

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบท่ีสาํ คญั ท่ีนักศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ตั ิ 24

การพ้นสภาพการเป็นนักศกึ ษากระทําไดใ้ นกรณตี ่อไปนี้

(1) สําเร็จการศกึ ษาตามหลักสตู ร
(2) ได้รบั อนุมตั ใิ หล้ าออก
(3) ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล ในกรณตี อ่ ไปน้ี

(ก) คะแนนเฉลย่ี สะสมเมอื่ สิน้ ภาคการศึกษาท่ี 2 ของชน้ั ปีท่ี 1 ต่าํ กวา่ 1.75
(ข) จาํ นวนปที เี่ รียนเกินกว่า 2 เท่าของเวลาทีห่ ลักสตู รกําหนดและแตล่ ะชนั้ ปีซ้ําชน้ั ได้ไมเ่ กิน 1 ครงั้
(ค) ไมส่ ามารถแกร้ ะดับคะแนน D ในหมวดวิชาชีพ และ F ในหมวดวชิ าอ่ืน ๆ ไดไ้ ม่เกิน 1 ครงั้
(ง) กรณที ซ่ี าํ้ ช้ันมาแล้ว และคะแนนเฉลย่ี สะสมไมถ่ งึ 2.00 ให้พน้ สภาพการเป็นักศกึ ษา
(4) ไม่ชําระค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ตามระเบียบของสถาบันพระบรมราชชนก ในระหว่างที่ได้รับอนุญาตให้ลาพัก
การศกึ ษา
(5) ไมช่ ําระค่าใช้จา่ ยในการศึกษาตามระเบยี บของสถาบันพระบรมราชชนก
(6) ถูกพพิ ากษาถงึ ทีส่ ดุ ให้จําคุกในคดีอาญา เว้นแตค่ วามผิดโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
(7) เหตุสดุ วิสัยหรือปว่ ยเร้อื รัง และแพทย์ท่ีคณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษากาํ หนด ได้ลงความเหน็ ว่าไม่สามารถศึกษาตอ่ ได้
(8) กระทําความผดิ ทางวินัยและไดร้ ับการพิจารณาโทษให้พน้ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษา
(9) ตาย
การพน้ สภาพการเปน็ นักศึกษาตามข้อ (2) ให้มผี ลนับตง้ั แต่วันทีผ่ ู้อํานวยการวทิ ยาลับอนมุ ัติให้ลาออก
การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามข้อ (3) (4) (5) (7) และ (8) ให้มีผลนับตั้งแต่วันที่อธิการบดีหรือผู้ได้รับมอบอํานาจอนุมัติให้พ้นสภาพ
การเปน็ นักศกึ ษา
การพน้ สภาพการเปน็ นักศกึ ษาตามขอ้ (6) ใหม้ ีผลนับตง้ั แตว่ นั ท่ศี าลมีคาํ พพิ ากษาถึงท่สี ดุ

การลาและการใหพ้ กั การศึกษา

การลาป่วย ลากิจ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั น้ี
(1) นกั ศกึ ษาลากบั อาจารย์ผู้สอน แลพอาจารย์ผู้สอนรายงานตอ่ รองผอู้ ํานวยการที่รับผิดชอบการจัดการศกึ ษา
(2) นกั ศกึ ษาลากจิ ลาป่วยได้ไม่เกินรอ้ ยละ 20 ของเวลาเรยี นแตล่ ะวิชา
(3) ในกรณที ่ีลากิจ นกั ศึกษาจะตอ้ งไดร้ ับอนญุ าต และลงช่ือรบั ทราบการอนุญาตใหล้ า
(4) การลาป่วยตงั้ แต่ 3 วันข้ึนไป ต้องมใี บรับรองแพทย์

ผู้มีอาํ นาจอนุญาตให้นกั ศึกษาลาป่วย และลากิจได้ ดังน้ี
(1) รองผูอ้ ํานวยการท่ีรับผิดชอบการจัดการศกึ ษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผ้อู าํ นวยการวิทยาลัย อนญุ าตใหล้ าได้ครั้งละไม่เกิน

3 วัน
(2) ผู้อํานวยการวทิ ยาลยั ให้ลาได้นอกเหนอื จาก (1) แตไ่ มเ่ กิน 1 ปีการศกึ ษา
(3) คณบดีอนุญาตให้นกั ศกึ ษาลาไดก้ รณีทีเ่ กินอาํ นาจของผ้อู ํานวยการวิทยาลยั

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทส่ี าํ คญั ท่ีนักศกึ ษาต้องปฏิบัติ 25

การลาพักการศึกษากระทาํ ได้ในกรณตี อ่ ไปน้ี
(1) ถกู เกณฑ์หรอื ระดมเขา้ รับราชการทหารกองประจําการ
(2) ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใด ให้ได้รับอนุมัติจากคณบดี โดยผ่านความเห็นชอบของ

ผู้อาํ นวยการวทิ ยาลัย
(3) เจบ็ ป่วยต้องพกั รกั ษาตวั เป็นเวลานานเกนิ ร้อยละ 20 ของเวลาเรียนทง้ั หมด แตไ่ มเ่ กิน 1 ปีการศกึ ษา โดยมีใบรบั รองแพทย์
(4) มีเหตจุ าํ เปน็ สว่ นตวั ขอลาพักการศึกษาไดไ้ มเ่ กนิ 1 ปีการศึกษา โดยได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารวิทยาลยั
(5) การลาพักการศึกษาตามข้อ (1) นักศึกษาต้องยื่นคําร้องต่อผู้อํานวยการวิทยาลัยภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่มีเหตุจําเป็นต้องลา

พกั การศกึ ษา
(6) การลาพักการศึกษาตามขอ้ (2) (3) และ (4) ใหป้ ฏบิ ัติตามระเบยี บการลาป่วย ลากิจ ลาพกั การศกึ ษา
(7) ในกรณีที่นักศึกษามีเหตุจําเป็นต้องลาพักการศกึ ษาเกนิ กวา่ 1 ภาคการศึกษา แต่ไม่ติดต่อกัน ให้ยื่นคําร้องขอพักการศึกษาใหม่

ตามวิธใี นขอ้ (4)
(8) ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษาให้นับเวลาที่ลาพักอยู่ในระยะเวลาการศึกษาด้วย ยกเว้นนักศึกษาที่ได้รับ

อนุญาตตามข้อ (1) หรือ (2)
(9) นักศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา เมื่อจะกลับเข้าศึกษาจะต้องยื่นคําร้องขอกลับเข้าศึกษาต่อผู้อํานวยการวิทยาลัย

ก่อนกาํ หนดและชาํ ระค่าใช้จ่ายในการศกึ ษาไม่นอ้ ยกวา่ 1 สปั ดาห์ หรือตามที่กําหนด

ผู้มอี ํานาจอนุญาตใหน้ ักศึกษาลาพกั การศึกษาได้ ดงั น้ี
(1) ผอู้ ํานวยกาวทิ ยาลัยอนุญาตใหล้ าไดไ้ ม่เกนิ 1 ปกี ารศึกษา
(2) คณบดอี นุญาตใหล้ าได้กรณีท่ีเกนิ อาํ นาจของผูอ้ ํานวยการวทิ ยาลยั

การให้พกั การศกึ ษา จะกระทําไดใ้ นกรณี นกั ศึกษากระทาํ ความผิดวนิ ยั และได้รบั โทษให้พกั การศกึ ษา

การลาออกให้ปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
(1) ให้นักศึกษายื่นใบลาออกต่อผู้อํานวยการวิทยาลัย โดยความยินยอมของบิดา มารดาหรือผู้ปกครอง ยกเว้นในกรณีที่เป็น

ขา้ ราชการลาศึกษาต่อ ไม่ต้องให้บดิ า มารดา หรอื ผู้ปกครองให้ความยนิ ยอมก็ได้
(2) ผู้อํานวยการวทิ ยาลัยมีอํานาจในการอนุมตั ิให้นกั ศกึ ษาลาออก และใหม้ ีผลนับต้งั แตว่ นั ท่ผี อู้ ํานวยการวทิ ยาลยั อนุมตั ใิ ห้ลาออก
(3) กรณีที่ผู้อํานวยการอนุมัติให้ลาออกตาม (2) ต้องแจ้งให้คณบดีทราบ และให้คณบดีจัดส่งข้อมูลดังกล่าวให้กองทะเบียนและ

ประมวลผล บันทึกการพน้ สภาพจากการเป็นนักศกึ ษาต่อไป

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทส่ี ําคัญทน่ี กั ศกึ ษาต้องปฏิบตั ิ 26

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทส่ี ําคัญทน่ี กั ศกึ ษาต้องปฏิบตั ิ 27

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทส่ี ําคัญทน่ี กั ศกึ ษาต้องปฏิบตั ิ 28

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทีส่ ําคัญที่นกั ศกึ ษาต้องปฏิบตั ิ 29

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

2) กฎระเบียบทส่ี ําคัญทน่ี กั ศกึ ษาต้องปฏิบตั ิ 30

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

3) กองทนุ กูย้ มื และทุนการศกึ ษาต่างๆ 31

เรียบเรยี งโดย อ.ธารินี ลีละทีป ตําแหนง่ วิทยาจารย์

กองทนุ เงินใหก้ ู้ยืมเพื่อการศกึ ษา

โครงการจัดตั้งคณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก มีการดาํ เนินการร่วมกับ
กองทุนเงินให้กยู้ ืมเพือ่ การศึกษา (กยศ.) เพ่ือสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การศกึ ษาด้วยการให้เงินกยู้ มื เพื่อการศกึ ษาแกน่ ักศกึ ษาที่ขาดแคลนทนุ ทรัพย์

โดยทําบันทึกขอ้ ตกลงกับกองทนุ เงินให้กยู้ ืมเพ่อื การศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั กิ องทนุ เงนิ ใหก้ ้ยู มื เพื่อการศกึ ษา พ.ศ. 2560
และมีคณุ ลกั ษณะของสถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพเปน็ หลักสตู ร/สาขาวิชาที่ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ

การศึกษาจากหน่วยงานที่กองทนุ กาํ หนด ซ่ึงผลการรบั รองและประเมนิ คุณภาพตอ้ งเป็นปจั จบุ ัน และเปน็ สถานศกึ ษาทีม่ คี วามพร้อม

ในการดําเนินงานกองทนุ ได้แก่ การมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีส่ ามารถเช่อื มต่อกบั ระบบ e-Studentloan ของกองทุนได้
และมีบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และความสามารถในการดาํ เนนิ งานและบรหิ ารกองทนุ ได้อย่างถกู ต้องและมปี ระสทิ ธภิ าพ

การดาํ เนินงานร่วมกับกองทุนเงนิ ใหก้ ยู้ มื เพอื่ การศกึ ษา(กยศ.) ของวิทยาลยั ตา่ งๆ
ในโครงการจดั ต้ังคณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก

ดําเนินการโดยกล่มุ งานกจิ การนักศกึ ษาของวิทยาลยั โดยมีกําหนดการใหก้ ู้ยมื เงนิ กองทุนเงนิ ให้กยู้ ืมเพ่อื การศึกษา
ตามประกาศของกองทุนในปกี ารศกึ ษาน้นั ๆ และมขี น้ั ตอนในการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. นักศึกษาทีม่ คี วามประสงค์จะขอกูย้ ืมเงินกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ ืมเพ่อื การศกึ ษา จะต้องลงทะเบียนและยนื่ แบบคาํ ขอกู้ยืมเงินผ่านระบบ e-
Studentloan

2. จดั เตรียมเอกสารและหลกั ฐานประกอบการพิจารณาคัดเลือกผู้ขอก้ยู มื เงนิ ส่งท่กี ลุ่มงานกจิ การนักศกึ ษาในระยะเวลาท่ีกําหนด
โดยมีเอกสารและหลกั ฐานประกอบ ดงั นี้

