The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี-ไตรมาส-3-ปี-2563-1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by venusjaree, 2020-11-22 22:29:03

รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี-ไตรมาส-3-ปี-2563-1

รายงานสถานการณ์แรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี-ไตรมาส-3-ปี-2563-1

รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี
ไตรมาส 3 ป 2563

Suphanburi Labour Report (JULY – SEPTEMBER 2020)

โดย สาํ นกั งานแรงงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี
โทร. 035-535079-80

คาํ นาํ

สํานักงานแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ไดจัดทํารายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรีข้ึน
โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนาํ เสนอขอมลู ทางดานเศรษฐกิจการแรงงานท่ีสาํ คญั ขอมลู ตัวชวี ัดแรงงาน และเปนการ
เพิ่มประสิทธิภาพศูนยขอมูลแรงงานระดับจังหวัดของกระทรวงแรงงานและเปนศูนยก ลางขอมูลดานแรงงาน
โดยกําหนดจัดทํารายงานเปนรายไตรมาสและรายป เผยแพรป ระชาสัมพันธใหหนวยงานตางๆ ตลอดจนผูที่
สนใจท่ัวไปนําไปใชป ระโยชน ซ่ึงฉบับน้ีเปนรายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ประจําไตรมาสท่ี 3
ป พ.ศ. 2563 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2563) ซึ่งสามารถสืบคนรายละเอียดสถานการณแรงงานจังหวัด
สพุ รรณบรุ ีผานทางเวบ็ ไซตไ ดอ ีกชอ งทาง ที่ http://suphanburi.mol.go.th

รายงานสถานการณแ รงงานจังหวัดสุพรรณบุรฉี บบั นี้ ไดร ับการสนับสนุนขอมูลจากหนว ยงาน
สังกัดกระทรวงแรงงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ สํานักงานแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรีจึงขอขอบคุณทุก
หนว ยงานท่ีเกย่ี วของมา ณ โอกาสน้ี สํานกั งานแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ีหวังเปน อยา งยิ่งวา สถานการณแรงงาน
จังหวัดสุพรรณบุรีฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอหนวยงานที่เก่ียวของและผูสนใจ และหากมีขอคิดเห็นหรือ
ขอเสนอแนะประการใด ไดโปรดแจงใหสํานักงานแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรีทราบเพื่อพิจารณาดําเนินการ
ปรบั ปรุงตอไป

สาํ นักงานแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี
ตลุ าคม 2563

รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบัญ

เรือ่ ง หนา

บทสรุปสาํ หรับผบู รหิ าร 1-5

สภาพท่วั ไปของจงั หวัดสพุ รรณบุรี 6-8

อัตราคาจา งขัน้ ต่ําจังหวดั 8

สภาพเศรษฐกจิ 9-14

 ผลิตภัณฑมวลรวมจงั หวัดสพุ รรณบุรี 9

 ดัชนรี าคาผผู ลติ และดชั นรี าคาผูบ รโิ ภค 10-11

 การจดทะเบียนจัดต้งั นติ บิ ุคคลตั้งใหม 11

 ภาคอุตสาหกรรม 12

 ดา นการคลัง 12-14

สถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบรุ ี 15-48

 กาํ ลงั แรงงาน การมีงานทาํ การวา งงานและแรงงานนอกระบบ 15-22

 การสง เสริมการมงี านทาํ 22

การบรหิ ารการจดั หางานภาครัฐ 22-27

การสง เสรมิ แรงงานนอกระบบ 27

แรงงานตางดา ว 27-31

แรงงานไทยในตา งประเทศ 31-32

 การพัฒนาศักยภาพแรงงาน 32-35

 การคุมครองแรงงานและสวสั ดกิ าร 35-39

 การประกันสังคม 40-44

 ปญหาดานแรงงานที่สําคญั 44

 ผลการดาํ เนนิ งานที่สาํ คญั ตามนโยบายรฐั บาล/นโยบายกระทรวงแรงงาน 44

 ประเด็นอ่ืนๆ ทสี่ าํ คญั 45-48

ตัวช้วี ัดภาวะแรงงาน 49-56

 อัตราการมสี ว นรวมในกําลงั แรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี 49-50

 อตั ราการจา งงาน 50-51

 อัตราการวา งงาน 51-52

 อัตราการเปลยี่ นแปลงของจํานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคม (มาตรา 33 )

ผปู ระกันตนที่ขอรบั ประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน และผูป ระกันตนที่ขน้ึ ทะเบยี น

ขอรบั ประโยชนทดแทนกรณีเลกิ จาง 52

 อัตราการบรรจุงาน 53

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบัญ (ตอ)

เร่อื ง หนา

 อัตราการจา งแรงงงานตางดา ว 53-54

 อตั ราการปฏบิ ตั ิไมถกู ตองตามกฎหมายคุม ครองแรงงานและกฎหมายความปลอดภัย

ในการทํางานของสถานประกอบการ 54

 อตั ราการเกดิ ขอ พิพาทแรงงาน / ขอขดั แยงในสถานประกอบกร 55

 อัตราแรงงานทเี่ ปนผปู ระกันตน 55-56

ภาคผนวก

 ตารางขอมูล 57-70

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบญั ตาราง หนา

ตารางท่ี 8
ตารางที่ 1 แสดงอตั ราคาจา งข้ันต่ําใหมซึ่งไดป ระกาศใหม ผี ลใชบ ังคับ 9
ต้งั แตวันท่ี 1 มกราคม 2563
ตารางที่ 2 ขอมลู พ้นื ฐานดา นเศรษฐกิจ 11
ตารางท่ี 3 แสดงเคร่อื งชวี้ ดั ภาวะเศรษฐกจิ ดา นระดบั ราคา 12
(จาํ แนกรายเดือน ไตรมาส 3 ป 2563) 13
ตารางท่ี 4 เครื่องชีว้ ัดภาคอุตสาหกรรม 14
ตารางที่ 5 เครอื่ งช้ีดานการคลงั (Fiscal) 14
ตารางท่ี 6 เครอ่ื งช้ดี า นอุปทาน (Supply side) 16
ตารางที่ 7 เคร่อื งช้ดี านอปุ สงค (Demand side)
ตารางที่ 8 ประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ ีจาํ แนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน 24
ตารางท่ี 9 ตาํ แหนงงานวาง / ผลู งทะเบียนสมัครงาน / การบรรจงุ านจังหวัดสุพรรณบรุ ี
จําแนกตามระดับการศึกษา ไตรมาส 3 ป 2563 25
ตารางท่ี 10 ตําแหนง งานวาง / ผลู งทะเบียนสมคั รงาน / การบรรจงุ านจงั หวัดสพุ รรณบุรี
จาํ แนกตามอาชพี ไตรมาส 3 ป 2563 26
ตารางท่ี 11 ตําแหนงงานวา ง / ผลู งทะเบียนสมัครงาน / การบรรจงุ านจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
จําแนกตามชว งอายุ ไตรมาส 3 ป 2563 27
ตารางที่ 12 ตําแหนง งานวาง / การบรรจุงานจังหวัดสพุ รรณบุรี
จําแนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 3 ป 2563 30
ตารางท่ี 13 แรงงานตา งดา วท่เี ขา มาตามระบบนาํ เขา MOU จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
จําแนกเปน รายอาํ เภอ ไตรมาส 3 ป 2563 31
ตารางท่ี 14 แรงงานตา งดา ว (ตามมติ ครม.20 สงิ หาคม 2562) จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
จําแนกเปนรายอําเภอ ไตรมาส 3 ป 2563 33
ตารางท่ี 15 การฝก เตรียมเขา ทํางานในจงั หวดั สุพรรณบุรี
จาํ แนกตามกลุมอาชพี ไตรมาส 3 ป 2563 34
ตารางท่ี 16 การฝก ยกระดับฝมือแรงงานในจังหวัดสุพรรณบรุ ี
จาํ แนกตามกลมุ อาชีพ ไตรมาส 3 ป 2563 34
ตารางที่ 17 การทดสอบมาตรฐานฝมอื แรงงานในจังหวัดสพุ รรณบรุ ี 35
จาํ แนกตามกลุมอาชีพ ไตรมาส 3 ป 2563
ตารางที่ 18 การฝก อาชีพเสรมิ จาํ แนกตามกลุมอาชพี ไตรมาส 3 ป 2563 35
ตารางท่ี 19 การประเมนิ ความรู ความสามารถตาม พ.ร.บ.สงเสรมิ การพฒั นาฝม อื แรงงาน
ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2557 จําแนกตามกลมุ อาชพี ไตรมาส 3 ป 2563

