The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KMPHT, 2020-07-12 13:05:42

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

คู่มือปฐมนิเทศ PHAS 2563

7) เรียนรอู้ ยา่ งไร ในศตวรรษที่ 21 46

ดังนั้น จึงต้องมีการเสริมสร้างทักษะที่จําเป็นในการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ที่ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับนักศึกษาโดยใช้หลักการ 3R8C ดัง
ภาพ “ จงึ จะทาํ ใหผ้ ูเ้ รียนประสบความสาํ เรจ็ เปน็ บัณฑติ ที่มคี ุณภาพของสงั คม ”

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

7) เรยี นรู้อย่างไร ในศตวรรษท่ี 21 47

การพัฒนาทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy Project)
มีความสําคัญตอ่ ทักษะศตวรรษที่ 21

ปัจจุบัน โลกได้เข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลท่ี ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) แผนพัฒนา
เทคโนโลยีดิจิทัลไม่ได้เป็นเพียงเครื่องมือสนับสนุนการทํางานเฉกเช่น เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ีสบิ สอง พ.ศ. 2560 – 2564 และ
ที่ผ่านมาอีกต่อไป หากแต่จะหลอมรวมเข้ากับวิถีชีวิตของคนอย่าง แนวคิดประเทศไทย 4.0 : โมเดลขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และ
แท้จริง และส่งผลให้กิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปแบบกิจกรรม ยั่งยืน ได้มีการกล่าวถึงการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือ
ทางเศรษฐกิจ กระบวนการผลิต การค้า การบริการและกระบวนการ สําคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการใช้
ทางสังคม รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างสิ้นเชิง อิทธิพล นวัตกรรม การปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจ การผลิต การค้า และ
ของเทคโนโลยีดิจิทัลดังกล่าวจึงเป็นทั้งโอกาสและความท้าทายของ การบริการ การปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน
ประเทศในการวางแนวทางการดําเนินการด้วยการนําเทคโนโลยี และการยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของประชาชน
ดิจิทัลมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดเพื่อแก้ไขปัญหาที่สั่งสมมานานและ
เพิ่มโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม จากบริบทของการเปลี่ยนแปลงของโลก และทิศทางการ
พัฒนาประเทศดังกล่าว “ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ” ซึ่งถือเป็น
ทิศทางการพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศท่ี กลไกหลักในการขับเคลื่อนประเทศที่สําคัญ จําเป็นต้องเตรียมความ
พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนในระยะยาวตามนัยของ พร้อมและปรับตัวให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงและการปรับเปลี่ยน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ร่างกรอบ บรบิ ทของภาครัฐ

สถาบันพระบรมราชชนก โดยคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างและพัฒนาทักษะด้านความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ให้แก่นักศึกษาของสถาบัน ในการนําเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน อาทิ
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แทปเลต โปรแกรมประมวลผลคํา โปรแกรมตารางคํานวน โปรแกรมนําเสนองาน และสื่อออนไลน์ มาใช้ในการ
ปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด หรือมาใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทํางานหรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีก
ทั้งการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด 19 ทําให้การจัดเรียนการสอน เป็นไปในรูปแบบ “New Normal” New Normal หรือ ความปกติใหม่ การแพร่
ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตในหลากหลายมิติของคนทั่วโลก ตั้งแต่การทํางาน การรักษาสุขภาพ แม้แต่การศึกษาเองก็
จะต้องเผชิญกับภาวะของการปรับตัวครั้งใหญ่เช่นเดียวกัน และการเรียนรู้แบบออนไลน์กําลังจะกลายเป็นความปกติใหม่ของสังคมไทยมากขึ้น และ
การเรียนรู้แบบออนไลน์ก็ไม่ใช่แค่การสอนผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์มเท่านั้น แต่การเรียนรู้วิถีใหม่นี้ยังมีอีกหลายมิติให้เราต้องทําความเข้าใจนักศึกษา
ต้องเรียนรู้ในห้องเรียนของสถาบัน พร้อมกับการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วิธีการต่างๆ เพ่ือการเรียนรู้ที่เกิดประสิทธิภาพ โดยการจัดการเรียนการสอน
ในรูปแบบ “New Normal” ที่นักศึกษาจะได้พบมีรูปแบบการเรียนการสอนดังน้ี รูปแบบการเรียนผสมผสาน คือการเรียนการสอนออนไลน์ผสม
กับการเรียนรู้ในห้องเรียน การศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ที่หลายหลายการทํากิจกรรมการเรียนรู้บนสื่อออนไลน์ และการติดต่อประสานงานผ่าน
ช่องทางออนไลน์ โดยวิทยาลัยทุกแห่งสนับสนุนให้มีอินเตอร์เน็ต อุปกรณ์การเรียนที่เพียงพอต่อความต้องการของนักศึกษา การเรียนในห้องเรียน
ผเู้ รียนต้องสวมหน้ากากอนามัย และเวน้ ระยะหา่ ง ระหวา่ งการนงั่ เรยี นหรือการทาํ กจิ กรรมร่วมกนั และหม่ันทําความลา้ งมอื ดว้ ยเจลแอลลกอฮอล์