2.1 แบบคําขอกูย้ ืมเงนิ ทจ่ี ดั พมิ พ์ออกจากระบบ e-Studentloan
2.2 แบบคําขอก้ยู มื เงนิ กองทนุ เงนิ ให้กูย้ มื เพอื่ การศึกษา(กยศ.101)
2.3 เอกสารการรบั รองรายได้
2.4 ใบแสดงผลการศกึ ษา/สาํ เรจ็ การศึกษาในปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมา
2.5 บนั ทกึ กจิ กรรมจิตอาสา (ถ้ามี)
3. คณะกรรมการพจิ ารณาการให้ก้ยู ืมเงนิ พจิ ารณาคดั เลอื กและประกาศรายช่อื ผไู้ ด้รบั การคัดเลอื กให้กยู้ ืมเงิน
4. นักศกึ ษาท่ีมีสิทธ์ิกู้ยืมเงนิ จดั ทาํ สญั ญากยู้ ืมเงนิ ผา่ นระบบ e-Studentloan พมิ พส์ ญั ญาจาํ นวน 2 ชุด
สง่ พรอ้ มเอกสารประกอบสัญญา โดยผเู้ ก่ียวขอ้ งในเอกสารต้องลงนามครบถว้ น
และสง่ สัญญากู้ยืมเงนิ พร้อมเอกสารประกอบสญั ญาท่ีกลุม่ งานกิจการนักศกึ ษาภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด
5. นกั ศกึ ษาท่มี ีสิทธกิ์ ู้ยมื เงิน กรอกค่าเลา่ เรียนในระบบ e-Studentloan
เพื่อใหว้ ทิ ยาลยั จดั ทาํ แบบลงทะเบยี น/แบบยนื ยันจํานวนเงินกองทุนเงนิ ให้กยู้ ืมเพ่ือการศกึ ษา (ค่าเลา่ เรียน ค่าใช้จา่ ยที่เกยี่ วเนอื่ งกับการศึกษา
และคา่ ครองชพี ) และลงลายมือชื่อในแบบลงทะเบยี นเรียนทุกภาคการศกึ ษาท่ีมีการลงทะเบียน
และกลุ่มงานกจิ การนกั ศึกษาจะจัดส่งเอกสารไปยงั ธนาคารทีท่ าํ บนั ทกึ ข้อตกลงไว้หลงั จากตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของเอกสารการแล้ว

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

3) กองทนุ กูย้ มื และทุนการศกึ ษาตา่ งๆ 32

6. นักศึกษาที่มีสิทธิ์ก้ยู มื เงิน ต้องกรอกคา่ เลา่ เรยี นในระบบ e-Studentloan เพือ่ ทําแบบลงทะเบียนเรยี น
ในทกุ ภาคการศกึ ษาทีล่ งทะเบียน และตอ้ งยื่นแบบคําขอกยู้ ืมเงินผา่ นระบบ e-Studentloan ทุกปีการศึกษา ตลอดระยะเวลาทีศ่ ึกษาอยู่

7. กองทุนเงินให้กยู้ มื เพื่อการศกึ ษา ได้กาํ หนดให้นกั ศึกษาท่ีมีสิทธกิ์ ู้ยืมเงินเข้าร่วมโครงการท่ีมุ่งจิตอาสา
(รายเกา่ เลื่อนชนั้ ปที กุ ระดบั การศึกษา ไม่น้อยกวา่ 36 ชัว่ โมง)

8. หากมีข้อสงสัยหรือปัญหาเก่ยี วกบั การกู้ยืมเงนิ กองทนุ เงนิ ให้กยู้ มื เพ่ือการศกึ ษา สามารถติดตอ่ กลมุ่ งานกจิ การนกั ศกึ ษาได้
ทุกวทิ ยาลัยมกี ารสง่ เสริมให้นักศึกษาผ้กู ้ยู ืมเงนิ มีจิตสํานกึ และตระหนักถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและตอ่ สังคม
โดยการสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศกึ ษาใชเ้ งินกยู้ มื อยา่ งร้คู ุณคา่ ต้ังใจศึกษาเล่าเรียน สนับสนนุ ให้ผู้กู้ยืมทาํ ประโยชน์เพอ่ื สงั คมสว่ นรวม
และเนน้ ยํ้าให้ผกู้ ยู้ ืมชาํ ระคนื เงินกยู้ มื เพอื่ ส่งตอ่ โอกาสให้ผู้กูย้ ืม กยศ. ในรนุ่ ตอ่ ๆไป
และใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การวางแผนทางการเงินและวางแผนการชาํ ระหนี้ กยศ. ได้อย่างเป็นรูปธรรม

ทนุ การศึกษาตา่ งๆ
โครงการจดั ตั้งคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

ได้รับการสนบั สนุนทนุ การศึกษาจากหนว่ ยงานและบุคคลท่แี จง้ ความประสงค์ท่ีจะให้ทนุ การศึกษาแกน่ กั ศกึ ษาท่มี ีความความประพฤตดิ แี ตข่ าดแคล
นทนุ ทรัพย์ โดยมที ุนการศกึ ษาหลายประเภท ได้แก่

ทนุ การศกึ ษาในลักษณะทนุ ให้เปลา่ ไมม่ ีภาระผกู พันตอ้ งใชค้ นื ไดแ้ ก่ มูลนิธสิ ถาบนั พระบรมราชชนก มลู นธิ ิเอสซจี ี
ทนุ มลู นิธอิ ายิโนะโมะโตะ๊ เป็นตน้ โดยผู้ในทุนจะกาํ หนดคุณสมบตั ขิ องนักศึกษาที่มสี ทิ ธิ์รบั ทนุ มาใหว้ ิทยาลยั เป็นผู้คดั เลอื ก
และสง่ รายชื่อผ้รู ับทุนกลบั ไปใหแ้ หลง่ ทนุ น้นั ๆ หรืออาจใหว้ ทิ ยาลยั ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้นักศกึ ษาทราบ
และประสานงานกับแหลง่ เงินทุนการศึกษาให้ได้รับความสะดวกในการสนบั สนุนทนุ การศกึ ษาแกน่ ักศึกษา

ทุนการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง เป็นทนุ การศกึ ษา ทีน่ ักศึกษาได้รบั ต่อเนอ่ื งมากอ่ นเข้าศกึ ษาในระดับอุดมศึกษา
และมีเง่ือนไขในการรับทุนการศึกษา เช่น การกลับไปปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีภมู ิลาํ เนาเดิมหลงั จบการศกึ ษา มผี ลการศกึ ษาในระดับที่กาํ หนด
และมคี วามประพฤตดิ ีไม่มีความประพฤตเิ สือ่ มเสีย ทําผดิ กฎระเบียบของสถานศกึ ษา ไดแ้ ก่ โครงการพระเมตตาสมเด็จย่า
ทนุ มลู นธิ ิร่วมจิตน้อมเกล้าฯเพอ่ื เยาวชนในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์ เป็นตน้

นอกจากนี้ยงั มีทุนการศึกษาที่ได้รบั จากสนับสนุนจากบคุ คลท่ัวไปทม่ี ีความประสงคจ์ ะใหท้ นุ การศึกษาอีกเป็นจํานวนมาก
ซ่ึงในแต่ละปีการศกึ ษาจะมีการประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลทุนการศึกษาต่างๆ จากกลุ่มงานกจิ การนักศกึ ษาในหลายช่องทาง เชน่
ปา้ ยประกาศในวิทยาลัย เว็บเพจของวทิ ยาลยั และทางเพจเฟสบคุ ทีว่ ทิ ยาลัยจดั ทําขึ้น

ทนุ การศึกษาต่างๆเหล่าน้ี เปน็ การช่วยเหลือเพอ่ื ให้นักศกึ ษาที่มีความมุ่งมน่ั ตง้ั ใจในการศกึ ษาเล่าเรียน และมีความประพฤตดิ ี
มขี วญั และกําลังใจในการเรยี น ลดภาระค่าใชจ้ า่ ยทางการศกึ ษาของครอบครวั จนสําเรจ็ การศกึ ษา และเป็นกําลังสําคัญของประเทศชาตใิ นอนาคต

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

4) ทําอยา่ งไร ใหจ้ บตามกาํ หนด 33

เรยี บเรียงโดย อ.กาญจนา บวั ดอก ตําแหนง่ แพทยแ์ ผนไทยชาํ นาญการ

จากเด็กมธั ยมกา้ วสู่เดก็ มหา’ลัย

แน่นอนวา่ หลายสง่ิ ในชีวิตประจาํ วันเปลยี่ นไป

ไม่วา่ จะเป็นเนอื้ หาที่เรยี น สังคมท่ีกวา้ งข้ึน กจิ กรรมเชิงสรา้ งสรรค์
และกระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นรู้ การปรบั ตัว โดยผู้ทด่ี แู ลไม่ใช่พ่อ แม่
หากเปน็ รุ่นพี่และครอู าจารย์ ถงึ แม้วา่ หลายคนจะเคยเป็นเดก็ หอ
ทส่ี มัยมธั ยมมาแลว้ ก็ตามยงั ก็ตอ้ งปรับตัวในสถานการณ์ใหม่
ทีพ่ บเจอแลว้ เดก็ ๆ ควรมวี ธิ ีการอยา่ งไรใหด้ ําเนนิ ตนเองเรียนใหจ้ บ
ตามกําหนด มาลองดวู ธิ กี ารเหลา่ นกี้ นั ค่ะ

วธิ ีการดําเนินตนเองเรียนใหจ้ บตามกาํ หนด

1. ชีวิตในชน้ั (ห้อง)เรยี นต้องทาํ ยงั ไงบา้ ง ?
1.1.ต้องเข้าเรียน ในการเรียนระดับมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่จะกําหนดให้นักศึกษาต้องเข้าเรียนร้อยละ 80 ของเวลาเรียนจึงจะมีสิทธิ์เข้า

สอบ แน่นอนมีนักศึกษาบางส่วนมักจะคํานวณเวลาในการขาดเรียนได้ แต่รู้หรือไม่ว่ามันเป็นสิ่งที่นักศึกษาหลายท่านพลาดเพราะในบางจังหวะเรา
อาจมีเหตุจําเป็นจริงๆท่ีต้องขาด เช่น ป่วย มีธุระจําเป็นจริงๆ เป็นต้น หนําซํ้าการขาดเรียนแต่ละครั้งหมายถึงเนื้อหาและการอภิปรายที่ขาดหายไป
อาจารย์บางท่านให้นํ้าหนักกับการเข้าเรียนไว้ในการคํานวณเกรดตอนปลายภาคด้วย แต่ถึงแม้ว่าจะไม่มีคะแนนเข้าห้อง แต่การไปเรียนจะสร้าง
ความประทับใจที่ดีใหก้ บั อาจารยแ์ นน่ อน

1.2.ควรจดบันทึกเนื้อหาในการเรียน หรือ จดเลกเชอร์ ที่เด็กๆมักเรียกติดปาก ซึ่งในยุคนี้นับเป็นยุคเทคโนโลยีที่มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์
(Application) ในอุปกรณ์ต่างๆที่นักศึกษานํามาใช้ได้ เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต คอมพิวเตอร์พกพา เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ช่วยให้การจด
บันทึกงานของนักศึกษาง่ายขึ้น จัดเก็บแยกเป็นรายวิชาได้ อีกทั้งยังสามารถดาวน์โหลดเอกสารที่อาจารย์สอนมาบันทึกไว้ในอุปกรณ์และจดบันทึก
ขยายความจากการอธิบายของอาจารย์ไว้ใช้อ่านทบทวนได้ ซึ่งนับเป็นการช่วยลดการใช้กระดาษที่ต้องปริ๊นซ์ออกมาด้วย สําหรับนักศึกษาที่ไม่มี
อุปกรณ์ดังกล่าวข้างต้นก็ไม่ต้องกังวลการจดใส่กระดาษก็ยังมีความคลาสสิกที่ทําอยู่ สิ่งสําคัญ คือ ควรจดบันทึก เพราะมันอาจมีหลายสิ่งหลาย
อย่างเข้ามาในจิตใจคุณ การจัดบันทึกไว้จะช่วยให้คุณจดจ่อกับกิจกรรมในห้องเรียน (ทั้งการฟังบรรยายและการอภิปราย) และทําให้คุณมีพื้นฐานท่ี
ดตี อนอ่านหนงั สือสอบ