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบญั ตาราง (ตอ ) หนา

ตารางท่ี 36
ตารางที่ 20 จํานวนสถานประกอบการและจาํ นวนลกู จางในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี
จําแนกตามขนาดสถานประกอบการไตรมาส 3 ป 2563 37
ตารางท่ี 21 การตรวจแรงงานในจังหวดั สุพรรณบุรี
จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบการไตรมาส 3 ป 2563 38
ตารางที่ 22 การตรวจความปลอดภัยในการทาํ งานในจังหวดั สุพรรณบุรี
จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 3 ป 2563 38
ตารางที่ 23 การตรวจความปลอดภยั ในการทาํ งานในจังหวดั สุพรรณบุรี 39
จําแนกตามประเภทอตุ สาหกรรมไตรมาส 3 ป 2563 39
ตารางที่ 24 จาํ นวนองคก รนายจางจังหวัดสุพรรณบรุ ีไตรมาส 3 ป 2563 40
ตารางท่ี 25 การสงเสริมการจดั สวสั ดิการแรงงาน
ตารางที่ 26 จาํ นวนผปู ระกนั ตนในระบบประกนั สังคมจังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 40
ตารางท่ี 27 จาํ นวนสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมจังหวัดสพุ รรณบุรี
จาํ แนกตามสถานพยาบาลไตรมาส 3 ป 2563 44
ตารางท่ี 28 จาํ นวนสถานประกอบการทเี่ ลิกจาง และจํานวนลกู จา งท่ีถกู เลิกจา ง 46
ในจังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563
ตารางที่ 29 จาํ นวนคนพิการทีข่ น้ึ ทะเบียน จําแนกตามการมงี านทํา ไตรมาส 3 ป 2563 47
ตารางที่ 30 จํานวนคนพิการทข่ี น้ึ ทะเบียน 48
จําแนกตามเพศและประเภทความพิการ ไตรมาส 3 ป 2563 49
ตารางท่ี 31 จํานวนผูสงู อายุท่ีไดรบั เบี้ยยังชีพ จําแนกตามพ้ืนท่ี (อาํ เภอ) ไตรมาส 3 ป 2563
ตารางท่ี 32 อตั ราการมีสว นรวมในกาํ ลังแรงงานของจังหวดั สุพรรณบรุ ี

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมทิ ี่ หนา

แผนภมู ทิ ี่ 1 โครงสรา งประชากรจังหวดั สพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 2 ป 2563 * 15

แผนภมู ิที่ 2 ผูมีงานทําจังหวัดสพุ รรณบุรจี าํ แนกตามอาชพี (5 ลาํ ดบั แรก) ไตรมาส 2 ป 2563 * 17

แผนภมู ิที่ 3 ผมู งี านทําจงั หวัดสุพรรณบุรจี าํ แนกตามระดบั การศกึ ษา

ไตรมาส 2 ป 2563 * 17

แผนภูมิท่ี 4 ผมู งี านทาํ จังหวดั สุพรรณบุรี จาํ แนกตามประเภทอุตสาหกรรมนอกภาคเกษตร

(5 ลําดับแรก) ไตรมาส 2 ป 2563 * 18

แผนภมู ิที่ 5 ผูมงี านทาํ จงั หวัดสพุ รรณบุรี จําแนกตามสถานภาพการทาํ งาน

ไตรมาส 2 ป 2563 * 18

แผนภูมิที่ 6 แสดงผูวางงานจงั หวัดสุพรรณบรุ ี จาํ แนกตามเพศ ไตรมาส 2 ป 2563 * 19

แผนภูมิที่ 7 ผูมงี านทาํ ทอ่ี ยูในแรงงานนอกระบบจังหวัดสุพรรณบรุ ี

จาํ แนกตามอตุ สาหกรรม 20

แผนภูมิที่ 8 ผูมีงานทาํ ที่อยใู นแรงงานนอกระบบจังหวัดสุพรรณบุรี

จาํ แนกตามอาชพี (5 ลาํ ดับแรก) 20

แผนภูมิท่ี 9 ผูมงี านทาํ ทีอ่ ยูในแรงงานนอกระบบจังหวัดสุพรรณบรุ ี

จําแนกตามระดบั การศึกษา 21

แผนภูมิที่ 10 ผูม งี านทาํ ทอี่ ยใู นแรงงานนอกระบบจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

จาํ แนกตามชว งอายุ 22

แผนภูมิที่ 11 ตาํ แหนงงานวาง/ ผลู งทะเบียนสมคั รงาน /การบรรจุงาน

จังหวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 22

แผนภมู ิท่ี 12 ตําแหนงงานวางจังหวดั สุพรรณบุรจี าํ แนกตามเพศไตรมาส 3 ป 2563 23

แผนภูมิท่ี 13 ตาํ แหนงงานวา ง/ ผลู งทะเบยี นสมัครงาน /การบรรจงุ านจงั หวดั สุพรรณบุรี

จําแนกตามเพศ ไตรมาส 3 ป 2563 23

แผนภูมทิ ี่ 14 ตาํ แหนงงานวางจังหวัดสพุ รรณบรุ ี จําแนกตามชว งอายุ ไตรมาส 3 ป 2563 26

แผนภมู ิท่ี 15 จาํ นวนแรงงานตา งดา วท่ีมีทักษะ/ผชู ํานาญการ ณ เดอื นกนั ยายน 2563 28