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

7) เรยี นร้อู ยา่ งไร ในศตวรรษที่ 21 48

และหมัน่ ฝึกฝนตนเองใหเ้ ปน็ ผทู้ ี่มที ักษะ DLProject (E-learning) สกู่ ารเป็นพลเมอื งในศตวรรษท่ี 21
การพฒั นาทกั ษะและสมรรถนะด้วยการเรยี นรูแ้ บบ e-Learning เป็นกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี ร่มิ มีความสําคญั มากข้ึน เนอ่ื งจากภารกิจของขา้ ราชการ

และบุคลากรภาครฐั มีมาก การพฒั นาตนเองดว้ ยระบบการเรยี นรทู้ ี่มคี วามยดื หย่นุ ผู้เรียนสามารถเขา้ ถงึ ได้จากทกุ สถานที่
ด้วยอุปกรณด์ ิจิทัลทห่ี ลากหลาย โดยในระหวา่ งการศกึ ษาในวทิ ยาลัย นกั ศึกษาจะไดร้ ับการสง่ เสริม ดงั ภาพนี้

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

8) อตั ลักษณว์ า่ ดว้ ยการให้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนษุ ย์ 49

เรยี บเรยี งโดย ดร. วรางคณา ชมภูพาน ตาํ แหนง่ พยาบาลวิชาชีพชาํ นาญการพิเศษ

อตั ลกั ษณบ์ ัณฑิต

สถาบนั พระบรมราชชนก

กาํ หนดอตั ลักษณบ์ ัณฑิตเพ่อื เปน็ แนวทางการพฒั นานักศกึ ษาทัง้ คณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาสาตร์และคณะพยาบาลศาสตร์ คอื
“จติ บรกิ ารด้วยหวั ใจความเป็นมนษุ ย์” คาํ ว่า “จิตบริการดว้ ยหวั ใจความเปน็ มนษุ ย”์ ประกอบดว้ ย จิตบริการ (service mind) การคดิ เชงิ วิเคราะห์

(analytical thinking) และ การมีส่วนร่วมของผู้รับริการ (Patient Right/Participation) หรอื “SAP”
การเสริมสร้างอัตลักษณบ์ ัณฑิตของสถาบันพระบรมราชชนก มดี งั น้ี

A

sP

จิตบริการ (service mind: S)

หมายถึง การเอาใจใสใ่ นความทุกขแ์ ละความตอ้ งการของผู้รบั บรกิ ารและผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ ง พรอ้ มท่ีจะใหบ้ ริการด้วยทา่ ทที เ่ี ป็นมิตร ดว้ ยความรกั
ความเมตตา ยึดถือประโยชนส์ ว่ นรวมมากกว่าสว่ นตน วางใจเปน็ กลางปราศจากอคติ คํานงึ ถงึ ความเปน็ เหตุเป็นผล
ยอมรบั บุคคลบนพน้ื ฐานของความเขา้ ใจผอู้ น่ื ตามความเป็นจริง โดยมคี ุณลักษณะ ดังนี้

1) ใหบ้ รกิ ารด้วยความเต็มใจ
ใสใ่ จในปัญหาและความทุกข์ของผู้รบั บริการและผูท้ เี่ กี่ยวข้องยอมรบั บคุ คลบนพื้นฐานของความเข้าใจผอู้ ่ืนตามความเปน็ จริง

2) ให้บริการดว้ ยทา่ ทีท่ีเป็นมติ ร ดว้ ยความรัก ความเมตตา
3) ให้บริการโดยยดึ ถือประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าสว่ นตน
4) ให้บรกิ ารด้วยใจเปน็ กลางปราศจากอคติ คํานึงถึงความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

8) อตั ลักษณ์วา่ ด้วยการให้บริการด้วยหวั ใจความเปน็ มนษุ ย์ 50

การคดิ เชงิ วเิ คราะห์ (Analytical Thinking: A)