1.3.มีส่วนร่วมในช้ันเรียน ข้อนี้เด็กๆหลายคนจะสั่นหัวเลย เพราะไม่กล้าโต้ตอบ กลัวตอบไม่ได้ จริงๆแล้วการเรียนในระดับ
มหาวิทยาลัยจะเน้นการมีส่วนของผู้เรียน การเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การออกแบบการเรียนการสอนจึงเน้นการมีส่วนร่วมมาก เพื่อปลูกฝังให้เด็กๆ
กล้าแสดงออก กล้าในการถามคําถามผู้สอน ตอบคําถามเมื่อผู้สอนถามคําถาม และเสนอความเห็นในช่วงอภิปราย การมีส่วนร่วมเชิงรุกในชั้นเรียน
จะช่วยให้นักศึกษาได้ซึมซับกับเนื้อหาและช่วยให้เข้าใจในสิ่งที่ผู้สอนต้องการให้นักศึกษารู้ และผู้สอนเองก็จะได้วิเคราะห์ด้วยว่านักศึกษาจะ
สามารถซมึ ซับเนอ้ื หาทส่ี อนไดม้ ากแค่ไหน ดังนนั้ ถา้ เราสลัดความ “ไมก่ ล้า” ออกได้ เรากจ็ ะเกิดการเปลย่ี นแปลงจากสมยั มธั ยมได้

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

4) ทําอยา่ งไร ให้จบตามกาํ หนด 34

1.4 การทบทวนบทเรียน ในประมวลรายวิชาเด็กๆจะเห็นการเขียน เรียนในรั้วมหาวิทยาลัยเป็นฐานรากของทฤษฎีที่จะนําสู่การใช้ในการ
หน่วยกิตการเรียน และมีวงเล็บขยายไว้ เช่น 3 (2-3-5 ) หน่วยกิต ทาํ งานจรงิ ของอนาคตได้
หมายถึง วิชานี้เรียน 3 หน่วยกิต เป็นทฤษฎี 2 หน่วยกิต ทดลอง 3
หน่วยกิต และ ศึกษาด้วยตนเอง 5 หน่วยกิต ซึ่งการต้องศึกษาด้วย 1.5 ต้องบริหารจัดการงานที่ได้รับมอบหมาย การเรียน
ตนเองมีพ่วงในทุกวิชา ถึงแม้ว่าบางวิชาไม่มีทดลองก็ตาม แสดงให้ แบบมหาวิทยาลัยทักษะหนึ่งที่ต้องเจอคือความรับผิดชอบ ทุกคนมัก
เห็นว่าในระดับมหาวิทยาลัยเน้นการศึกษาด้วยตนเองเป็นอย่างมาก คิดว่าใช้ในการวัดว่าเข้าเรียนตรงเวลา แต่อีกส่วนคือวัดการส่งงานที่
กําหนดไว้ให้เด็กศึกษาค้นคว้า และทบทวนบทเรียนท่ีอาจารย์สอน ผู้สอนมอบหมาย ทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม จุดนี้เด็กๆต้องบริหาร
ดังนั้นจุดนี้เป็นอีกจุดที่วัดความสําเร็จในรั้วมหาวิทยาลัยขึ้นอยู่กับการ จัดการให้ดีเทคนิคหนึ่ง คือ ต้องตัดคําว่า “เดี๋ยวก่อน เดี๋ยวค่อยทํา”
เตรียมตัวนอกห้องเรียน เพราะฉะนั้นเด็กๆควรใช้เวลาทบทวน ออกให้ได้ เพราะในบางวิชางานเหล่านี้คะแนนมากพอที่จะเปลี่ยน
เลกเชอร์และอ่านหนังสือสําหรับการเรียนในแต่ละครั้ง เทคนิคการ ผลการเรียน (Grade) ได้เลย ในบางครั้งนักศึกษาอาจจะต้องถ่างตา
อ่านและวิธีการจดจําของแต่ละคนแตกต่างกัน บางคนชอบเงียบๆ ท้ังคืนเพื่อทํางานให้เสร็จ การผัดวันประกันพรุ่งมีแต่จะทําให้เกิด
บางคนชอบเปดิ เพลง บางคนชอบบรรยากาศดี เชน่ รา้ นกาแฟ ร้าน แนวโน้มที่ทํางานไม่เสร็จ ซึ่งการทํางานเสร็จแต่เนิ่นๆ จะช่วยให้
เบอร์เกอรี่ ต่างๆเป็นต้น บางคนชอบเข้ากลุ่มติวกับเพื่อน หรือชอบ นักศึกษาได้นอนพักผ่อนตามปกติได้มากขึ้น มีเวลาไปทํากิจกรรม
ติวให้เพื่อน ดังนั้นต้อง “ค้นหาเทคนิคของตนเองให้เจอ” แล้วเราจะ อย่างอน่ื ได้
อ่านหนังสือได้ การทบทวนบทเรียนควรแบ่งช่วงเวลาอ่านหนังสือ
กระจายๆ ไป 2-3 วันเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะแน่ใจได้ว่าเราจะจําเนื้อหา 1.6 ไม่เข้าใจต้องใฝ่หาผู้รู้ หรือถามผู้สอน นักศึกษาต้อง
ได้ในภายหลัง เช่น แทนที่จะอ่านหนังสือรวดเดียว 9 ชั่วโมง ให้เริ่ม ลบภาพคุณครูตอนเรียนมัธยมออกเมื่อต้องมาอยู่ในมหาวิทยาลัย
ก่อน 2-3 วันและอ่านวันละ 1-2 ชั่วโมง 3 หรือ 4 วันติดต่อกัน ถ้า เพราะเวลาไม่เข้าใจเนื้อหาเราสามารถเดินไปห้องพักครู เจอครูได้แค่
นักศึกษาวางแผนล่วงหน้าได้ดีกว่านั้น การกระจายการอ่านหนังสือ ตอนพัก เพราะท่านก็ค่อนข้างสอนหลายห้องมีเด็กจํานวนมาก
ไปตลอดช่วงหลายสัปดาห์จะดียิ่งกว่า แต่สิ่งที่ไม่ควรทําคืออย่าเร่ง คุณครูหรือผู้สอนในระดับมหาวิทยาลัยสามารถที่จะอธิบายสิ่งที่
อ่านหนังสือแบบเอาเป็นเอาตาย! ส่วนหนึ่งของการเป็นนักศึกษาที่ นักศึกษาไม่เข้าใจได้หลายช่องทางทั้งการมาเจอกันตามช่วงเวลาที่
ประสบความสําเร็จคือการทํามากกว่าแค่การสอบให้ผ่าน แต่เป็นการ ระบุไว้ในประมวลรายวิชา ทางไลน์ อีเมล์ หรือห้องเรียนออนไลน์
จดจําข้อมูลที่มีประโยชน์ในโลกความเป็นจริง ถ้านักศึกษาอ่าน ต่างๆ นอกจากการถามผู้สอนเด็กๆยังสามารถถามรุ่นพี่ได้อีกด้วย
หนังสือแบบอัดๆ อาจจะจําได้มากพอที่จะเอาไปสอบให้ผ่าน แต่ ดังนั้นสิ่งที่ไม่เข้าใจเมื่อถูกถามออกไปอาจจะช่วยปลดล๊อคที่เราติดอยู่
เป็นไปได้มากว่าจะลืมเกือบทุกอย่างภายใน 1 หรือ 2 วัน การจํา ทาํ ให้ผ่านไปได้อยา่ งสบายกไ็ ด้นะคะ
ข้อมูลไปใช้ในภายหลังได้จริงๆ คือการลงทุนที่ชาญฉลาด เพราะการ

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

4) ทาํ อย่างไร ให้จบตามกําหนด 35

2.การปรับตัวในสังคมและความเปน็ อยู่ของมหาวิทยาลัย
เพือ่ ให้ถึงเป้าหมายของการเรียนใหจ้ บ ต้องทาํ ดงั น้ี

2.1.การเข้าร่วมชมรม หรือเข้าร่วมทีม มหาวิทยาลัยจะมีชมรมต่างๆให้เด็กได้เข้าไปเป็นสมาชิก แน่นอนในชมรมอาจจะมีทั้งเพื่อนที่มา
จากสาขาเดยี วกัน หรอื ตา่ งสาขา มที ้ังรุน่ พี่ รนุ่ นอ้ ง รนุ่ เดียวกัน แต่กม็ ักจะมีความชอบในทางทเี่ หมอื นกนั จงึ มาอย่ใู นชมรมเดียวกนั ได้

2.2 การเข้าร่วมกิจกรรมของสาขา หรือมหาวิทยาลัย ในทุกมหาวิทยาลัยต้องมีกิจกรรมประจําปีที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม สติปัญญา และกีฬา
โดยมุง่ ให้เด็กๆไดเ้ ข้าร่วมและแสดงศกั ยภาพ ซึ่งหากมีโอกาสก็ควรเกบ็ เกี่ยวไวเ้ ป็นประสบการณข์ องชวี ิตในรัว้ มหาวทิ ยาลยั

2.3 การบริหารจัดการเวลา แน่นอนสิ่งนี้ไม่เหมือนกับตอนเรียนมัธยม ในมหาวิทยาลัยจะไม่มีใครมาคอยติดตามดูนักศึกษาและกิจกรรม
ที่ทํา เพราะฉะนั้นนักศึกษาต้องจัดการเรื่องนี้ด้วยตัวเอง จัดลําดับความสําคัญของแต่ละกิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมายตามกําหนดเวลาและ
ความสําคัญที่จะทําให้ไปถึงเป้าหมายที่ใหญ่ที่สุดของตนเอง การบริหารจัดการเวลาในตารางเวลาไม่ควรจะมีแค่งานวิชาการเท่านั้น ควรใส่กิจกรรม
ความสนใจส่วนตวั ไวด้ ว้ ย ซ่งึ เมอื่ นํามาจัดเปน็ ตารางจะร้วู ่าหากมันมากเกินไปจะต้องตดั บางสงิ่ ทงิ้ ไปบา้ ง เพื่อให้เวลาลงตัวได้

2.4 การผูกมิตร และการสร้างเครือข่าย ก้าวแรกของการเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยบางคนมาพร้อมเพื่อนเรียนมัธยม บางคนมาคนเดียว
ดังนั้นการมาหาเพื่อนใหม่หรือหาเพื่อนเพิ่ม จึงเป็นการผูกมิตรที่ดี โดยเฉพาะเด็กหอ สิ่งหนึ่งที่นักศึกษาทุกคนต้องเจอคือการอยู่หอร่วมกับ
นักศึกษาคนอื่นบางที่อยู่แค่ปี 1 บางที่อยู่ด้วยกันมากกว่า 1 ปี การเป็นมิตรกันจะทําให้ชีวิตเด็กหอสนุกมากขึ้น และถ้าเพื่อนร่วมห้องเรามาจากต่าง
คณะยิ่งทําให้เรามีเครือข่ายต่างคณะถ้าเราสนิทกับเพื่อนร่วมห้องก็เริ่มมีการขยายผลไปยังกลุ่มเพื่อนสนิทในคณะ/สาขา ทําให้วงกว้างขึ้นมีเพื่อน
มากขนึ้ ดว้ ย