แผนภมู ทิ ี่ 16 จาํ นวนแรงงานตา งดา วตามมาตรา 63/1 (มติ ครม. 4 สงิ หาคม 2563) 29

แผนภูมทิ ่ี 17 จาํ นวนแรงงานตา งดา วที่เขา มาตามระบบนาํ เขา MOU จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ณ เดอื นกนั ยายน 2563 29

แผนภูมทิ ่ี 18 จํานวนแรงงานตา งดา ว (ตามมติ ครม. 20 สิงหาคม 2562) 30

แผนภูมิท่ี 19 จาํ นวนแรงงานไทยทล่ี งทะเบียนแจงความประสงคเ ดินทางไปทํางานตา งประเทศ

จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 3 ป 2563 31

* ขอ มูลไตรมาส 3 ป 2563 อยูระหวางการสํารวจ
รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สารบญั แผนภูมิ(ตอ) หนา

แผนภูมทิ ่ี

แผนภมู ทิ ี่ 20 จาํ นวนแรงงานไทยในจังหวดั สพุ รรณบุรที ขี่ ออนมุ ัติเดนิ ทางไปทํางานตา งประเทศ 32
จําแนกตามวิธีการเดินทาง ไตรมาส 3 ป 2563
32
แผนภมู ทิ ี่ 21 แรงงานไทยในจงั หวัดสพุ รรณบุรีทข่ี ออนมุ ัตเิ ดนิ ทางไปทํางานตา งประเทศ 40
จาํ แนกตามภูมภิ าคทีไ่ ปทํางานไตรมาส 3 ป 2563
41
แผนภูมิที่ 22 จํานวนผปู ระกันตนในระบบประกันสงั คมจังหวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563
แผนภมู ิที่ 23 จํานวนผปู ระกันตนที่ใชบรกิ ารของกองทนุ ประกนั สงั คมจังหวัดสุพรรณบุรี 42

จําแนกตามประโยชนทดแทน 7 กรณี (ไมเ นอ่ื งจากการทํางาน) 42
ไตรมาส 3 ป 2563
แผนภมู ิที่ 24 การจายเงนิ ทดแทนของกองทุนประกันสังคมจังหวดั สพุ รรณบรุ ี 43
จําแนกตามประโยชนท ดแทน 7 กรณี (ไมเ นอื่ งจากการทํางาน) 45
ไตรมาส 3 ป 2563 46
แผนภูมิที่ 25 จํานวนผูป ระกนั ตนทีใ่ ชบริการของกองทุนเงนิ ทดแทนในจังหวัดสุพรรณบรุ ี 47
จาํ แนกตามประโยชนท ดแทนไตรมาส 3 ป 2563 48
แผนภมู ิท่ี 26 การจา ยเงนิ ทดแทนของกองทุนเงินทดแทนในจงั หวัดสุพรรณบรุ ี 50
จําแนกตามประเภทความรายแรง (เนื่องจากการทาํ งาน) 50
ไตรมาส 3 ป 2563 51
แผนภมู ทิ ี่ 27 จาํ นวนคนพกิ ารที่ขน้ึ ทะเบยี น จาํ แนกตามเพศ ไตรมาส 3 ป 2563 52
แผนภมู ทิ ่ี 28 จาํ นวนคนพกิ ารทขี่ นึ้ ทะเบยี น จําแนกตามการมีงานทํา ไตรมาส 3 ป 2563 52
แผนภูมทิ ่ี 29 จํานวนคนพิการทีข่ น้ึ ทะเบียนจาํ แนกตามประเภทความพิการ ไตรมาส 3 ป 2563
แผนภูมิท่ี 30 จํานวนผสู งู อายุทีไ่ ดร ับเบยี้ ยงั ชพี จาํ แนกตามพื้นท่ี (อาํ เภอ) ไตรมาส 3 ป 2563 53
แผนภมู ิที่ 31 การมสี ว นรวมในกาํ ลังแรงงาน จงั หวัดสุพรรณบุรี 54
แผนภูมิที่ 32 อตั ราการจางงานในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรในจงั หวัดสพุ รรณบุรี 55
แผนภมู ิท่ี 33 อัตราการจา งงานในอตุ สาหกรรมการผลิตของจงั หวดั สุพรรณบุรี 56
แผนภูมิที่ 34 อตั ราการวางงานจงั หวัดสุพรรณบรุ ี
แผนภูมิที่ 35 อตั ราการเปล่ยี นแปลงของจาํ นวนผปู ระกนั ตนในระบบประกนั สังคม (มาตรา 33)
แผนภมู ิที่ 36 เปรียบเทยี บอตั ราการบรรจุงานตอ ผูสมัครงานกบั อตั ราการบรรจุงาน
ตอ ตําแหนงงานวา งในจังหวัดสพุ รรณบุรี
แผนภูมิท่ี 37 อัตราการจางแรงงานตา งดา วในจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
แผนภูมิท่ี 38 อัตราการไมป ฏิบัติตามขอกฎหมายของสถานประกอบการ
แผนภมู ทิ ่ี 39 อัตราแรงงานท่เี ปนผูประกนั ตนจังหวัดสพุ รรณบรุ ี

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

บทสรุปสําหรบั ผบู รหิ าร

สถานการณดานเศรษฐกจิ และแรงงาน ไตรมาส 3 ป 2563 มรี ายละเอียดสรุปได ดังนี้

สภาพเศรษฐกจิ

สํานักงานคลังจังหวัดสุพรรณบุรี รายงานผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดในไตรมาส 3 ป 2563 พบวา
อุตสาหกรรมท่ีมีผลิตภัณฑมวลรวมสูงสุด 3 อันดับแรก ไดแก เกษตรกรรม การปาไมและการประมง (รอยละ
30.08 ของ GPP) การผลติ (รอ ยละ 14.78 ของ GPP) และการขายสงและการขายปลกี การซอมแซมยานยนต
และจักรยานยนต (รอยละ 13.84 ของ GPP) ตามลําดับ ดัชนีผบู ริโภคของจังหวัดเดือนกันยายน 2563 เทา กับ
102.2 สูงข้ึนจากเดือนที่ผานมา (เดือนสิงหาคม 2563 เทากับ 102.8) และดัชนีผูผลิตของประเทศเดือน
กันยายน 2563 เทากับ 100.0 เทียบกับเดือนท่ผี านมาโดยเฉล่ียไมเปล่ียนแปลง (เดือนสิงหาคม 2563 เทา กับ
100.0)

การจดทะเบียนนติ ิบุคคลจัดตั้งใหม มีจํานวน 86 แหง มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 639.81 ลานบาท และ
การจดทะเบยี นเลกิ ในไตรมาสนีม้ ีการจดทะเบียนเลิก รวมท้ังสิ้นจํานวน 14 ราย มีทุนจดทะเบียนท้ังสิ้น 24.40
ลานบาท

ภาคอตุ สาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีจดทะเบียนใหม จํานวน 12 แหง มีทนุ จดทะเบียนจํานวน
2,307.76 ลา นบาท โรงงานที่ไดรบั อนุญาตขยายโรงงาน จาํ นวน 1 แหง มที นุ จดทะเบียน 41.70 ลานบาท และ
โรงงานท่แี จงเลกิ กิจการ จํานวน 1 แหง ทนุ จดทะเบียน 0.93 ลา นบาท