หมายถึงกระบวนการจําแนกไตรต่ รองจากการคดิ ทอ่ี ยบู่ นฐานของการมขี ้อมูลท่หี ลากหลายตามสภาพความเป็นจริงเพอื่ เป็นการวเิ คราะห์ปญั หาและ
ความตอ้ งการท่แี ทจ้ รงิ ของผ้รู บั บริการอย่างมวี ิจารณญาณ
โดยเช่อื มโยงความรเู้ ข้าสกู่ ารแกป้ ัญหาของผรู้ ับบริการทสี่ อดคล้องกับบริบทสภาพการดํารงชวี ิต โดยมีคณุ ลักษณะ ดังน้ี

1) รวบรวมขอ้ มูลทเี่ ปน็ จรงิ มคี วามสอดคลอ้ งกบั บริบทของผู้รับบรกิ ารทุกมติ จิ ากแหล่งข้อมลู ทห่ี ลากหลาย
และเลอื กสรรข้อมูลท่ีนา่ เชื่อถือ

2) วิเคราะห์ แยกแยะ จดั กล่มุ เชอื่ มโยงความสัมพนั ธ์ของขอ้ มลู และความตอ้ งการของผรู้ ับ
บรกิ ารและผู้เก่ียวข้องบนพ้ืนฐานข้อมูลที่เป็นจรงิ

3) ไตร่ตรอง ตรวจสอบข้อมลู ทีไ่ ดอ้ ย่างรอบคอบ มีเหตผุ ลและถกู ตอ้ ง
4) ระบุปัญหาและความตอ้ งการที่แท้จรงิ ของผรู้ ับบรกิ าร
เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาและวางแผนแก้ปญั หาอยา่ งหลากหลายตามลาํ ดบั ความสําคัญของปัญหา
โดยเช่อื มโยงความรู้ทางวิชาการอยา่ งสรา้ งสรรค์ และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
5) พัฒนากระบวนการคดิ ของตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง โดยไมย่ ดึ ติดกบั กรอบความคดิ หรอื ความรูท้ างวิชาการ หรอื
ประสบการณข์ องตนเองเพียงอยา่ งเดยี ว

การมสี ว่ นรว่ มของผ้รู ับบริการ (Patient Right/Participation: P)

หมายถงึ การบริการสขุ ภาพโดยให้ผู้รับบรกิ ารและผู้ท่เี กยี่ วข้องมสี ว่ นร่วมในการรับรปู้ ัญหาและความตอ้ งการของตนเอง
รวมท้ังตดั สินใจในการแกป้ ญั หาสขุ ภาพของบุคคล ครอบครวั และชุมชน สามารถพึ่งตนเองด้านสขุ ภาพได้ โดยมคี ณุ ลักษณะ ดงั น้ี

1) การสนับสนนุ ให้บคุ คล ครอบครัว และชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการรับร้ปู ญั หาและความต้องการด้านสขุ ภาพ
2) การสนบั สนนุ ใหบ้ ุคคล ครอบครัว และชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการวางแผน ตดั สินใจแก้ไขปัญหาและความต้องการดา้ นสขุ ภาพ
3) การส่งเสรมิ ใหบ้ คุ คล ครอบครวั และ/หรอื ชุมชน
ให้มกี ารพฒั นาศกั ยภาพสามารถแกป้ ัญหาสขุ ภาพเพือ่ นาํ ไปสู่การพงึ่ ตนเองดา้ นสุขภาพได้

บณั ฑติ ของสถาบนั พระบรมราชชนกจะได้รับการปลกู ฝงั ในการเรยี นทุกชน้ั ปี
ผ่านกระบวนการเรยี นการสอนและกิจกรรมเสรมิ หลักสตู รซงึ่ จัดท้งั นอกและในสถานศกึ ษา
ทง้ั นปี้ ระสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาจะหลอ่ หลอมใหน้ ักศกึ ษา แสดงพฤติกรรมบริการท่ีพงึ ประสงค์
และให้บรกิ ารอย่างเปน็ องค์รวมด้วยหัวใจความเปน็ มนุษย์ หากนกั ศึกษาพินจิ พิเคราะหใ์ นอตั ลักษณ์นจ้ี ะเหน็ วา่ เป็นสง่ิ ท่โี ดดเดน่ เปน็ อย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในสงั คมปจั จุบนั ทป่ี ระชาชนต้องการทักษะการบรกิ ารท่ีมคี วามเป็นมืออาชีพพร้อมท้ังมีทกั ษะของการบรกิ ารที่ออ่ นโยน
เข้าใจในผรู้ ับบรกิ าร ขอใหน้ กั ศึกษาไดห้ มัน่ เพียรและเรียนรู้ สมกับพระปณธิ านของสมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชชนก พระบดิ าแหง่ การแพทย์และสาธารณสุขไทย และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี พระมารดาแหง่ การสาธารณสขุ ไทย