2.5 การหาแหล่งทุนสนับสนุนการศึกษา นักศึกษาควรทราบเลยค่ะว่าทุกคณะ/สาขา จะมีหน้าที่หนึ่งที่ต้องหาทุนการศึกษาทั้งทุนจาก
ภายใน และภายนอก สําหรับช่วยนักศึกษาที่มีความจําเป็น ดังนั้นเวลาที่เราต้องการหรือเกิดปัญหาทางสภาพคล่อง ควรปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา
หรืออาจารย์ที่ดูแลกิจการนักศึกษาให้ช่วยแนะนํา นักศึกษาหลายคนมักกลัวว่าขั้นตอนยุ่งยาก ต้องมีผลการเรียนดีๆ แต่ให้เปิดใจเลยว่าความ
ยุ่งยากต้องมีแน่นอนเพราะคณะกรรมการที่คัดเลือกเขาต้องดูตามความจําเป็นและเงินทุนเหล่านี้สามารถช่วยนักศึกษาได้ในระดับหนึ่ง ต้องคดั อย่าง
ดี ถ้าอย่างไรคณุ สมบัตเิ ราครบการได้ทุนการศกึ ษาก็แบ่งเบาภาระครอบครวั ไดท้ ําให้เราเดินตอ่ ไปจนสาํ เร็จการศกึ ษา

3.การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี
ถ้านักศึกษาตั้งใจเรียนมาจนถึงวันที่ได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพก็บ่งบอกถึงการก้าวเข้าใกล้บันไดแห่งความสําเร็จของการศึกษา เพราะมันเป็น

จุดที่เริ่มฝึกฝนประสบการณ์จริงที่นักศึกษาเลือกเรียนมาสู่การจะต้องทํางาน ทุกที่จะให้นักศึกษาได้ออกไปฝึกในสถานที่จริงทํางานจริง ประมวล
ความรู้ตั้งแต่แรกเข้าเรียนถึงปัจจุบันออกมาใช้ ดังนั้นต้องเก็บเกี่ยวประสบการณ์ให้มากที่สุดยิ่งทํามากวันที่เราไปทํางานก็จะยิ่งทํางานเป็นเร็ว
นายจา้ งทกุ ทีย่ อ่ มช่ืนชอบ

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

4) ทาํ อย่างไร ให้จบตามกาํ หนด 36

4.ส่ิงท่ีไม่ควรทํา
4.1 อย่าเที่ยวเตร่ดึกดื่นจนเสียการเรียน โลกมายานี้หากใครก้าวลงไปแล้วยากที่จะขึ้นสีสันสวยงาม ดังนั้นนักศึกษาควรรู้และไม่ควรทํา

เลยค่ะ การเที่ยวสังสรรค์มากเกินไปจนลืมว่าอะไรต้องให้ความสําคัญเป็นสิ่งแรก ส่งผลให้หลายต่อหลายคนเสียการเรียนไปโดยปริยายทั้งที่เป็นคน
เก่ง มีความสามารถ ยิ่งได้อยู่กับเพื่อนที่ชอบเที่ยวเหมือนกันล่ะก็ยิ่งไปกันใหญ่เลยล่ะ เวลาไปเที่ยวต้องกลับดึกทําให้ง่วงนอนตลอดเวลาอีกต่างหาก
บางคนก็ขาดเรียนซะเลยเพราะคิดว่าคงไม่เป็นอะไรหรอกม้ังแคข่ าดเรยี นไม่กค่ี าบ ในยคุ นีก้ ารหา้ มกเ็ หมือนยง่ิ ยุ ดงั นัน้ ขอให้นักศึกษารู้ขอบเขต ควร
ทําแต่พอดี ไมม่ ากจนส่งผลเสยี ต่อการเรยี น

4.2 อย่าเกเรหรือทะเลาะวิวาท จงจําไว้เลยนะคะยิ่งโตขึ้นอะไรต่างๆก็ใหญ่ตามมาด้วยอย่างเรื่องการทะเลาะเตะต่อยถ้าเป็นสมัยมัธยมก็
คงเข้าห้องปกครอง โดนทําโทษเล็ก ๆ น้อย ๆ ตัดคะแนนความประพฤติ เชิญผู้ปกครอง หากถ้าเกิดในระดับมหาวิทยาลัยแต่การทะเลาะวิวาทอาจ
ถูกพักการเรียนหรือขั้นร้ายแรงอาจถูกไล่ออกก็ได้ ดังนั้นถ้ามีปัญหากับเพื่อน รุ่นพี่ หรอื รุ่นน้องก็ควรพูดคุยปรับความเข้าใจกันให้ดี ถ้าคุยแล้วตกลง
กนั ไม่ได้กใ็ หผ้ ูใ้ หญเ่ ขา้ มาช่วยจะดที ส่ี ดุ เพราะไมค่ วรใชก้ ําลงั เพ่อื แก้ไขความขดั แยง้ ต้องใชว้ ธิ เี ชิงสรา้ งสรรคด์ ีกว่าเราโตแล้ว

4.3 อย่าขาดส่งงาน ต้องส่งงานให้ครบอย่าให้ตกค้าง นักศึกษาต้องส่งงานที่อาจารย์สั่งหรือตามสอบย่อยให้เรียบร้อย การเรียนการสอน
ในประเทศไทยจะประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ในชั้นเรียนอยู่ 2 ลักษณะคือ การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative Assessment) มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงผู้เรียน อาศัยการให้ข้อมูลย้อนกลับจากผู้สอนเพื่อพัฒนาส่งเสริม ตลอดการต่อยอดความรู้ และการประเมินผลสรุป
(Summative Assessment) มีจุดมุ่งหมายเพื่อการตัดสิน คุณค่า เช่น เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ผู้สอนทําการประเมินเพื่อให้คะแนน ดังนั้นการมี
คะแนนเกบ็ ดที สี่ ดุ เพราะอยา่ คิดหวงั แคค่ ะแนนสอบมันอาจจะทาํ ให้สอบตกได้

4.4 อย่าละเลยการลงทะเบียนเรียน ต้องลงให้ครบตามหลักสูตรฯ ในแต่ละเทอมนักศึกษา ต้องลงทะเบียนเรียนซึ่งจะแตกต่างจากตอน
มัธยมที่โรงเรียนส่วนใหญ่ จะจัดวิชาเรียนให้เอง อาจจะเลือกเองบ้างในวิชาเสรีหรือเพิ่มเติม ในระดับมหาวิทยาลัยนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนให้
ครบวิชาและหน่วยกิตตามที่คณะ/สาขากําหนดไว้ ในกรณีที่รู้ตัวเองว่าตกค้างหรือลงไม่ทันเพื่อนก็ต้องพยายามตามเกบ็ ให้ครบในเทอมต่อ ๆ ไป แม้
จะช้ากวา่ คนอนื่ แต่อย่ากลัวเลยขอให้เราตง้ั ใจรบั รองเรียนจบแนน่ อน แตถ่ ้าเพิกเฉย ไมร่ ับรองว่าไปไม่รอดแน่นอน

--ออกแบบดี มีวนิ ัย ม่งุ มั่น กา้ วถึงฝนั เรียบจบไดไ้ ม่ยาก—
---โชคดใี นชวี ติ มหาวทิ ยาลัย--

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

5) การสอบภาษาองั กฤษสาํ คญั อยา่ งไร 37

เรียบเรยี งโดย ดร.ภญ สขุ มุ าภรณ์ ศรวี ศิ ษิ ฐ เภสชั กรชาํ นาญการพเิ ศษ

นกั ศึกษาทุกคนเคยผ่านการสอบ (Examination) มาแลว้ การสอบเป็นการวัดระดบั ความรู้รวบยอดว่า
“มคี วามรู้ความเขา้ ใจมากนอ้ ยแคไ่ หน เกย่ี วกับเนอื้ หาทั้งหมดที่ไดเ้ รยี นมาในชว่ งเวลานัน้

ไมว่ ่าจะเปน็ การสอบกลางภาค (Midterm) การสอบปลายภาค (Final) และการสอบเก็บคะแนนตา่ ง ๆ
ทตี่ ้องอา่ นหนงั สือทบทวนความรทู้ ี่ได้เรียนมาเพอื่ ใช้ในการสอบท้ังหมด”

ภาษาองั กฤษเปน็ วชิ าทถี่ กู กําหนดให้เรยี นตามหลกั สตู ร แห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 22 ระบุว่า
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 มุง่ หวงั ใหผ้ เู้ รียนมเี จตคติท่ีดี การจดั การศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผเู้ รียนทุกคนมคี วามสามารถใน
ตอ่ ภาษาตา่ งประเทศแสวงหาความรู้ ประกอบอาชพี และศกึ ษาต่อ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด
ในระดบั ทส่ี งู ข้นึ รวมทั้งมคี วามรู้ความเข้าใจในเรอื่ งราวและ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธ
วัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลกและสามารถถา่ ยทอด รรมชาติและเต็มตามศักยภาพการพัฒนาภาษาอังกฤษ
ความคิด และวัฒนธรรมไทยไปยังประชาคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ จึงได้เริ่มขึ้นภายใต้การนําของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตรการศึกษาข้ัน นายกรัฐมนตรีทีม่ องเหน็ ความออ่ นซอ้ มในการใช้ภาษาอังกฤษของ
พ้นื ฐานกําหนดไว้ คนไทยใหม้ มี าตรการยกระดับมาตรฐานภาษาองั กฤษคนไทยใน
ทกุ หลักสูตร
หลักสูตรได้จัดให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน
เป็นสาํ คัญตามแนวการจัดการศึกษาของพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา

โดยมเี ป้าหมายหลักเพ่ือชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาไทยสามารถใชภ้ าษาองั กฤษเป็นเคร่ืองมอื ในการค้นคว้าองคค์ วามรทู้ ่เี ปน็ สากล
และเพ่มิ ขีดความสามารถแขง่ ขนั ในเวทโี ลก จงึ ให้สถาบนั อดุ มศึกษามเี ปา้ หมาย ดงั นี้

1) กําหนดนโยบายและเป้าหมายการยกระดบั มาตรฐานภาษาองั กฤษในทุกหลกั สตู รและทุกระดบั การศึกษา
เพ่อื เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษของนักศกึ ษาใหเ้ ปน็ บณั ฑติ ทมี่ คี วามพร้อมทั้งวชิ าการ วชิ าชีพ
และทกั ษะการสือ่ สารภาษาองั กฤษในระดับท่ใี ช้งานได้ (Working Knowledge)

2) จดั ทาํ แผนเพ่อื ดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามนโยบายและเปา้ หมายโดยมีตัวชว้ี ัดและมกี ารประเมินผลทช่ี ดั เจน
3) พจิ ารณาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าภาษาอังกฤษโดยม่งุ ผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายท่กี ําหนด
4) จัดกจิ กรรมนอกหลักสูตร กระบวนการ สื่อ
และ/หรือสิง่ แวดลอ้ มทีจ่ ะเปดิ โอกาสและเสริมแรงจงู ใจให้นกั ศกึ ษาสามารถพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษได้ด้วยตนเอง
5) พจิ ารณาจดั ให้นกั ศึกษาทกุ คนทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษตามแบบทดสอบมาตรฐานระดับอดุ มศึกษาที่สถาบนั สรา้ งขน้ึ
หรือทเี่ หน็ สมควรจะนาํ มาใช้วัดประสิทธิภาพทางภาษาองั กฤษ (English Proficiency) โดยสามารถเทียบเคยี งผลกับ Common European
Framework of Reference for Languages (CEFR) หรือมาตรฐานอื่นเพ่ือใหท้ ราบระดับความสามารถของนักศึกษาแต่ละคน
และนําผลการทดสอบความรทู้ างภาษาองั กฤษ บันทึกในใบรบั รองผลการศึกษา หรอื จัดทาํ เป็นประกาศนยี บตั รให้ โดยเร่มิ ตง้ั แตป่ ีการศกึ ษา 2559
เป็นต้นไป
สถาบันอุดมศกึ ษาในประเทศไทย จึงจดั ใหม้ กี ารทดสอบภาษาองั กฤษวา่ ทบ่ี ณั ฑติ ทกุ คนก่อนจะจบ (English Exit Exam)
เพ่ือตอบสนองนโยบายของรัฐบาลดังกล่าว บางมหาวิทยาลัยหลายแหง่ เร่ิมดาํ เนนิ การสอบมาบ้างแลว้
โดยการรว่ มมือกบั มหาวิทยาลยั หรือสถาบันภาษาในตา่ งประเทศ ทาํ MOU ร่วมกัน เพือ่ สรา้ งสรรคบ์ ัณฑติ ใหพ้ รอ้ มก่อนออกจากรัว้ มหาวทิ ยาลัย