สถานการณดานแรงงาน

ไตรมาส 2 ป 2563 จังหวดั สุพรรณบุรี มีประชากรท้ังสิ้น 839,509 คน และมีผูอยูในวัยทํางาน (ผูมี
อายุ 15 ปข้ึนไป) 724,052 คน เปนผูอยูในกําลังแรงงาน 446,771 คน ผูมีงานทํา 435,505 คน ผูวางงาน
3,446 คน และผูผรู อฤดูกาล 7,820 คน (ขอมูล ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เนื่องจากขอมูลไตรมาส 3 ป 2563 อยูระหวาง

การสาํ รวจ)

การมีงานทาํ ผมู งี านทาํ ในจังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 435,505 คน พบวาเปนผมู ีงานทําในภาคเกษตร
จํานวน 181,377 คน (รอยละ 41.65) และผูมีงานทาํ นอกภาคเกษตร จํานวน 254,128 คน (รอยละ 58.35)
โดยทาํ งานในสาขาการขายสงการขายปลีก จํานวน 67,603 คน (รอยละ 15.52) รองลงมาคือสาขาการผลิต
จํานวน 48,653 คน (รอยละ 11.17) และผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับประถมศึกษา จาํ นวน
134,267 คน (รอ ยละ 30.83) (ขอ มูล ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เน่อื งจากขอมูลไตรมาส 3 ป 2563 อยรู ะหวา งการสํารวจ)

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 1

การวางงาน จังหวัดสุพรรณบุรี มีผูวางงาน 3,446 คน หรือมีอัตราการวางงานรอยละ 0.77 ซ่ึงลดลง
จากไตรมาสที่ผานมารอยละ 0.14 (ไตรมาส 1 ป 2563 อัตราการวางงานเทากับรอยละ 0.91) ซึ่งเพศหญิงมี
อัตราการวางงานสูงกวา เพศชาย เพศหญิง (รอยละ 56.62) เพศชาย (รอยละ 43.38) ของผูวางงานทั้งหมด

(ขอ มลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เน่อื งจากขอ มลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยูระหวางการสาํ รวจ)

แรงงานนอกระบบ จากขอมูลจากสํานักงานสถิติจังหวัด ป 2562 จังหวัดสุพรรณบุรีมีแรงงานนอก
ระบบท้ังหมด จํานวน 339,264 คน คิดเปนรอยละ 71.54 ของผูมีงานทําเม่ือเทียบกับปที่ผานมาลดลง
จํานวน 19,718 คน (จํานวนแรงงานนอกระบบจังหวัดสพุ รรณบุรีป 2561 เทากับ 358,982 คน) เปนเพศชาย
รอยละ 58.30 เพศหญิง รอยละ 41.70 จากผลสํารวจพบวา จํานวนแรงงานนอกระบบสวนใหญจะอยูใ นภาค
เกษตร จาํ นวน 208,950 คน คดิ เปนรอยละ 61.59 และนอกภาคเกษตร จํานวน 130,314 คน คิดเปนรอ ยละ
38.41 เมื่อพิจารณาตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา อุตสาหกรรมการขายสงการขายปลีกมีจาํ นวนสูงสุด มี
จํานวน 45,065 คน คดิ เปน รอ ยละ 13.28 รองลงมาเปนอุตสาหกรรมกิจกรรมบริการอื่นๆ จํานวน 25,825 คน
คดิ เปน รอ ยละ 7.61 คน เมอื่ พจิ ารณาตามอาชีพพบวา อาชีพดานเกษตรและประมงสูงสุด มีจํานวน 188,512
คน คิดเปนรอยละ 55.56 รองลงมาเปนอาชีพพนักงานบริการ จํานวน 62,910 คน คิดเปนรอยละ 18.54
สาํ หรบั ระดับการศกึ ษา พบวา โดยสวนใหญมีการศกึ ษาอยูในระดับต่ํากวาประถมศึกษา จาํ นวน 114,422 คน
คิดเปนรอ ยละ 33.73 รองลงมาเปน ระดับประถมศึกษา จํานวน 100,387 คนคิดเปนรอ ยละ 29.59 สว นในชวง
อายุ พบวา โดยสวนใหญแรงงานนอกระบบจะมีอายุ 60 ปขึ้นไป มีจํานวน 63,771 คน คิดเปนรอยละ 18.80
รองลงมาคืออายุระหวาง 45–49 ป จํานวน 49,699 คน คิดเปนรอยละ 14.65 (ขอมูลแรงงานนอกระบบมีการ

สาํ รวจปล ะคร้งั )

การบริหารจัดหางานในประเทศ ในชวงไตรมาสที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน) ป 2563 นายจาง/สถาน
ประกอบการไดแจงตาํ แหนงงานวา ง จาํ นวน 3,533 อัตรา โดยมีผลู งทะเบียนสมัครงาน 507 คน และการบรรจุ
งาน 595 คน สําหรับอัตราการบรรจุงานตอตําแหนงวาง คิดเปนรอยละ 16.75 สวนตําแหนงงานวางตาม
ระดบั การศกึ ษาที่ตองการสูงสดุ คือ ระดับมัธยมศึกษา มีความตอ งการรอยละ 44.10 (1,567 อัตรา) รองลงมา
เปนระดับประถมศึกษาและต่ํากวา รอยละ 22.38 (795 อัตรา) ตามลําดับ และอาชีพที่มีตําแหนงงานวางมาก
ทสี่ ดุ คือ อาชีพงานพ้ืนฐาน รอ ยละ 60.09 (2,135 อัตรา)

การใชแรงงานตางดาว จํานวนแรงงานตางดาวท่ีไดรับใบอนุญาตทํางานในจังหวัดสุพรรณบุรี มี
ท้งั หมด 14,730 คน ณ กันยายน 2563 ประเภทคนตา งดาวทม่ี ที กั ษะ/ผูชํานาญการ จาํ นวน 509 คน

สําหรับแรงงานตางดา ว 3 สญั ชาติ ไดแ ก พมา ลาว และกมั พูชาที่ไดร บั อนุญาตใหเขา มาทํางานเปน การ
ช่ัวคราวเพอื่ ทดแทนการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทย ณ กันยายน มีจาํ นวน 14,221 คน ดังน้ี

 แรงงานตา งดาว 3 สัญชาติ ตามมาตรา 63/1 (มติ ครม. 4 สิงหาคม 2563) มีจํานวน 430
คน เปนสัญชาตเิ มียนมา 303 คน (รอยละ 70.47) สัญชาตลิ าว 15 คน (รอยละ 3.49) และ
สัญชาตกิ มั พูชา 112 คน (รอ ยละ 26.05) และมีจาํ นวนนายจางรวม จํานวน 191 คน

 แรงงานตางดาว 3 สัญชาติ ที่เขามาตามระบบนําเขา MOU มีจํานวน 5,782 คน เปน
สัญชาติเมียนมา 3,669 คน (รอยละ 63.46) สัญชาติลาว 632 คน (รอยละ 10.93) และ
สญั ชาตกิ มั พูชา 1,481 คน (รอ ยละ 25.61) และมจี าํ นวนนายจางรวม จํานวน 624 คน