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

9) รอบร้โู ควดิ 19 เราจะใชช้ วี ิตแบบNew Normal 51

เรียบเรยี งโดย
1. ดร.อบุ ลทิพย์ ไชยแสง ตําแหน่งพยาบาลวิชาชพี ชาํ นาญการพเิ ศษ
2. อาจารย์ลุกมาน มะรานอ ตําแหน่งวิทยาจารย์

New Normal (ชีวิตแนวใหม่) เปน็ แนวทางทีห่ ลาย ๆ คนจะต้องปรับเปลย่ี นวิถีชีวติ ใหมใ่ นชว่ งสถานการณ์การระบาดของ
ไวรสั โคโรนา (Covid-19) ไปพรอ้ มกนั ท่วั โลก การเปลีย่ นแปลงพ้นื ทกี่ ารเรยี นรู้เป็นเรือ่ งท่เี หน็ ไดช้ ัดเจนท่ีสดุ ดว้ ยเทคโนโลยีในปจั จบุ นั และนวัตกรรม
ทสี่ ร้างสรรคก์ ารอํานวยความสะดวกการสอนไดแ้ คป่ ลายนว้ิ ทาํ ใหส้ ามารถเรยี นร้ทู กุ เนื้อหาได้จากทุกคน ทุกท่ี ทุกเวลา แตน่ ั่นไมไ่ ด้หมายความว่า
การปฏสิ มั พนั ธข์ องผูส้ อนและผูเ้ รียนจะลดน้อยลง ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ยู งั มอี ยู่ แต่เปลยี่ นพ้นื ทจี่ ากหอ้ งเรยี นสู่โทรศพั ทม์ อื ถอื หรอื เครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้
การปรบั เปลี่ยนการดาํ รงชีวิต เป็นส่งิ จาํ ตอ้ งปฏิบัตกิ นั เป็นปกตติ อ่ เน่อื งในระยะเวลาหนึ่งจนเกดิ เปน็ ความพอใจ ในท่ีสุดท้ังหมดนีก้ ็ไดก้ ลายเป็น
New Normal ในสังคมนนั่ เอง ตวั อยา่ ง New Normal ที่เกิดขน้ึ ในสงั คมช่วงนี้ คอื

1) การ Work From Home การอยใู่ นทพี่ กั พรอ้ มทํางาน ทํากจิ กรรมตา่ งๆ ภายในทีอ่ ยอู่ าศัยของตนเอง สง่ ผลต่อความต้องการท่พี ัก
อาศัยท่ีเปลยี่ นไปจากเดมิ ทอี่ าศยั ในพื้นทท่ี ี่มีขนาดเล็กอาจจะไม่เพียงพอ จาํ เปน็ ต้องการมีพ้ืนท่ีท่ีสามารถทาํ อะไรไดห้ ลายหลากมากยง่ิ ข้นึ

2) การดาํ เนนิ การทางธรุ กรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ Online Business ด้วยพฤตกิ รรมการบรโิ ภคท่ีเปลี่ยนแปลง จนสง่ ผลทําใหร้ ะบบการสัง่ ซ้ือ
สนิ คา้ และบริการ ระบบการขนส่งระยะส้นั และการจดั ส่งแบบรวดเรว็ จะเป็นทีต่ ้องการ และความสาํ คญั มากยิ่งข้ึน ซง่ึ หลงั จากน้ี การขอรับบริการ
จากผู้บรโิ ภคจะเร่มิ หันมาให้ความสาํ คัญกบั สุขภาพมากย่งิ ขนึ้ ระบบบรกิ ารตอ้ งสร้างความมนั่ ใจมากขนึ้ วา่ สินคา้ หรอื บริการจะตอ้ งมีมาตรฐาน
ปลอดภยั และมคี วามสะอาด คาดวา่ นา่ จะเห็นการเปลี่ยนแปลงในเรือ่ งของการลงทนุ ของภาคเอกชน หา้ งร้านตา่ งๆ หันมาจริงจังกับการทําธรุ กิจ
online กนั มากขึ้น