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

5) การสอบภาษาอังกฤษสําคญั อยา่ งไร 38

โดยสถาบนั การศึกษาในตา่ งประเทศทาํ หน้าท่อี อกข้อสอบใหไ้ ดม้ าตรฐานเพื่อนาํ มาทดสอบกับนกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลัยไทย
หรอื เพอ่ื ความมนั่ ใจในมาตรฐานการสอบสถาบนั พระบรมราชชนก (สบช.) ได้ประกาศ เรื่องเกณฑแ์ ละแนวทางการสอบภาษาอังกฤษ
สําหรบั อาจารยแ์ ละนกั ศึกษา

กาํ หนดจดั สอบให้นกั ศกึ ษาปีละ 2 ครัง้ (คร้ังที่ 1 วันเสารส์ ปั ดาหแ์ รกของเดอื นกนั ยายน คร้ังท่ี 2 วนั เสาร์สัปดาหส์ ดุ ท้าย
ของเดือนกมุ ภาพันธ์) ผา่ น 51 คะแนน (Upper Intermediate) ทุกหลักสูตร

โดยอาจารย์ไดป้ รบั เปลี่ยนบทบาทจากผู้สอน มาเปน็ ผกู้ ระตุน้ และอํานวยความสะดวก
หาแหล่งข้อมลู ขา่ วสารใหน้ ักศกึ ษาเรียนรู้เพ่มิ เติมไดด้ ้วยตวั เอง มีการแนะนาํ ที่ไม่ใช่การสอนแบบใหข้ อ้ มลู ความรู้เหมือนในอดตี
เพราะเดก็ ยคุ ปจั จุบันสามารถทําหลาย ๆ อยา่ งพรอ้ ม ๆ กนั ไดด้ ี และทส่ี ําคัญ คอื เบ่อื ง่าย โดยการบรรยายจะต้องมีทัง้ ข้อคดิ วดี โี อนาํ เสนอ
หรือยกตัวอยา่ งผสู้ ําเรจ็ ในการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ เพอื่ สรา้ งแรงบันดาลใจใหฝ้ ึกฝนตามแบบอยา่ งไอดอลได้

สบช. ไดแ้ บ่งระดับความรภู้ าษาอังกฤษ ไว้ 4 ระดับ ดงั นี้
1) Beginner (0-25 คะแนน) เป็นระดบั ท่สี ามารถพดู เขยี น และจบั ใจความสาํ คญั ของขอ้ ความทว่ั ไปได้

มีทักษะภาษาท่จี ําเปน็ ในชีวิตประจําวนั
2) Lower Intermediate (26-50 คะแนน) เป็นระดับทีส่ ามารถใช้ภาษาในระดับดี สามารถพดู

และเขียนใหข้ ้อมลู ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและคลอ่ งแคล่ว รวมท้งั สามารถอ่านและเขา้ ใจบทความทม่ี เี นอื้ หายากขึ้นได้
3) Upper Intermediate (51-75 คะแนน) เป็นระดับท่เี ขา้ ใจข้อความที่ซบั ซ้อนในหวั ขอ้ ทหี่ ลากหลาย และเข้าใจความหมายแฝงได้

สามารถแสดงความรสู้ กึ ไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ และมปี ระสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ ทงั้ ในดา้ นการทํางาน หรอื ด้านการศึกษา
4) Advance (76-100 คะแนน) เปน็ ระดับที่มคี วามสามารถในการใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งดเี ยี่ยมใกลเ้ คียงกบั เจ้าของภาษา

ใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งสละสลวย และถกู ต้องเหมาะสม

การสอบภาษาอังกฤษจึงมีความสําคญั เป็นอนั ดับต้น ๆ ในการศึกษาของ สบช. เนอื่ งจาก
1. เปน็ ภาษาที่เปน็ ทางการของโลก
ภาษาองั กฤษกําลังถูกใช้ไปทั่วทกุ มมุ โลก ณ วนั น้ี และใช้เป็นพลงั ทางบวก เพือ่ ทาํ ใหโ้ ลกเป็นอนั หนง่ึ อันเดียวกัน สอื่ สารกบั ผคู้ นจากต่างแดน
ทําความเข้าใจซง่ึ กนั และกนั โดยเฉพาะเรอ่ื งวฒั นธรรมและสงั คม ทําใหเ้ ข้าใจมุมมองในชีวิตท่ตี า่ งกนั ของแตล่ ะคนได้มากข้ึน ดงั น้ัน
การรภู้ าษาอังกฤษจะทําใหน้ กั ศึกษาเป็นสว่ นหนึ่งในบทสนทนาของโลก
2. ได้เรยี นรเู้ กยี่ วกับวฒั นธรรม จากการเดินทางไปทุกท่ใี นโลก
ภาษาและวฒั นธรรมเปน็ ส่งิ ท่ีแยกออกจากกันไมไ่ ด้ ภาษา คอื วฒั นธรรม และวฒั นธรรม คือ ภาษา พดู งา่ ย ๆ คอื
การรูภ้ าษาอังกฤษจะทําให้เข้าใจความคดิ ของผู้คนในประเทศทพี่ ูดภาษาอังกฤษไดด้ ีขน้ึ เข้าใจถึงวิธคี ดิ ของผ้คู น การใช้ชวี ติ
และทศั นคติทีม่ ตี ่องานไดล้ กึ ซ้ึงขึน้
3. เพิม่ โอกาสในอาชีพสงู ขน้ึ และมีรายไดม้ ากข้นึ
องคก์ รหลายแห่งทัว่ โลกต้องการให้พนักงานพูดภาษาองั กฤษ และบางองคก์ รยังจาํ เพาะเจาะจงใหใ้ ช้ภาษาองั กฤษเทา่ นั้น
เพราะมีประโยชน์ในการให้บรกิ ารมาก

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

5) การสอบภาษาอังกฤษสาํ คัญอย่างไร 39

4. ง่ายตอ่ การเรียนรู้ ทําใหไ้ ด้รับการศึกษาที่ดขี น้ึ
คนสว่ นใหญค่ ดิ ว่าการเรียนภาษาเปน็ สงิ่ ที่ยากมาก แตใ่ นหลาย ๆ กรณี บางคนเรียนภาษาองั กฤษไดง้ ่ายมาก เน่อื งจากมตี ัวอักษรเพียงแค่ 26 ตวั
เท่าน้ัน และเปน็ ภาษาทแี่ พรห่ ลายไปทว่ั ทุกมุมโลก ทาํ ใหก้ ารเรียนภาษาองั กฤษเป็นเรอื่ งท่คี อ่ นขา้ งง่ายมาก แหลง่ ข้อมูลทนี่ าํ มาใช้จงึ ไรข้ ดี จํากัด
หรือบางคร้งั อาจตอ้ งจา่ ยเงินเลก็ นอ้ ย เพอื่ เรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษออนไลนห์ รอื เข้าถึงแหลง่ ขอ้ มูลอ่ืน ๆ แต่กค็ มุ้ ค่ากับการลงทนุ
โดยอาจจะเร่ิมจากการดูการ์ตูนหรือซิทคอมภาษาองั กฤษบน YouTube, Netflix, เวบ็ ไซตท์ วี ีภาษาอังกฤษแบบฟรีอน่ื ๆ
หรอื ค้นหาบทเรียนภาษาอังกฤษแบบเต็มรูปแบบบนอินเทอร์เนต็ และแอปท่นี า่ สนใจอยา่ ง FluentU
ซ่ึงเหมาะสําหรับผู้ท่เี รียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่สี อง
5. พัฒนาความเขา้ ใจทางด้านวทิ ยาศาสตร์ให้สงู ขน้ึ
ภาษาองั กฤษเป็นภาษาของวทิ ยาศาสตร์ หากตอ้ งการเผยแพร่ หรือพูดคุยกบั ผู้รอบรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ต้องเรยี นภาษาองั กฤษด้วย
งานวิจัยทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ท่ไี ดร้ ับการตพี ิมพ์เป็นภาษาองั กฤษเปน็ หลัก และส่วนใหญ่บทคดั ยอ่
จะเขียนเปน็ ภาษาองั กฤษเพ่อื ให้นกั วทิ ยาศาสตรน์ านาชาติสามารถอ่านได้
6. มีความมัน่ ใจในตัวเองมากขึ้น เกดิ ความภมู ิใจทไ่ี ดเ้ รียน และเขา้ ใจภาษาใหม่ ๆ
การเรียนรูภ้ าษาเปน็ ส่ิงท่ีตอ้ งทมุ่ เท คนจะเคารพในความม่งุ มั่นเพือ่ ใหไ้ ดม้ าซึง่ ทักษะภาษาอังกฤษ
ความสามารถในการส่ือสารกบั ผู้คนท่ีพยายามเรยี นรมู้ มุ มองท่ีมีตอ่ สิ่งต่าง ๆ รถู้ ึงประสบการณช์ วี ิต ความคดิ ความหวงั
และทศั นคตขิ องผู้คนจากต่างวัฒนธรรม นน่ั คือ สงิ่ ทที่ าํ ใหน้ ักศึกษาเปน็ คนพิเศษ และน่าสนใจเป็นพิเศษดว้ ย
7. จะได้บรหิ ารสมอง
การเรียนร้ภู าษาอังกฤษทําให้ฉลาดขึน้ และมีสมองทท่ี รงพลงั ข้นึ คอื ผทู้ ีพ่ ูด 2 ภาษา สามารถสรุปความคดิ รวบยอดไดเ้ ร็วกวา่
และทาํ คะแนนทดสอบได้ดกี ว่า
ดังนั้น ภาษาองั กฤษไม่ใช่เรอื่ งยากอย่างทีค่ ิด อยู่ทก่ี ารฝกึ ฝน เรียนรู้ ทบทวน และพดู หรือสอื่ สารออกมาบ่อย ๆ
เพ่อื สามารถนาํ ไปสอบได้ถูกตอ้ งและนําไปใชท้ าํ ขอ้ สอบได้อยา่ งแมน่ ยํา ถ้านกั ศึกษาจําคําศัพท์ไมไ่ ด้หรือไมร่ คู้ วามหมายและเบื่อท่จี ะท่องจํา