2 รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

 แรงงานตางดาว 3 สัญชาติ ตามมติ ครม.20 สิงหาคม 2562 มีจํานวน 8,009 คน เปน
สัญชาตเิ มยี นมา 6,792 คน (รอยละ 84.80) สัญชาติลาว 248 คน (รอ ยละ 3.10) และสญั ชาติ
กมั พูชา 969 คน (รอยละ 12.10) และมีจํานวนนายจางรวม 1,927 คน

แรงงานไทยในตางประเทศ ในไตรมาสนี้ พบผูลงทะเบียนที่มาแจงความประสงคเดินทางไปทํางาน
ตา งประเทศ จํานวน 1 คน เปนระดับมัธยมศกึ ษา สวนของการไดรับอนุญาตใหไปทํางานตางประเทศ จํานวน
4 คน วธิ กี ารเดินทางพบวาเดินทางแบบ Re–Entry จํานวน 3 คน (รอ ยละ 75.00) เดินทางดวยตนเอง จาํ นวน
1 คน (รอ ยละ 25.00) ตามลําดับ และสวนภูมิภาคท่ีแรงงานไทยไปทํางานสวนใหญจะอยูในภูมิภาคยุโรปมาก
ที่สุด จาํ นวน 2 คน (รอ ยละ 50.00) เอเชียและอื่นๆ มีจาํ นวนเทากนั จํานวนละ 1 คน (รอ ยละ 25.00)

การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีการฝกเตรียมเขาทํางาน จํานวน 62 คน โดยกลุมอาชีพที่มีการฝก
เตรียมเขา ทาํ งานสูงสดุ คอื ชา งกอสรา ง จํานวน 18 คน (รอยละ 29.03) รองลงมา คอื ชางไฟฟาอิเล็กทรอนกิ ส
คอมพิวเตอร จํานวน 17 คน (รอยละ 27.42) สําหรับการฝกยกระดับฝมือแรงงาน มีการฝกยกระดับฝมือ
แรงงาน จํานวน 534 คน โดยกลุมอาชีพที่มีการฝกยกระดับฝมอื แรงงานสูงสุด คอื ชางไฟฟา อิเลก็ ทรอนิกส
คอมพิวเตอร จํานวน 272 คน (รอยละ 50.94) รองลงมา คือ ภาคบริการ จํานวน 100 คน (รอยละ 18.73)
การทดสอบมาตรฐานฝม ือแรงงาน จํานวน 425 คน โดยกลุมอาชีพที่มีการทดสอบมาตรฐานสูงสุด คือ ชาง
ไฟฟาอิเล็กทรอนกิ ส คอมพวิ เตอร จาํ นวน 214 คน (45.92) รองลงมา คือ ชางเคร่ืองกล จํานวน 133 คน (รอย
ละ 28.54) การฝกอาชีพเสริม มีผูเขารบั การฝก อาชีพเสริม จํานวน 300 คน โดยเปนภาคบริการ ท่ีมีการฝก
อาชพี สูงสุด จํานวน 160 คน (รอยละ 53.33) การประเมินความรูความสามารถ พ.ร.บ.สงเสริมการพฒั นา
ฝมือแรงงาน ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2557 มีผูเขารับการประเมินฯ จํานวน 112 คน เปนกลุมอาชีพชางไฟฟา
อิเลก็ ทรอนิกส คอมพวิ เตอรทง้ั หมด

การคุมครองแรงงานและสวัสดิการ จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานประกอบกิจการ ณ กันยายน 2563
จาํ นวน 2,963 แหง มีลูกจางรวม 41,577 คน เปนเพศชาย 22,161 คน (รอ ยละ 53.30) เปนเพศหญิง 19,356
คน (รอยละ 46.55) และมีแรงงานเดก็ 60 คน (รอ ยละ 0.14)

การตรวจแรงงานในจังหวดั สุพรรณบุรี จําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ จํานวน 87 แหง มี
ลูกจางที่ผานการตรวจหรือการไดรบั ความคุมครองรวม จํานวน 2,050 คน เปนเพศชาย 1,157 คน (รอยละ
56.44) และเพศหญิง 893 คน (รอ ยละ 43.56) และไมพบลกู จางที่เปนเด็ก ซ่งึ สวนใหญเปนสถานประกอบการ
ขนาด 10-19 คน จํานวน 23 แหง (รอ ยละ 26.44) รองลงมาเปนสถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 22
แหง (รอยละ 25.29) ผลการตรวจสอบพบวาสถานประกอบกิจการ (รอยละ 75.86) จํานวน 66 แหง ปฏิบัติ
ถูกตองตามกฎหมาย และสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย (รอยละ 24.14) จํานวน 21
แหง สว นใหญจะเปน อุตสาหกรรมการขายสง การขายปลกี การซอ มแซมยานยนต รถจกั รยานยนตฯ โดยเร่ืองท่ี
ปฏิบัตไิ มถูกตอง (วันหยุด,การจายคาจาง,คาจางข้ันต่ํา,ขอบังคับ) ซึ่งสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
ออกคําสง่ั ใหดาํ เนนิ การเรยี บรอยแลว

การตรวจความปลอดภัยในการทํางานของจงั หวัดสุพรรณบุรี จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ
54 แหง มลี ูกจา งหรอื ผูใ ชแรงงานที่ผานการตรวจ จํานวน 2,228 คน เพศชาย 1,318 คน (รอยละ 59.16) เพศ
หญงิ 910 คน (รอ ยละ 40.84) และไมพ บลูกจางทเี่ ปน เดก็ ซึ่งสว นใหญเปนสถานประกอบการขนาด 10-19 คน

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 3

จํานวน 12 แหง (รอยละ 22.22) รองลงมาเปนสถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 11 แหง (รอยละ
20.37) และผลการตรวจจากผลการตรวจสอบความปลอดภยั ในการทาํ งาน พบวา สถานประกอบการทผ่ี านการ
ตรวจสอบปฏิบัติถูกตอง (รอยละ 83.33) จํานวน 45 แหง และปฏบิ ตั ไิ มถูกตอง (รอยละ 16.67) จํานวน 9 แหง
ซึ่งสว นใหญจ ะเปน อุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งสาํ นกั งานสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดออกคาํ ส่ังใหดําเนินการ
เรียบรอ ยแลว

การเกิดขอเรียกรอง/ขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยงในสถานประกอบการ ในไตรมาสนี้จังหวัด
สพุ รรณบุรีไมม รี ายงานการเกดิ ขอพิพาทแรงงาน และขอ ขัดแยงในสถานประกอบการ

การสวัสดิการ มกี ารสงเสรมิ ใหบริการดานสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด จํานวน
34 แหง และลกู จางทีไ่ ดร ับการสงเสรมิ จํานวน 365 คน