3) การเรียน Online Learning/Entertainment การอยู่ในทพ่ี ัก สิง่ สาํ คญั ในการพัฒนาและการค้นหาตวั ตน สิ่งหนึง่ กค็ อื การหาความรู้
ส่ิงใหม่ๆ เพอ่ื พฒั นาศักยภาพของตัวเอง ด้วยการเรียนรู้ ซง่ึ สามารถเลือกเรยี นในช่วงเวลาท่สี ะดวกไดต้ ามต้องการ สามารถยอ้ นกลบั เพอื่ ทบทวน
เนือ้ หาและทาํ ความเข้าใจใหม่ได้ และประหยัดเวลาและคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทาง การทอ่ งเทีย่ วใหม่รูปแบบออนไลน์ เป็นต้น

4) การแพทย์และสาธารณสขุ (ทีป่ รึกษา) Online Medical Consulting ใหค้ วามสาํ คญั กบั การลงทุนทางดา้ นสาธารณสขุ ของประเทศ
มากกว่าเดมิ ระบบสาธารณสุข จะมแี พลทฟอร์มดา้ นสุขภาพเป็นบรกิ ารพน้ื ฐาน และการป้องกนั ความเจบ็ ปว่ ยจะมคี วามสาํ คัญมากยงิ่ ข้ึน โครงสร้าง
พืน้ ฐานของเม่ืออาคาร บ้าน จะตอ้ งมีบรกิ ารสุขภาพและสขุ ภาพจิตรองรับดว้ ยการให้คาํ ปรึกษา

5) การ Deglobalization เพ่ือพ่งึ พาการผลติ ในประเทศมากขนึ้ เนื่องจาก อุตสาหกรรมฐานการผลติ ตา่ งๆ ของประเทศต้องหยดุ ชะงกั
รวมไปถงึ การขนส่งตา่ งๆดว้ ย อีกท้งั การนําเข้าจากอุตสาหกรรมหลายแหง่ ในต่างประเทศท่เี ป็นฐานการผลติ จงึ หยดุ ชะงักตามไปดว้ ยเชน่ กัน ต่อจาก
นี้ไป วิถชี วี ิตใหมข่ องนกั ศกึ ษา จึงถอื เป็นสิ่งจาํ เปน็ ทจี่ ะชว่ ยใหน้ ักศึกษา ดาํ รงชีวิตอยใู่ นสภาพแวดล้อมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปจากเดิม

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

9) รอบรูโ้ ควดิ 19 เราจะใชช้ ีวติ แบบNew Normal 52

การเขา้ เรยี นสถานศกึ ษาซงึ่ เปน็ ท่ีทมี่ ผี ้คู นอาศัยอยูจ่ ํานวนมาก เชน่ หอพกั หอ้ งเรยี น จึงจาํ เป็นตอ้ งมีข้อปฏิบัติ
เพ่อื ปรับเปลยี่ นพฤติกรรม พชิ ติ Covid-19 รวมถงึ สามารถปอ้ งกันโรคติดต่ออืน่ ๆ ดังนี้

1) พยายามอยู่ในทพ่ี กั ออกจากท่พี กั เมื่อจาํ เป็น
2) สวมหน้ากาก พกเจลแอลกอฮอล์ วางแผนการเดินทาง กอ่ นออกจากท่พี ัก
3) เมื่อออกจากบา้ น ควรลา้ งมือดว้ ยนํ้าและสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ ครง้ั ละอยา่ งน้อย 20 วนิ าที ทุก 30 นาที
หรอื 1 ช่วั โมง
4) รักษาห่างจากคนอื่น 2 เมตร
5) ใชข้ นส่งสาธารณะเฉพาะจําเปน็ หลกี เล่ียงช่วงเวลาแออดั
6) หากซอ้ นจักรยานยนต์ ควรนั่งหนั ขา้ ง ตอ้ งสวมหนา้ กากและหมวกกนั น็อค
7) พกถงุ ผา้ ตดิ ตวั เลย่ี งการหยิบจับภาชนะกบั ผู้อ่ืน
8) แยกภาชนะ ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผูอ้ ่นื
9) เมือ่ กลบั ถงึ ที่พกั ลา้ งมือ อาบนาํ้ เปล่ียนเสื้อผ้าทนั ที