6 วธิ ี เทคนิคการจาํ คาํ ศพั ท์ภาษาองั กฤษเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ เพอ่ื การสอบ
1. เตรยี มสมุดหรืออุปกรณพ์ กพาไวจ้ ดคําศัพท์ ท่ีได้จากการฟัง อ่าน สิง่ รอบขา้ งหรือไมว่ ่าจะเปน็ สอื่ ตา่ ง ๆ หรอื ปา้ ยโฆษณาท่ีพบเห็นริมทาง
ส่ิงเหล่าน้ีล้วนเปน็ ตวั ชว่ ยในการพัฒนาการจาํ ศพั ท์ภาษาองั กฤษทงั้ นน้ั โดยทกุ คร้งั ทเ่ี จอคําศพั ทภ์ าษาองั กฤษทีไ่ ม่รจู้ ัก หรอื ไม่ทราบความหมาย
ใหจ้ ดลงไปในสมุดอย่าปล่อยผา่ น พร้อมท้งั นํากลบั มาหาความหมายเพื่อชว่ ยให้เขา้ ใจคําศพั ทเ์ หลา่ น้ัน ทอ่ งจําให้ข้ึนใจ
และควรนาํ คําศพั ทท์ ีเ่ ขียนลงสมดุ มาทบทวนในชว่ ง 24 ชั่วโมงแรกที่พบเห็น จะชว่ ยใหจ้ าํ เรือ่ งราวตา่ ง ๆ ได้
ทั้งยังชว่ ยให้สามารถจําศัพทเ์ หลา่ นนั้ ได้ง่ายยิ่งข้นึ
2. เลือกทอ่ งศพั ทเ์ ฉพาะเรือ่ ง ทีอ่ ยู่ในหมวดหมูป่ ระเภทเดียวกัน ได้จากเรือ่ งราวทส่ี นใจและชอบ จะทาํ ใหร้ ู้สึกว่ามนั จาํ ได้งา่ ย
และพบเจอได้บอ่ ยมากกวา่ ศพั ทช์ นดิ อ่นื ๆ ดังนัน้ ควรใสใ่ จในการเลอื กคําศัพทท์ ีจ่ ะท่องในแต่ละวัน
เพราะจะชว่ ยใหจ้ ําคําศพั ท์ไดแ้ มน่ และให้ผลสูงสดุ
3. จํากดั คําศพั ทท์ ี่อยากทอ่ งในแต่ละวนั โดยแนะนาํ ใหท้ อ่ งตงั้ แต่ 10–20 คําศพั ทต์ ่อวนั เพราะการท่องศัพทใ์ นวันเดียวดว้ ยจาํ นวนทม่ี ากนนั้
จะทาํ ใหจ้ าํ ศพั ท์ได้ยาก รู้สึกเบือ่ หนา่ ย และอึดอดั ด้วย จนทาํ ใหท้ ้ายสดุ อาจจะร้สู กึ วา่ การท่องจําศัพท์เปน็ เรื่องยากและลม้ เลิกไป
4. อ่านใหม้ าก โดยการอา่ นถอื เปน็ ส่งิ จําเป็นและสาํ คญั สามารถอา่ นไดท้ กุ อย่างไมว่ า่ จะเปน็ Subtitle จากภาพยนตร์
ไปจนถงึ ปา้ ยโฆษณาตามทตี่ ่าง ๆ ซงึ่ การอา่ นน้ันจะชว่ ยให้คนุ้ ชนิ ไปกบั ศพั ท์ได้อย่างดีเย่ยี ม

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

5) การสอบภาษาองั กฤษสาํ คญั อย่างไร 40

5. การฟัง ใหท้ ําควบค่ไู ปกบั การอ่าน โดยเร่ิมต้นได้ด้วยการฟงั เพลงสากล หรือหนังซกั เรื่องท่ีชนื่ ชอบใหเ้ กดิ ความรู้สึกคุ้นเคยกบั ศพั ท์ใหม่ ๆ
รวมไปถึงการรับรถู้ ึงสําเนียงของเสียง ซึ่งถ้าฟังและอา่ นพร้อม ๆ กับการดหู นงั ฟงั เพลง จะช่วยใหร้ สู้ กึ ไม่เบ่ือหนา่ ยกับการเรยี นรู้
หรือท่องจําศพั ท์อกี ดว้ ย
6. การเขยี นศพั ท์ เปน็ ส่งิ สุดท้ายที่ชว่ ยใหเ้ หน็ ภาพของศพั ทแ์ ละคดิ ตาม ยงั ช่วยกระตุ้นสมองใหเ้ กดิ การจดจําและคุน้ ชินกบั คาํ ศัพท์นั้นได้ดี
โดยชว่ งเวลาทด่ี ใี นการเขยี นควรอยู่หลงั การอ่านและฟังคําศัพท์ตา่ ง ๆ

สรุปไดว้ า่ ผลจากนโยบายของรฐั บาล ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2559 ทาํ ให้ สบช. ตนื่ ตัวถงึ ศักยภาพการใช้ภาษาอังกฤษของนกั ศึกษา

เพราะทกุ วนั นี้ได้สือ่ สารกันดว้ ยภาษาอังกฤษ ไมว่ า่ จะเปน็ การติดตอ่ ส่อื สารกันโดยตรง การใช้อนิ เตอร์เน็ต การดทู ีวีหรอื ภาพยนตร์
และหนังสอื คมู่ ือทางด้านวชิ าการต่าง ๆ เปน็ ต้น บณั ฑติ ท่สี ําเร็จการศึกษาออกมาในปจั จบุ นั ถา้ มคี วามร้ภู าษาองั กฤษทัง้ ฟัง พูด อ่าน
และเขียนเสริมเข้าไป โอกาสทจ่ี ะหางานกจ็ ะไม่จาํ กัดแคใ่ นประเทศไทย ดงั น้นั การทดสอบภาษาองั กฤษก่อนจบ จงึ มคี วามสําคัญ
และเป็นประโยชน์มาก

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

6) ชีวติ เด็กหอในวิทยาลัยและปรับตวั อย่างไรกบั รนุ่ พ่ี 41

เรียบเรียงโดย อ.ธนารตั น์ พลบั พลาไชย พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการ

จากนักเรยี นเปน็ นักศกึ ษา : เรอ่ื งของการปรับตวั ปรับใจ
จากเดก็ น้อยวยั ใสหวั ใจว้าวนุ่ ต้องเกบ็ เสอื้ ผา้ ยัดใสก่ ระเปา๋ ต้องเดนิ ทางจากพอ่ แม่ท่ีรกั

จากพ่นี ้องท่ีคดิ ถงึ (แม้จะทะเลาะกันทกุ วันก็ตามเถอะ) มาอยตู่ วั คนเดียว
เพื่อตามความฝนั เล่าเรยี นในสถานบนั การศกึ ษาทแี่ ปลกใหม่ ผ้คู นกแ็ ปลกใหม่
เป็นอะไรท่วี ัยรุ่นอยา่ งเราจะตอ้ งเตรยี มตัวเตรียมใจเปน็ อยา่ งดี เพ่อื รบั มอื กบั การเปล่ยี นแปลงครงั้ ใหญใ่ นชวี ติ ครง้ั น้ี

โดยธรรมชาติแล้ว การปรับตัว (Adjustment) อย่างไรก็ตามแต่ละคนจะมีการตอบสนองต่อปัญหาหรือสถานการณ์
ของสิ่งมีชิวิตอย่างมนุษย์เราเป็นเรื่องปกติเพื่อการอยู่รอด แตกต่างกันไป อาจใช้วิธีหลีกเลี่ยงและหนีปัญหา(flight)
การดําเนนิ ชีวติ ของเราตอ้ งมอี ุปสรรคบา้ งทุกคนยอ่ มประสบกบั หรือใช้วธิ ีเผชิญหน้าโดยพยายามหาทางแก้ไข (fight)
ปัญหามากหรอื นอ้ ยแตกต่างกันไปปัญหาที่เกดิ น้ันมาจากการที่ ก็ได้ แต่ถ้าหากไม่สามารถจัดการกับปัญหานั้นได้ ความวิตกกังวล
เรามีความต้องการและความปรารถนาในสิ่งใดสิ่งหนึ่งแต่ถูกขัดขวาง (anxiety)ก็จะเกิดตามมาทําให้จิตใจถูกกระทบกระเทือนอาจเกิดกา
จงึ เกิดอารมณท์ างลบขึ้น เช่น หงุดหงดิ คับขอ้ งใจ หรือโกรธ รเสียสมดุลทางจิตใจ และเปน็ เหตุให้เกิดปญั หาสุขภาพจิตได้

“ มาถงึ ตรงนแี้ ล้วนอ้ ง ๆ นักศึกษาใหม่คงอยากรูแ้ ล้วสินะวา่ นกั ศึกษาใหม่วิทยาลยั ในสังกดั คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนกน้ี เราจะเจอกับอะไรและตอ้ งปรับตวั อยา่ งไร

ครง้ั น้จี ะขอใหข้ อ้ มูลทสี่ าํ คัญ 2 เร่อื ง คือ การใชช้ ีวิตเด็กหอในวิทยาลยั กับการรับน้อง จากร่นุ พผี่ ูน้ า่ รัก
เราลองมาดูรายละเอยี ดกัน “

ชวี ติ เด็กหอในวทิ ยาลยั
1.ชีวติ เดก็ หอ ชวี ิตเดก็ หอมีอยู่ 2 แบบ หอใน คอื หอพักทเ่ี ปน็ ของวทิ ยาลัย ซ่ึงพักอย่ใู นเขตวิทยาลัย
และต้องทําตามกฎของวิทยาลัยทก่ี าํ หนด และกจิ กรรมรว่ มกนั ไว้อยา่ งชดั เจน สาํ หรับนกั ศกึ ษาหอใน
วทิ ยาลยั จะกําหนดใหน้ กั ศกึ ษาหญงิ เขา้ พักหอในวทิ ยาลยั ทุกคน สว่ นหอนอก คอื หอพักทเ่ี ป็นธรุ กิจของเอกชน
ทีเ่ จ้าของกจิ การสรา้ งขน้ึ มาเพอื่ ใหค้ นทั่วไปพกั อาศยั และมกี ฎระเบยี บทวั่ ไปไมเ่ คร่งครดั ไมจ่ ํากัดเพศหรอื ประเภทผเู้ ชา่
ใครกส็ ามารถเข้ามาพักได้ ไม่จาํ กดั แค่เฉพาะนกั ศกึ ษาขอวทิ ยาลยั เหมือนกับหอใน กรณนี ้ีจะเป็นนกั ศึกษาชายเทา่ นั้นที่เป็นเดก็ หอนอก
แตค่ ่าใชจ้ ่ายก็จะสูงกวา่ หอใน

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

6) ชีวิตเด็กหอในวทิ ยาลยั และปรบั ตวั อย่างไรกบั รุน่ พี่ 42

2.รวมกันเราอยู่ หอในวิทยาลยั จะเป็นห้องพักรวม อยู่ 4-6 คน/หอ้ ง ตามแตข่ นาดหอ้ ง นน่ั หมายความวา่ น้อง ๆ
ตอ้ งอยูก่ ับเพ่ือนทีเ่ ป็นคนแปลกหนา้ (แต่หนา้ ไม่แปลกนะจะบอกให)้ ท่ีไม่รจู้ ักกนั มาก่อน ดงั นน้ั ในวนั แรกๆที่เรามารายงานตัว
กอ่ นเลือกหอ้ งวา่ จะพักกับใครกล็ องสบตา ยม้ิ เดินเข้าไปหา และทกั ทายปรายศรัยกบั เพ่อื นดูนะวา่ นิสัยใจคอเป็นอย่างไร
ไปกบั เราได้หรือเปลา่ เพือ่ ที่เราจะไดม้ นั่ ใจว่ามีเพอ่ื นรว่ มหอ้ งทเ่ี ราสบายใจ เมือ่ อยู่ด้วยกันแลว้ ก็ต้องรู้จกั การปรับตวั เข้าหากัน
การเปน็ คนชา่ งสังเกตจะทาํ ให้เราปรับตัวเข้ากับเพื่อนใหมไ่ ดง้ า่ ยข้ึน เช่น เพ่อื นไม่ชอบนอนเตยี งช้นั บน
หรอื เพ่อื นไม่ชอบนํา้ หอมบางชนดิ เม่ือเรารขู้ ้อจาํ กัดเพอ่ื นเราจะไดห้ ลีกเลีย่ งได้ ถ้าเราไม่ชอบอะไรแตเ่ พ่อื นทาํ กบั เรา
เรากค็ งไมป่ ล้มื เป็นแนจ่ ริงมั้ย ในทางจติ วิทยาเราเรยี กสงิ่ นวี้ ่า Empathy ใจเขาใจเรา น่นั เอง