การเลกิ จางแรงงาน สถานประกอบกจิ การในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ท่เี ลกิ กจิ การมจี ํานวน 37 แหง ลูกจางท่ี
ถูกเลกิ จาง จํานวน 136 คน (ขอมูลจากประกันสังคม) โดยเปนสถานประกอบการขนาดเล็ก 1-9 คน จํานวน 33
แหง (รอยละ 89.19) และลูกจางที่ถูกเลิกจาง จํานวน 60 คน (รอยละ 44.12) สถานประกอบการขนาด 10-49
คน จาํ นวน 4 แหง (รอยละ 10.81) และลูกจา งทถ่ี ูกเลกิ จา ง จาํ นวน 76 คน (รอยละ 55.88)

การประกันสังคม พบวาจังหวัดสุพรรณบุรีมีสถานประกอบการที่อยูในระบบประกันสังคม จํานวน
4,090 แหง มีจํานวนผูป ระกันตนในระบบประกันสังคม จํานวน 105,206 ราย ซ่ึงแบงเปน ผูประกันตนตาม
มาตรา 33 จาํ นวน 50,921 ราย (รอยละ 48.40) มาตรา 39 จาํ นวน 13,498 ราย (รอยละ 12.83) และมาตรา
40 จํานวน 40,787 ราย (รอยละ 38.77) และมีสถานพยาบาลในสังกัดประกันสังคมท่ีเปนสถานพยาบาลของ
รัฐบาล จาํ นวน 3 แหง

กองทนุ ประกนั สงั คม
การใชบริการของกองทุนประกันสังคมพิจารณาจากการจายประโยชนทดแทนของกองทุน
ประกันสังคมจําแนกตามประโยชนทดแทน 7 กรณี (ไมเนื่องจากการทํางาน) ไดแก เจ็บปวย คลอดบุตร
ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะหบุตร ชราภาพและวางงานมีการจายประโยชนทดแทนท้ังหมด จํานวน
147,838,786.89 บาท พบวากรณีวางงาน มีการจายเงินประโยชนทดแทนสูงสุดเปนลําดับแรก มีจํานวน
58,810,582.60 (รอยละ 39.78) การใชบริการของกองทุนเงินทดแทน พจิ ารณาจากการจายเงินทดแทนของ
กองทุนเงนิ ทดแทน จาํ แนกตามประเภทความรา ยแรง (เน่อื งจากการทํางาน) ไดแกคารักษาพยาบาล คาทดแทน
กรณีหยุดงาน คาทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะคาทดแทนกรณีทุพพลภาพคาทดแทนกรณีตาย คาฟนฟู
สมรรถภาพ และคาทําศพ มีการจายเงินทดแทนท้ังหมด จํานวน 3,979,816.75 บาท พบวา กรณคี าทดแทน
กรณีคาทดแทนกรณีรักษาพยาบาลมีการจายคาทดแทนสงู สุดเปนลาํ ดับแรก จาํ นวน 1,265,620.25 บาท
(รอ ยละ 31.80)

4 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

ประเด็นอ่ืนๆ ท่ีสาํ คัญ
ในไตรมาส 3 ป 2563 จังหวัดสพุ รรณบุรีมีจํานวนคนพิการที่ขึ้นทะเบียน ทั้งหมด 637 คน (เพศชาย 298
คน เพศหญิง 339 คน) โดยจําแนกตามประเภทความพิการ พบวา คนพิการสวนใหญประเภททางการ
เคลื่อนไหวหรือรางกาย จํานวน 402 คน (รอยละ 63.11) สําหรับจํานวนคนพกิ ารทีข่ ้ึนทะเบยี นจําแนกการมี
งานทาํ สวนใหญเปนประเภทไมไ ดประกอบอาชพี จํานวน 625 คน (รอ ยละ 98.12)
ขอมูลผูสูงอายุ ในจังหวัดสุพรรณบุรี มีจํานวนผูสูงอายุท้ังสิ้น 174,205 คน และมีจํานวนผูสูงอายุที่
ไดรบั เบี้ยยงั ชพี จํานวน 150,784 คน จําแนกตามพืน้ ท่ี (อาํ เภอ) พบวา อาํ เภอเมอื งสพุ รรณบุรีมจี าํ นวนผูส งู อาย
ทไ่ี ดรับเบย้ี ยังชีพสงู ท่สี ุด จาํ นวน 27,803 คน (รอ ยละ 18.44)

…………………………………………………………………..

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 5

จงั หวดั สพุ รรณบุรี

สภาพท่วั ไป

จังหวัดสพุ รรณบุรีมพี ื้นที่ 5,358 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 3,348,755 ไร ต้ังอยูในภาค
กลางดานตะวันตกของประเทศไทย ประชากรรวม 839,509 คน (ขอมูลจากกรมการปกครองจังหวัด
สุพรรณบุรี ณ กนั ยายน 2563) แบงเขตการปกครองออกเปน 10 อําเภอ 110 ตําบล 1,008 หมูบาน
โดยแบงเปนเขตการปกครองสวนทองถิ่น 127 แหง ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง
เทศบาลเมือง 2 แหง เทศบาลตําบล 43 แหง และองคก ารบริหารสว นตําบล 81 แหง

เขตการปกครองสวนภูมภิ าค แบงออกเปน
อําเภอ 10 อําเภอ
ตําบล 110 ตาํ บล
หมบู าน 1,008 หมบู า น

การปกครองสวนทอ งถ่ิน แบง ออกเปน

องคก ารบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 1 แหง
องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) 81 แหง
เทศบาลเมอื ง 2 แหง
เทศบาลตําบล 43 แหง

ที่มา : สาํ นกั งานทองถิน่ จังหวัดสุพรรณบรุ ี (ณ กันยายน 2563)

จังหวัดท่ีมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดสุพรรณบุรี คือ ทิศเหนือติดกับจังหวัดอุทัยธานีและ
จงั หวัดชยั นาท ทศิ ตะวันออกติดกับจังหวัดสิงหบ ุรี จังหวัดอางทอง และจังหวัดพระนครศรอี ยุธยาทศิ
ตะวันตกติดกับจังหวัดกาญจนบุรีและอุทัยธานี สวนทิศใตติดกับจังหวัดนครปฐมหางจาก
กรุงเทพมหานครทางรถยนต 107 กโิ ลเมตร

จังหวดั สุพรรณบรุ ี พนื้ ทีส่ ว นใหญของจงั หวัดสุพรรณบุรีใชท ํานาขาวมแี มนํ้าลําคลองหนองบึง
อยูท ่ัวไปมีแมนํ้าสายสาํ คญั ทไี่ หลผา นจากเหนือสุดถงึ ใตส ดุ ไดแกแมน ํา้ ทา จีนหรอื แมนํ้าสุพรรณบุรีและ
มีเขื่อนกระเสียวเปนเขื่อนดินสาํ หรับกักเก็บนา้ํ และสรางก้ันลาํ หวยกระเสียว สภาพภูมิประเทศสวน
ใหญเปนพ้ืนที่ราบลุม ทางตอนเหนือและดานตะวันตก มีสภาพเปนท่ีราบสูงและภูเขาในอําเภอดาน
ชา ง อาํ เภออทู อง และในบางสว นของอําเภอดอนเจดยี กบั อาํ เภอเดิมบางนางบวชสภาพอากาศท่ัวไปมี
ลักษณะอากาศแบบรอนชื้นเปนสวนใหญจังหวัดสุพรรณบุรีเปน เมืองอูขาวอูน้ํามีผลผลิตทาง
การเกษตรเปนจํานวนมากในแตละปไมวาจะเปนขาวออยมันสําปะหลังและประเภทผลไมไดแก
มะมวง แตงโม และมีช่ือเสียงในดานขนมไทยนานาชนดิ เชน ขนมเปย ะ ขนมสาล่ี เปน ตน