เพอ่ื คุณภาพชวี ติ ที่ดขี องนักศึกษานอกจากการปฏิบัติตรมข้อปฏบิ ัตขิ ้างต้น ซ่งึ เปน็ การรกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม ท่ีทาํ ใหต้ อ้ งเวน้ ระยะห่าง
ในการพดู คยุ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั หลงั จบสถานการณโ์ ควดิ -19 ระบาดไปแลว้ คาดวา่ ผูค้ นสว่ นหนึ่งจะปรับตัวเพือ่ ปอ้ งกนั การตดิ ตอ่ โรคทางเดินหายใจ
กันมากขึน้ โดยเปลย่ี นจากพฤติกรรมเดิมๆ ทีละเลก็ ละน้อย หรือเปลยี่ นใหม่ทั้งหมด เพอ่ื ปอ้ งกนั ตวั เอง และปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชื้อโรค
มากขึน้ ซ่ึงโควิด-19 ทาํ ให้ทุกคนต้องปรับตัวกนั ในระยะยาว เพือ่ คณุ ภาพชีวติ ทีด่ รี ว่ มกนั ของทกุ คน

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

10) ขอ้ คดิ ในการหางานทํานอกเวลา 53

เรียบเรยี งโดย สาํ นักงานคณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตรแ์ ละสหเวชศาตร์

ในปจั จบุ นั นักศึกษาอาจมีความจาํ เป็นตอ้ งหารายได้เสริมเนื่องจากวกิ ฤตเศรษฐกจิ คา่ ใชจ้ า่ ยอาจไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ ทางคณะมขี อ้ เสนอแนะ
นําฝากเป็นข้อคดิ เกย่ี วกับการหางานพิเศษนอกเวลาเรียน ดงั น้ี

1.ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการทาํ งานนอกเวลาเรียน
1.1 เป็นการวางฐานการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยท์ ่ีมีความสําคัญตอ่ อนาคตในการนาํ พาประเทศไปสูก่ ารเปน็ ประเทศทม่ี นั่ คง ม่ังคั่ง และ

ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศท่พี ฒั นาแล้ว
1.2 นักศกึ ษารจู้ ักใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ ไมม่ ่วั สมุ สิ่งเสพติดของมึนเมา และประพฤตติ นเส่ือมเสีย
1.3 นกั ศกึ ษามีรายไดร้ ะหว่างเรยี นจากการประกอบอาชีพท่ีเหมาะสม เปน็ การเพิ่มรายได้ให้ตนเองและแบ่งเบาภาระผปู้ กครอง
1.4 นักศึกษาไดร้ บั โอกาสฝึกงานและได้รบั ประสบการณจ์ ากการทาํ งานจริง ฝึกความอดทน ปลกู ฝงั ความรบั ผดิ ชอบ การตรงตอ่ เวลา การ

สรา้ งวินัยในตนเองควบคูไ่ ปกับการเรยี นการสอน
1.5 นกั ศึกษาไดเ้ รยี นรโู้ ลกแหง่ อาชพี กอ่ นเข้าส่ตู ลาดแรงงานเพอ่ื เปน็ พ้นื ฐานในการหางานทําในอนาคต

2.บุคลิกภาพทนี่ ายจ้างต้องการ
2.1 มคี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ท่ีตรงตามหนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ
2.2 บุคลิกภาพท่เี หมาะสม ได้แก่ การเรียนร้แู ละยอมรับขอ้ จํากัดของตนเองการมเี ป้าหมายในการทาํ งานที่ชัดเจน มีความรบั ผิดชอบสูง
2.3 การรกั ษาคุณภาพอารมณ์ ไดแ้ ก่ สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองให้ดี ในขณะทเ่ี ผชญิ กับภาวะขดั แยง้ และสิง่ ไม่พึงพอใจ มีวฒุ ภิ าวะ

ทางอารมณ์ สามารถแกป้ ญั หาและอุปสรรคทีร่ นุ แรงได้อยา่ งสงบและอดทน ตลอดจนทะเยอทะยานในระดับท่เี หมาะสม ซง่ึ จะก่อให้เกดิ ความคดิ
ก้าวหนา้ และพฒั นางาน

2.4 ความสามารถในการทํางานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืน ได้แก่ การรว่ มกจิ กรรมในโรงเรยี น มหาวิทยาลัย หม่บู ้าน และทที่ ํางาน การให้ความสาํ คญั
ความสําเรจ็ ในนามกลุ่มมากกวา่ ส่วนตัวและมคี วามกลมกลนื ในพฤตกิ รรมเมื่ออยู่ในกลมุ่ สามารถเปน็ ได้ทั้งผูน้ ําและผู้ตามที่ดี