3. รุ่นพผี่ ้นู ่ารัก แน่นอนว่าเด็กใหมอ่ ยา่ งเรา คงไม่ได้อยหู่ อเดยี วกนั เพ่ือนรนุ่ เดียวกนั ทงั้ หอเป็นแน่ ยังมรี ุ่นพผ่ี ู้นา่ รัก ชน้ั ปี 2-4
อยู่กบั เราดว้ ยท้งั หลกั สตู รเดียวกบั เราหรอื ตา่ งหลักสูตร
การเป็นเด็กในหอของวิทยาลยั จึงต้องรจู้ ักมารยาททางสังคมที่เราได้รับการปลกู ฝงั มาตง้ั แต่รั้วโรงเรยี นกต็ อ้ งนาํ มาใช้ใหเ้ หมาะสม
ด้วยมีคติทว่ี ่า “มากอ่ นคอื พี่ มาหลังคือนอ้ ง มาพรอ้ มคือเพ่อื น” เชน่ การมองหนา้ สบตา ยิ้ม การกลา่ วสวสั ดี พรอ้ มคาํ ท้ายเสียง เป็นตน้
เพราะความประทบั ใจแรกพบจะทาํ ใหเ้ ราเป็นน้องนอ้ ยทน่ี ่ารักของพี่ ๆ ทีน้ีเรากจ็ ะสนทิ กันไดง้ ่ายขึน้ สิง่ เหลา่ นีเ้ ป็น ทกั ษะทางสังคม
(Social Skill) เปน็ พฤติกรรมทแี่ สดงออกผา่ นคาํ พูด สหี น้า ทา่ ทางเปน็ ทักษะทจี่ ําเปน็ ในการสร้างและรกั ษาสมั พันธภาพกบั ผูค้ นในสังคม

4. ของดมี จี าํ กัด แนน่ อนวา่ เมือ่ คนมาอย่รู วมกับเยอะๆ เปน็ รอ้ ยคน ของที่มีอยูก่ ็ต้องไม่เพียงพอ เช่น ปรมิ าณหอ้ งนํา้ หอ้ งสวัสดิการต่าง ๆ
หรอื แม้แต่สญั ญาณอินเตอร์เนต็ เพราะฉะน้นั น้อง ๆ ต้องบริหารจัดการเวลาใหด้ ไี หนคนใชเ้ ยอะ อาจต้องร้จู ักการเหลือ่ มเวลาให้เหมาะสม
หรอื เตรยี มของใชจ้ าํ เปน็ สว่ นใหพ้ ร้อม บางอย่างกส็ ามารถแบ่งปนั กนั ได้ เป็นการฝึกทกั ษะในการวางแผนและการคาดการณไ์ ปด้วยในตัว

5. กฎระเบียบทเ่ี คารพ อันน้นี ้อง ๆ ตอ้ งเตรียมใจสาํ หรบั กฎระเบียบของการอย่รู ่วมกันในหอพัก
เนือ่ งจากคนอย่รู ่วมกันเป็นจํานวนมากทางวิทยาลยั จงึ ต้องออกกฎเกณฑ์ข้อกาํ หนด เพื่อใหส้ ามารถอยดู่ ว้ ยกนั ได้อยา่ งสันติ นอ้ ง ๆ
อาจต้องปรับตัวเพอื่ ให้อยู่ได้อยา่ งมคี วามสุข เช่น หา้ มออกนอกวทิ ยาลัยหลัง 19.00 น. และตอ้ งอยใู่ นหอ้ งพักหลงั 20.00 น.
หรอื มีการเชค็ ช่ือจากอาจารยป์ ระจําหอ เปน็ ต้น กฎระเบยี บเหลา่ นบี้ างส่วนจะผกู โยงกบั คะแนนความประพฤติ
ที่จะมผี ลกบั การมีสทิ ธิส์ อบ การเลือ่ นช้ัน หรอื แม้แต่กระทงั่ การพน้ สถาพนกั ศกึ ษา ตรงขอ้ นเ้ี ป็นปัญหาใหญ่สาํ หรบั นักศึกษาใหม่
ด้วยเราเคยอยูบ่ ้านสบายๆ แต่เม่อื กา้ วส่ชู ีวติ เด็กหอกต็ อ้ งกายพรอ้ มใจพรอ้ ม เพราะฉะนนั้ ต้องศึกษากฎระเบยี บให้ดดี ้วย
พยามเตือนตัวเองอยเู่ สมอวา่ อย่าทําผดิ กฎ เพ่ือใหเ้ ป็นนิสยั ดว้ ยวชิ าชีพสุขภาพอย่างเรา การอยูใ่ นกฎ
การมีระเบียบวนิ ัยเปน็ เร่อื งสําคญั

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

6) ชีวติ เดก็ หอในวิทยาลัยและปรับตัวอย่างไรกบั ร่นุ พี่ 43

รุน่ พรี่ ับนอ้ ง : รักน้อง

อีกเร่ืองทจ่ี ะบอกกลา่ วกบั น้องนกั ศึกษาใหมใ่ นปีนี้ คือ “รกั น้อง” กิจกรรมที่มักถูกพดู ถงึ ทุกปี

หน่งึ ในสิง่ ทเ่ี ดก็ เฟรชช่หี ลายคนตน่ื เต้นและจินตนาการไว้ว่า ตวั เองจะโดนรบั นอ้ งยังไง กจิ กรรมสุดฮอตทีส่ ร้างประเด็นในสงั คม
มีทง้ั คนทเี่ ห็นด้วยและไม่เห็นดว้ ย ข่าวสารเร่อื งการรบั น้องบางสถาบนั มีทัง้ ดา้ นลบท่ีถูกพูดถึงกนั ในสงั คมว่า ไม่สร้างสรรค์

ในขณะเดยี วกนั เหรยี ญมักมสี องดา้ น แม้จะมขี ่าวในแงล่ บออกมาบ่อยครง้ั แตห่ ลายสถาบันการศกึ ษาก็ยงั สนบั สนนุ ให้มกี ิจกรรมนตี้ อ่ ไป
แล้วน้องใหมอ่ ยา่ งเราต้องเจอกบั อะไรบ้าง อนั น้ีก็มีหลายหลายประเภทแต่อย่างหน่ึงทีจ่ ะบอก คือ การรับน้องของสถาบนั พระบรมราชชนก
จะจัดภายในร้วั วทิ ยาลยั และภายใตก้ ารดูแลของอาจารยท์ ปี่ รึกษาเพือ่ ใหม้ ่นั ใจวา่ กจิ กรรมรบั น้องจะอยใู่ นขอบเขตและไม่เป็นอันตรายแก่

รา่ งกายและจิตใจของนอ้ ง การรับนอ้ งจะเป็นยังไง ใหอ้ ะไรกบั ชวี ิตเฟรชชี่หนา้ ใหม่บา้ ง พรอ้ มแลว้ ไปหาคําตอบกนั

1. พี่สอนระเบยี บ ในกิจกรรมรับน้องจะมรี ุ่นพีม่ าพดู สอนเราด้วยคําพดู เสยี งดังลนั่
พดู ไมร่ ้จู กั หยุดเพ่อื ใหเ้ ราทราบระเบียบขอ้ กําหนด หา้ มทาํ อย่างนน้ั อย่างน้ี ต้องทําอย่างนัน้ อย่างน้ี พรอ้ มทาํ ทา่ ทาง หน้าตาขงึ ขงั ราวกบั โกรธกนั มา
10 ปี จนบางคร้งั เราอาจคดิ ในใจวา่ คนบา้ ตะโกนหรือคะ? หรอื คนท่ีชอบแนวดนตรวี ้ากๆ Rocker หรอื เปลา่ ครับ ? สรุปคอื
รุ่นพี่ท่ที ําหนา้ ที่อบรมเราทเ่ี รยี กว่า พี่สอนระเบยี บ นั่นเอง เปน็ คนทที่ ําใหเ้ ราเกรงขาม และรกั ษากฎระเบยี บทุกอย่างอยา่ งเครง่ ครัด
โดยมากมกั จะคดั จากคนท่ีมีบุลิกลักษณะดี น่าเคารพ และมคี วามประพฤตดิ ีเป็นคนรับตาํ แหน่งน้ี
เพราะฉะน้ันนอ้ งใหม่อยา่ งเรากต็ อ้ งเตรียมตัวเตรยี มใจท่จี ะเจอพ่วี า้ กจอมซา่ ไวด้ ้วยน้ันคือ การคิดเชิงบวก (Positive Thinking)
เพ่ือให้เหน็ โลกในดา้ นที่ดมี ากขึน้ การท่ีบคุ คลยอมรับความเป็นจรงิ ที่เกดิ ขน้ึ มองส่ิงต่าง ๆ อยา่ งเข้าใจ ยอมรับไดใ้ นปัญหา ความทกุ ข์
ความไมร่ าบร่นื ว่าเป็นเร่ืองธรรมดา และรจู้ กั เลอื กใชป้ ระโยชนจ์ ากด้านบวกท่ีแฝงอย่ใู นส่ิงนัน้ ๆ ได้ เพราะจรงิ ๆ
หากมองลกึ ลงไปแลว้ สิ่งทพ่ี ี่วา้ กพดู สอน มันคอื สง่ิ จําเป็นสําหรับการดาํ รงชีวิตในสงั คมและการอยรู่ ่วมกัน
เพยี งแต่เปลี่ยนรูปแบบจากทีบ่ อกสอนแบบปกติมาเป็นอะไรที่คาดไม่ถึง ท้งั นเี้ พอ่ื สรา้ งสสี ันน่นั เอง จนบางทีเรากแ็ อบคดิ ในใจ
สงสารพีเ่ ค้าจะเจบ็ คอมยั้ นะ (555)

2. กิจกรรมสมั พนั ธ์พี่น้อง นอกจากพ่ีวา้ กจอมซา่ ที่เราต้องเจอแลว้ กิจกรรมสมั พันธ์พน่ี อ้ ง มักมคี วามสนุกสนานรอเราอยู่
ซึ่งส่วนใหญ่เปน็ การละลายพฤติกรรมของเด็กในวิทยาลยั ท่ีมาจากคนละท่ีให้หลอมรวมกนั เปน็ หนงึ่ เดียว น้อง ๆ
จะไดเ้ จอกิจกรรมทส่ี นุกสนานมากมาย แลว้ แต่วา่ ร่นุ พขี่ องเราจะจดั อะไรมารอต้อนรับเราบ้าง (ตอ้ งรอลุ้นกันเองนะจะ๊ )
สว่ นใหญแ่ ลว้ กท็ ํามาเพอื่ ใหน้ อ้ ง ๆ ปี 1 ในวิทยาลยั สนทิ กนั มากขน้ึ กิจกรรมเหล่านีม้ กั มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัวของแต่ละสาขาวชิ า แตล่ ะวิทยาลยั
น้องอาจจะกต็ อ้ งลองจนิ ตนาการดูวา่ วิทยาลัยทเ่ี รากําลังจะเขา้ ไปเปน็ เฟรชชี่ น่าจะเตรียมการรับนอ้ งเราในแบบไหน
โดยสว่ นใหญ่กม็ ักจะมธี รรมเนยี มที่ทาํ ตอ่ ๆ กันมาหลาย ๆ รนุ่ และเราก็กําลงั จะได้เปน็ หนง่ึ ในการร่วมธรรมเนยี มนนั้
ตรงนีน้ ้องอาจตอ้ งเตรยี มตวั กบั กิจกรรรมท่คี อ่ นข้างมากและหลากหลาย บางคร้ังอาจเริ่มแต่เชา้ ตรู่ชนดิ นกกายงั ไมต่ ่ืน
หรือเลิกดกึ ชนดิ ขอนอนก่อนอาบนาํ้ ไดม้ ยั้ อาจจะเร่งรีบดว้ ยมีกจิ กรรมด่วน หรือเปลย่ี นแผนไปมาแบบนเ้ี ปน็ ต้น
แตอ่ ยา่ งไรก็ตามชว่ งกิจกรรมลักษณะน้จี ะอยู่ประมาณ 1-2 สัปดาหเ์ ทา่ นน้ั