6 รายงานสถานการณแ รงงานจงั หวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

คาํ ขวญั จงั หวดั สุพรรณบุรี

เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีข้นึ ช่ือ
เลอ่ื งลือพระเครือ่ ง รุง เรืองเกษตรกรรม
สงู ล้าํ ประวตั ศิ าสตร แหลง ปราชญศลิ ปน

ภาษาถิน่ ชวนฟง

แผนทจี่ งั หวัดสุพรรณบรุ ี

จังหวัดสพุ รรณบุรี มสี ถานท่ที องเท่ียวหลากหลายแบบ ใหนักเดินทางไดสัมผัสและคนหา
ภาพประวัตศิ าสตรทีเ่ กา แก เร่ืองราวของอดตี ทีน่ าสนใจ สิ่งกอสรางทางพุทธศาสนา ท่ีงดงามและ
ทรงคณุ คาตอการกราบไหวบูชา หรือแมแตสถานทีท่ องเที่ยวใหมๆ ท่ีสรางขึ้นมาใหนักทองเที่ยว
ไดชม ไดเพลิดเพลินกับความอลังการ ต่ืนตา
ตื่นใจ และเปนแหลงศึกษาหาความรูของ
เยาวชนคนรุนใหม นอกจากท่ีกลาวมาแลว
สุพ รรณบุรี ยังเปนดินแ ดนท่ีมีธรรมชา ติ
ทะเลสาป นํ้าตก ปาเขา ทะเลหมอกที่งดงาม
และวิถีชีวิตกวา 10 ชนเผา ที่ดําเนินอยู ณ
ดินแดนแหง นี้ โดยมีสถานท่ีนยิ มทอ งเท่ยี ว ดังนี้

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 7

7 สถานที่ทอ่ งเที่ยว จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

 สามชุก ตลาดรอ ยป
 วดั ปาเลไลยก หลวงพอ โต
 ศาลเจา พอ หลกั เมืองสุพรรณบุรี
 บึงฉวาก
 พระบรมราชานสุ รณด อนเจดยี 
 หอคอยบรรหาร สพุ รรณบรุ ี
 พระองคใ หญ “หลวงพออูทอง พระพุทธปษุ ยคีรศี รสี ุวรรณภมู ิ
 เปนตน

ตารางที่ 1 แสดงอตั ราคาจางขัน้ ต่ํา (ฉบบั ที่ 10)
ซง่ึ ไดประกาศใหมผี ลใชบงั คบั ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2563

อตั ราคา จางขัน้ ตาํ่ เขตทองท่ีบงั คับใช
(บาท/วัน)

336 จังหวดั ชลบุรี และภูเก็ต

335 จังหวดั ระยอง

331 กรุงเทพมหานคร จงั หวัดนครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมทุ รสาคร

330 จังหวดั ฉะเชิงเทรา

325 จังหวัดกระบี่ ขอนแกน เชยี งใหม ตราด นครราชสมี า พระนครศรอี ยธุ ยา พังงา ลพบุรี

สงขลา สระบรุ ี สุพรรณบรุ ี สรุ าษฎรธ านี หนองคาย และอุบลราชธานี

324 จังหวดั ปราจีนบรุ ี

323 จังหวดั กาฬสนิ ธุ จนั ทบรุ ี นครนายก มกุ ดาหาร สกลนคร และสมุทรสงคราม

จังหวดั กาญจนบุรี ชัยนาท นครพนม นครสวรรค นา น บึงกาฬ บุรรี มั ย ประจวบครี ขี ันธ
320 พทั ลุง พิษณโุ ลก เพชรบรุ ี เพชรบูรณ พะเยา ยโสธร รอยเอด็ เลย สระแกว สรุ นิ ทร อา งทอง

อุดรธานี และอตุ รดิตถ

จังหวดั กําแพงเพชร ชัยภมู ิ ชมุ พร เชียงราย ตรงั ตาก นครศรธี รรมราช พิจิตร แพร
315 มหาสารคาม แมฮ อ งสอน ระนอง ราชบรุ ี ลาํ ปาง ลาํ พูน ศรสี ะเกษ สตูล สงิ หบุรี สโุ ขทัย

หนองบวั ลําภู อทุ ยั ธานี และอาํ นาจเจรญิ

313 จังหวัดนราธวิ าส ปต ตานี และยะลา

****************************************

8 รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สภาพเศรษฐกจิ

1) ผลติ ภัณฑม วลรวมจังหวัด (GPP)

จังหวัดสพุ รรณบุรีมีศักยภาพในการผลติ สินคาสูงและสามารถพัฒนาเปนแหลงอุตสาหกรรมการเกษตร
เพ่ือการสง ออกและบรโิ ภคภายในประเทศเนื่องจากมีทําเลเหมาะสมอยูไ มหางจากกรุงเทพมหานครมีการคมนาคม
สะดวกสบายมแี หลงเรียนรูทางการเกษตรทีม่ เี ทคโนโลยีสมยั ใหมหลายแหงทําใหผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด
เทากับ 91,602 ลานบาท (ณ ราคาประจาํ ป) โดยสว นใหญข ึน้ กบั สาขาการเกษตรกรรม การปาไมและการประมง
วงเงนิ 27,551 ลา นบาท และอยนู อกภาคเกษตรกรรมเปน ประเภทอุตสาหกรรม สาขาการผลติ 13,540 ลานบาท

ตารางท่ี 2 ขอ มลู พน้ื ฐานดานเศรษฐกิจ

ขอ มลู ผลติ ภัณฑมวลรวมจงั หวัด (GPP) 19 สาขา (ณ ราคาประจําป 2561)

หนวย: ลานบาท

ประเภทผลติ ภัณฑ 2015 2016r 2017r 2018p

ภาคเกษตรกรรม 26,381 23,552 25,556 27,551
1. เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 26,381 23,552 25,556 27,551
นอกภาคเกษตรกรรม 57,475 58,525 61,443 64,051

2.การทําเหมอื งแรและเหมืองหิน 6,005 3,166 3,477 3,466
3.การผลติ 11,169 13,117 13,018 13,540
4.ไฟฟา กาซ ไอนาํ้ และระบบปรบั อากาศ 1,332 1,359 1,427 1,303