2.5 ความสามารถในการสงู้ านหนกั และเผชญิ ปัญหาอุปสรรคไดอ้ ยา่ งมน่ั ใจ ได้แก่ การทาํ กจิ กรรมทยี่ ากลาํ บากและตอ้ งใช้ระยะเวลานาน
ๆ ในสมัยเรยี นใหป้ ระสบผลสําเรจ็ ได้ การพฒั นาผลการเรียนให้อยูใ่ นระดบั ดขี ้นึ เรื่อย ๆ

2.6 ความซ่อื สตั ยแ์ ละความจรงิ ใจต่อตนเอง/องคก์ ร/งานในหน้าทแี่ ละเพอ่ื นร่วมงาน
2.7 การรกั ษาระเบยี บวนิ ัยในการทาํ งาน และร้สู กึ ผดิ เมอ่ื คิดจะกระทาํ ผดิ ระเบยี บกฎเกณฑ์ของสังคมหรือองค์กร
2.8 มคี วามสามารถใชส้ ือ่ (Social Media) ตา่ งๆ ได้

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

10) ข้อคดิ ในการหางานทาํ นอกเวลา 54

3. ข้อปฏิบตั ใิ นขณะทํางานในสถานประกอบการ
3.1 ตอ้ งปฏิบัตติ ามระเบียบข้อบงั คับเก่ยี วกบั การทาํ งานของสถานประกอบการ เชน่ เวลาทาํ งาน เวลาพัก การหยุด หรอื การลางาน
3.2 ต้องเคารพเช่ือฟงั ผปู้ ระกอบกจิ การ ผู้บงั คบั บญั ชา หัวหน้างาน และบุคคลท่ีสถานประกอบการมอบหมาย
3.3 ต้องแต่งกายสุภาพเรยี บรอ้ ยด้วยเครอ่ื งแตง่ กายของสถาบนั การศกึ ษาหรือ เครื่องแบบการทาํ งานทผ่ี ูป้ ระกอบกจิ การจัดหาให้
3.4 ต้องปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บวา่ ด้วยความปลอดภัยในการทํางาน และไม่นํายาเสพตดิ อาวุธ หรือสง่ิ ท่เี ป็นอนั ตรายร้ายแรงเข้าไปใน

สถานท่ีทํางาน
3.5 ตอ้ งปฏบิ ัตหิ น้าทด่ี ว้ ยความซอื่ สัตยส์ จุ ริต และมคี วามวริ ยิ ะ อุตสาหะในการทํางาน

4. อัตราคา่ จ้าง
คณะกรรมการคา่ จา้ งให้ออกประกาศกาํ หนดอตั ราคา่ จา้ งรายช่ัวโมง สําหรบั นักเรยี น นสิ ติ และนักศึกษา (ฉบับท่ี 2) ลงวันที่ 17 ธันวาคม

2555 เพือ่ เป็นข้อแนะนําใหส้ ถานประกอบการนําไปใชใ้ นการจ่ายค่าจ้างไว้ ดังนี้ การกําหนดอัตราค่าจา้ งข้นั ตาํ่ รายชว่ั โมงไม่ตํ่ากวา่ ช่ัวโมงละ 40
บาท

กรณีนกั เรียน นักศกึ ษา ทชี่ ว่ ยปฏบิ ัตงิ านในหน่วยงานราชการ กระทรวงการคลงั ได้กําหนดอตั ราเบกิ จ่ายเงนิ ค่าตอบแทนไว้ ดังนี้
-ปฏิบตั งิ านไม่น้อยกว่า 7 ชัว่ โมงต่อวนั โดยไมร่ วมเวลาหยดุ พกั ค่าตอบแทน ไมเ่ กินวันละ 300 บาท
-ปฏบิ ัติงานไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ช่วั โมงครงึ่ ตอ่ วัน ค่าตอบแทนไม่เกนิ 150 บาท
(ตามหนงั สือกระทรวงการคลัง ด่วนทสี่ ดุ ที่ กค 0406.4/ว30 ลงวันที่ 3 เมษายน 2558 เรื่อง การเบกิ จา่ ยเงินค่าตอบแทนนกั เรยี น นกั ศึกษา ทีช่ ว่ ย
ปฏิบัติงานราชการ
-แลว้ แต่ตกลงกนั ตามเงอื่ นไขของงาน

5. ลักษณะงานท่ีสถานประกอบกิจการ
5.1 งานในกจิ การขายสนิ คา้ และบรกิ ารลกู ค้า
5.2 งานรา้ นอาหาร
5.3 งานหา้ งสรรพสนิ คา้
5.4 งานบริการในรา้ นสะดวกซอ้ื
5.5 งานคลังสนิ คา้
5.6 งานวิจัยตลาด