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

6) ชีวติ เด็กหอในวิทยาลยั และปรับตวั อยา่ งไรกับรุน่ พี่ 44

3. สถานการณ์เป็นเหตุ ในกจิ กรรมรบั น้องบา้ งคร้งั เราอาจตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีตงึ เครียด ดว้ ยบรรยากาศ

ด้วยนา้ํ เสียงทา่ ทางของร่นุ พี่ ด้วยความเหน่ือยลา้ หรอื ด้วยท่าทางตน่ื ตระหนกของน้องใหม่ใสซ่อื อย่างเรา ทําใหเ้ กดิ ความเครียด ความคบั ขอ้ งใจ
หากน้อง ๆ มีความเครยี ดสะสมในระดบั ที่มากเกนิ ไปจะส่งผลกระทบทางดา้ นลบตอ่ ปญั หาสุขภาพกาย ได้แก่ นอนไมห่ ลบั เบอื่ อาหาร

อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดท้อง ปวดหลัง ใจสนั่ หายใจลาํ บาก และส่งผลต่อสุขภาพจิต ได้แก่ หงดุ หงิด โกรธงา่ ย เบื่อหนา่ ย คดิ มาก วติ กกังวล

เศรา้ หมอง ไมม่ สี มาธิ รวมท้งั ทางพฤตกิ รรม ได้แก่ เงียบขรึม เก็บตวั มเี รื่องขัดแยง้ กบั ผอู้ ่นื บ่อย ๆ หากน้อง ๆ มภี าวะเครยี ดรนุ แรงมากย่ิงข้นึ
อาจถึงขั้นเกิดภาวะมปี ัญหาสขุ ภาพจติ ได้ ตรงจดุ นี้เปน็ เร่ืองสําคญั ขอให้น้อง ๆ สงั เกตตวั เองและเพ่ือนใกลช้ ดิ ว่ามอี าการดังกล่าวหรอื ไม่

หากมแี ตไ่ ม่รนุ แรงถอื เร่อื งปกติ แต่หากไม่แนใ่ จน้อง ๆ ต้องบอกเพือ่ นทไ่ี ว้ใจเพ่อื ชว่ ยกนั ประเมนิ เบือ้ งตน้
หากยังไมม่ ัน่ ใจอกี ให้ปรกึ ษาอาจารย์ในวิทยาลยั ได้ทกุ ทา่ น อาจารย์ยินดีรบั ฟงั และใหค้ าํ แนะนําเสมอ

4. เกาะติดเพือ่ นไว้ มเี ราก็ต้องมนี าย เวลาเข้ากิจกรรม เวลาเรียน เราไม่ได้ไปคนเดยี วเนอะ คนที่อยขู่ า้ งๆ เราตลอดเวลากค็ ือ
เพือ่ น เวลานอ้ ง ๆ เครยี ด อยากให้รู้ไวว้ ่าเพื่อนก็เครียดเหมอื นกับเรา เจอรุน่ พขี่ ตู่ อนรบั นอ้ งว่าจะตัดรนุ่ เราก็โดนตดั พรอ้ มเพ่อื นนแี่ หละ
เพราะฉะน้นั ไมม่ ีอะไรตอ้ งกลัวเลย อยใู่ กลๆ้ กับเพือ่ นไว้ แล้วหาอะไรสนกุ ๆ มาคลายเครยี ดกนั ดีกว่า แม้บางครั้งเพอ่ื นกไ็ มไ่ ด้แกป้ ญั หาให้เราได้
เพียงแต่การมใี ครสักคนนง่ั ขา้ งๆ และรบั ฟังเราดว้ ยหวั ใจแห่งมติ รภาพ เทา่ นั้นก็อนุ่ ใจแลว้ วา่ มยั้ ขอ้ สุดทา้ ยนแี้ อบซงึ้ นะจะบอกให้

จากท่กี ลา่ วมาข้างตน้ ท้งั หมดเร่ืองชวี ติ เด็กหอในวทิ ยาลัยและการปรับตัวกบั การรบั น้อง คงจะทําใหน้ ้อง ๆ
มองเห็นภาพทีจ่ ะเกิดข้นึ กับชวี ิตนกั ศกึ ษาใหมแ่ ละพอได้แนวทางในการปรบั ตวั แตห่ ากเราพยายามแลว้ ทําไมไ่ ด้ น้อง ๆ
อย่าโทษตัวเองวา่ เราเป็นคนออ่ นแอหรือข้แี พ้ เพราะมปี จั จัยอกี หลายอยา่ งท่ีทําให้เราทาํ ไมส่ ําเรจ็ ทง้ั ปัจจัยภายใน เช่น ภาวะสขุ ภาพ
พื้นฐานทางจติ ใจ หรือปัจจัยภายนอกทีไ่ มส่ ามารถควบคมุ ได้ ถึงตรงนท้ี างวิทยาลยั ในสังกัด คณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนก จะมรี ะบบอาจารยท์ ปี่ รึกษา ท่เี รยี กได้วา่ เปน็ บัดดีป้ าทอ่ งโกค๋ กู่ ับนอ้ งไปจนตลอดภาคการศึกษา
คอยรบั ฟงั ปัญหาความคับขอ้ งใจให้เราขอให้เราเปดิ ใจแลว้ เดนิ เขาไปหา แตห่ ากเหลอื บา่ กว่าแรงอาจารย์ท่ปี รึกษาจะส่งตอ่ มาที่
หน่วยใหก้ ารปรกึ ษา ซงึ่ แตล่ ะวทิ ยาลยั จะมีอาจารยเ์ ฉพาะทางดา้ นจติ วิทยาที่ยนิ ดคี อยให้คาํ แนะนํา รวมถงึ คลค่ี ลายปมปญั หาในใจให้นอ้ ง ๆ

และแน่นอนวา่ เรือ่ งทีค่ ยุ กนั จะเปน็ ความลบั ระหวา่ งผ้ใู ห้การปรึกษาและน้อง ๆ ผูข้ อปรกึ ษา แตห่ ากน้อง ๆ
ยังไมพ่ รอ้ มบอกใครแมแ้ ตเ่ พ่อื นหรอื อาจารย์ กจ็ ะขอแนะนาํ อีกชอ่ งทางใหก้ ารปรึกษาปญั หาวา้ วุ่นใจของเราน้ันคือ สายดว่ นสุขภาพจติ 1323 และ

Facebook 1323 ปรกึ ษาปัญหาสุขภาพจติ ของกรมสุขภาพจิต เป็นระบบให้คําปรกึ ษาทางโทรศัพท์และออนไลน์ผา่ น Facebook
โดยผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นสขุ ภาพจติ ที่สาํ คญั โทรฟรีตลอด 24 ชวั่ โมง โดยไมถ่ ามข้อมลู ส่วนตวั อยา่ งน้แี ล้วนอ้ ง ๆ นักศึกษาใหม่
คงจะมนั่ ใจได้ว่าเราจะสามารถฝ่าฟนั ปญั หาและปรับตัวผ่านไปได้ เปน็ บคุ ลากรสาธารณสุขท่มี คี ณุ ภาพต่อไปในอนาคต
สุดท้ายน้ีเมอ่ื นอ้ ง ๆ นกั ศึกษาใหมอ่ ่านมาถงึ ตรงน้ี ผเู้ ขียนขอกลา่ วคําวา่ “ยินดีตอ้ นรับ We’re Dek สบช.” แล้วพบกนั ใหม่

อ้างองิ . กรมสุขภาพจิต. (2563). ขา่ วแจกกรมสุขภาพจติ . สืบคน้ เมอื่ 29 พฤษภาคม 2563, จาก

http://www.prdmh.com/%E00%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0

%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94.html

คณิน จินตนาปราโมทย์ และพรชัย สิทธศิ รณั ย์กลุ . (2562). สรีรวิทยาความเครยี ดจากการทาํ งาน และการแกป้ ญั หาเมือ่ เผชญิ ความเครียดในอาชีพแพทย์. วารสารการแพทยแ์ ละวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ, 26 (2), 112-123.

เดก็ ด.ี (2559). เฟรชซ่ไี มเ่ ครยี ด. สบื ค้นเม่ือ 29 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.dek-d.com/tcas/42306/

ทรปู ลกู ปัญญา. (2562). กิจกรรมรับนอ้ งให้อะไรกับเฟรชช่ี. สืบคน้ เม่ือ 29 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.trueplookpanya.com/tcas/article/detail/73998

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

7) เรยี นรู้อย่างไร ในศตวรรษท่ี 21 45

เรยี บเรียงโดย ดร.ชฎาวัลย์ รุณเลศิ ตาํ แหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพิเศษ

ศตวรรษที่ 21 เป็นโลกของเทคโนโลยีและนวัตกรรม เครื่องจักรและหุ่นยนต์ ปัจจุบนั โลกแห่งการศึกษาได้ก้าวหน้าสู่ยุคดิจิตอลและพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ
รูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก็ต้องปรับปรุงไปเรื่อยๆ เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย การใช้เทคโนโลยีในมือถือทําให้นักศึกษาได้ออกเดินทางไปทั่วโลก
อินเทอร์เน็ตคือกุญแจที่จะเปิดโลกกว้างให้กับนักศึกษาซึ่งมีความจําเป็นเป็นอย่างมากสําหรับผู้เรียนในยุคการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ใน
สมัยนี้จึงมีความแตกต่างจากการเรียนรู้ในสมัยก่อน การเรียนการสอนแบบห้องเรียนยุคเก่าจึงไม่เพียงพอที่จะเสริมสร้างทักษะความรู้ความสามารถ
ให้ผู้เรียนในยุคน้ีนําไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคตในโลกยุคดิจิทัลได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้นนักศึกษาจะต้องมีการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับในยุค
ศตวรรษท่ี 21 โดยทน่ี กั ศกึ ษาสามารถเรยี นร้ไู ดโ้ ดย

1. มีคุณธรรมกาํ กับใจ เปน็ คนดีมีนํา้ ใจ เออ้ื เฟอ่ื เผื่อแผ่
2.เปน็ ผ้มู นี ิสัยใฝร่ ูใ้ ฝ่เรยี นมีความเพยี รพยายามทจี่ ะแสวงหาความรูใ้ หถ้ ึงสุดขอบความรทู้ ่ีสามารถเข้าถึงได้
3. สามารถใชภ้ าษาไทยและ ภาษาตา่ งประเทศอยา่ งนอ้ ย 2 ภาษาไดอ้ ยา่ งเชี่ยวชาญ
4. มพี ้ืนฐานและทกั ษะการคํานวณทด่ี ี และมคี วามชาํ นาญใน การใช้คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศ
5. สามารถเล่นดนตรีและกีฬาเปน็ อยา่ งน้อย 1 ชนิด
6. สามารถจดั การใจและมีวิธีคิดตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง และการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื
7. พร้อมเผชิญปัญหาและสามารถเลือกวิธีแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม นักศึกษาจะต้องมีการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น สร้างสรรค์ และท้าทาย
มองเห็นปัญหาเป็นโจทย์ให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิธีการแก้ไข การเรียนรู้ที่มีคุณภาพจะทําได้จริงนั้น แน่นอนว่าไม่สามารถสร้างกันได้ง่าย ๆ ด้วยการ
บอกกล่าว แต่ต้องสร้างด้วยการฝึกฝนอย่างต่อเนื่องผ่านการลงมือปฏิบัติจริง มีครูหรือผู้ปกครองทําหน้าที่คอยให้คําแนะนํา และควรสร้างแต่เนิ่น ๆ
ย่งิ เร็วย่งิ ดี

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก


Click to View FlipBook Version