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

10) ขอ้ คดิ ในการหางานทาํ นอกเวลา 55

6. สถานทีท่ ํางานทีห่ ้ามมีใหน้ กั เรียน นักศึกษาทาํ งาน
6.1 สถานท่ีเล่นการพนนั
6.2 สถานเต้นรํา รําวง หรือร้องเพลง เป็นปกติธุระ ประเภทท่มี แี ละประเภทที่ไมม่ ีค่บู รกิ าร
6.3 สถานที่ที่มอี าหาร เครอ่ื งด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ นา้ํ ชา หรือเครื่องดมื่ อย่างอน่ื จําหน่าย และบรกิ ารโดยมผี ้บู าํ เรอสาํ หรบั ปรนนิบตั ลิ ูกค้า
6.4 สถานอาบนา้ํ นวด หรืออบตวั ซ่ึงมีผ้บู ริการให้แกล่ กู ค้า
6.5 สถานท่ีมอี าหาร เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ หรอื เครื่องดม่ื อยา่ งอนื่ จาํ หนา่ ยหรือใหบ้ รกิ ารโดยมรี ูปแบบอย่างหน่งึ อยา่ งใด เชน่ มดี นตรี มี

การแสดง การร้องเพลงประกอบ ดนตรี มกี ารเตน้ หรือจดั ให้มีการแสดงเตน้ ยนิ ยอมให้มีการนงั่ กับลูกคา้ หรือร้องเพลงกบั ลกู คา้ เปน็ ต้น

ดังนั้นขอใหน้ ักศึกษาทุกท่านเลือกการทํางานนอกเวลาอย่างมสี ติจะทําใหเ้ รามปี ระสบการณท์ ด่ี ี และมรี ายได้ในชว่ งวกิ ฤตเศรษฐกจิ ดงั นน้ั
ขอใหน้ ักศกึ ษาโชคดี

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

11) ค่าใชจ้ า่ ยในการศกึ ษา 56

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

11) คา่ ใช้จ่ายในการศกึ ษา 57

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

11) คา่ ใช้จ่ายในการศกึ ษา 58

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจดั การศึกษา 59

แคณละะสสาหธาเวรณชสศขุ าศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 60

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 61

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 62

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 63

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 64

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 65

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 66

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 67

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

12) ระเบยี บการจัดการศึกษา 68

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

69

คณะผู้จัดทาํ

ท่ปี รึกษา รกั ษาการในตาํ แหนง่ อธกิ ารบดี
นายสมชาย ธรรมสารโสภณ สถาบนั พระบรมราชชนก
รองอธกิ ารบดี สถาบนั พระบรมราชชนก
นางสาวปัทมา ทองสม รักษาการในตาํ แหนง่ คณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์
นายวินยั สยอวรรณ และสหเวชศาสตร์

คณะผูจ้ ัดทํา

ผอู้ าํ นวยการวิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั พิษณโุ ลก
ผอู้ ํานวยการวิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ผูอ้ ํานวยการวทิ ยาลัยการแพทย์แผนไทยอภยั ภูเบศร จงั หวัดปราจีนบุรี
ผู้อํานวยการวิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดยะลา
ผู้อํานวยการวทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวัดตรงั
ผู้อํานวยการวิทยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวดั อุบลราชธานี
ผู้อาํ นวยการวิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จงั หวดั ชลบรุ ี
ผอู้ ํานวยการวทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร จังหวัดขอนแก่น
ผอู้ ํานวยการวิทยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก
ดร.ภก.เกยี รติศกั ดิ์ แซอ่ วิ เภสชั กรชํานาญการพิเศษ
ดร.ภญ.เบญจวรรณ พูนธนานิวฒั น์กลุ เภสชั กรชาํ นาญการพเิ ศษ

จัดรูปเล่ม

ภาควิชาโสตทศั นศึกษาทางการแพทย์
วิทยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสขุ กาญจนาภิเษก

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบนั พระบรมราชชนก

70

คณะสาธารณสขุ ศาสตร์และสหเวชศาสตร์
สถาบนั พระบรมราชชนก สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
ถนนตวิ านนท์ ตาํ บลตลาดขวัญ อําเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบรุ ี 11000

www.phas.in.th
02-5901814
[email protected]

แคณละะสสาหธาเวรณชสศุขาศสาสตตรร

PHASสถาบันพระบรมราชชนก


Click to View FlipBook Version