5.การจดั หานา้ํ การจดั การ และการบําบัดนาํ้ เสยี ของเสยี 334 415 496 547
และสิ่งปฏกิ ูล
6.การกอสรา ง 3,189 3,555 3,401 3,704
7.การขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนตแ ละ 10,255 10,579 11,536 12,682
จกั รยานยนต
2,160 2,144 2,582 2,927
8.การขนสง และสถานทเ่ี กบ็ สินคา 599 652 754 867
9.ท่พี ักแรมและบริการดา นอาหาร 579 516 591 656
10.ขอมูลขา วสารและการส่ือสาร
4,874 5,219 5,343 5,559
11.กิจกรรมทางการเงนิ และการประกันภัย 3,078 3,545 4,011 3,785
12.กิจกรรมอสังหารมิ ทรัพย
13.กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร และเทคนิค 27 27 27 78

14.กิจกรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนับสนุน 195 201 256 272
15.การบรหิ ารราชการ การปองกันประเทศ และการ 2,556 2,700 2,666 2,831
ประกันสงั คมภาคบงั คบั
16.การศึกษา 7,475 7,432 7,700 7,377
17. กิจกรรมดา นสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห 2,796
18.ศลิ ปะ ความบนั เทิง และนันทนาการ 2,982 3,174 3,380
19. กิจกรรมบริการดานอ่ืนๆ 242
609 302 360 432
รวม 83,855
612 625 647

82,077 86,999 91,602

ทมี่ า : สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 9

2) ดชั นีราคาผูผลิตและดชั นรี าคาผบู ริโภค

2.1 ดชั นรี าคาผผู ลติ
สําหรบั ไตรมาส 3 ป 2563 ดัชนรี าคาผผู ลติ ของประเทศเดอื นกันยายน 2563 เทา กับ 100.0 เทียบ
กับเดือนที่ผานมาโดยเฉล่ียไมเปลี่ยนแปลง (เดือนสิงหาคม 2563 เทากับ 100.0) โดยหมวดผลผลิต
เกษตรกรรม สูงขึ้นรอยละ 1.2 สินคาสําคัญที่ราคาสูงข้ึน กลุมผลผลิตการเกษตร ไดแก ขาวโพดเลี้ยงสัตว
เนอ่ื งจากมีฝนตกชกุ เกษตรกรจงึ ชะลอการเก็บเก่ียวทําใหผ ลผลติ ออกสูตลาดนอ ยลง มนั สําปะหลงั สด เนือ่ งจาก
เปนชวงปลายฤดูกาล ผลผลติ ออกสูตลาดนอย ประกอบกับความตองการเพิ่มขึ้น ผลปาลมสด เนอื่ งจากความ
ตอ งการใชเ พ่ิมขนึ้ จากมาตรการระบายสต็อกนา้ํ มันปาลมดบิ และมาตรการกระตุนการทองเท่ียว ขณะท่ีปริมาณ
ผลผลติ ที่ออกสูตลาดมแี นวโนมลดลง ยางพารา (น้ํายางขน ยางแผนดบิ เศษยาง) เนอ่ื งจากปริมาณผลผลิตออก
สูตลาดลดลง จากฝนตกชุกในพ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลไม (องุน กลวยหอม กลวยนํ้าวา สับปะรดโรงงาน ทุเรียน)
เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวน ประกอบกับเปนชวงปลายฤดูกาลของผลไมบางชนิด กลุมสัตวมีชีวิต ไดแก
สุกรมชี ีวิต เนือ่ งจากความตองการบริโภคเพิม่ ขึ้น จากประเทศทบี่ รโิ ภคสุกรรายใหญของโลกประสบปญ หาการ
ระบาดของโรคอหิวาตแ อฟริกาในสกุ ร อาทิ ประเทศจีนและประเทศเวียดนาม จึงมีคําสัง่ ซ้ือเพื่อนําเขาสุกรจาก
ไทยเพิ่มข้ึน ขณะที่กลุมปลาและสัตวน้ําปรับตัวลดลง ไดแ ก ปลาดุก ปลานิล ปลาหมกึ กลวย และกุงแวนนาไม
จากความตองการบริโภคชะลอตัวและเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาลดลงรอยละ 1.3 (เดือน
กันยายน 2562 เทากับ 101.3) โดยหมวดผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม ลดลงรอ ยละ 1.7 เนอ่ื งจากสถานการณโ ควิด-
19 ท่มี ีการระบาดทวั่ โลกต้ังแตชว งตน ป สง ผลใหเศรษฐกิจชะลอตัวท้ังในประเทศและตางประเทศ สินคาสําคัญ
ทีร่ าคาลดลง ไดแก กลุม ผลิตภัณฑปโ ตรเลยี ม (นาํ้ มันดเี ซล นํา้ มันแกส โซฮอล 91,95 นํา้ มันเครอื่ งบิน นํา้ มนั เตา)
กลุมเคมีภัณฑ (โซดาไฟ เม็ดพลาสติก ปุย) ตามราคาตลาดโลกและความตองการใชที่ลดลง กลุมเยื่อกระดาษ
ผลิตภัณฑกระดาษ (กระดาษพิมพเขียน เยื่อกระดาษ) จากคําส่ังซอื้ ลดลง กลุมโลหะขั้นมูลฐานและผลิตภัณฑ
(เหล็กแผน ลวดเหล็ก บรรจุภัณฑโลหะ) กลมุ ส่งิ ทอ (เสนใยสังเคราะห ดา ยฝาย) กลุมเครื่องไฟฟา อุปกรณและ
อิเลก็ ทรอนิกส (สายเคเบลิ แผงวงจรไฟฟา) ตามราคาวัตถุดบิ ทล่ี ดลง

2.2 ดชั นรี าคาผูบรโิ ภค

สําหรับไตรมาส 3 ป 2563 ดัชนีราคาผูบริโภคเดือนกันยายน 2563 เทากับ 102.2 เม่ือเทียบกับ
เดอื นทผี่ า นมาดัชนีราคาสูงขึ้นรอยละ 0.6 (เดือนสิงหาคม 2563 เทากับ 102.8) โดยมีการเปลี่ยนแปลงราคา
สินคา ดังนี้ ดัชนีราคาหมวดอาหารและเคร่ืองด่ืมไมมีแอลกอฮอล ลดลงรอยละ 0.9 จากการลดลงของดัชนี
หมวดผักและผลไม ลดลงรอ ยละ 3.3 คือ แตงกวา เงาะ กระหลํ่าปลี พริกสด ดชั นีหมวดไข และผลิตภัณฑนม
ลดลงรอยละ 1.0 คือ ไขไก นมสด ดัชนีหมวดขาว แปง และผลิตภัณฑจากแปง ลดลงรอยละ 0.5 คือ ขาวสาร
เจา ขา วสารเหนียว ดัชนหี มวดเน้ือสตั ว เปด ไก และสัตวนาํ้ ลดลงรอ ยละ 0.3 คอื ไกยาง ดัชนีหมวดอ่ืน ๆ ไมใช
อาหาร และเครื่องดื่ม ลดลงรอยละ 0.3 จากการลดลงของดัชนีหมวดการตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล
ลดลงรอ ยละ 0.2 คอื คาใชจายสวนบุคคล ไดแก ยะระงับกล่นิ กาย แปงพัดหนา ดัชนีหมวดพาหนะ การขนสง
และการสื่อสาร ลดลงรอ ยละ 1.0 สาเหตุมาจาก(นํา้ มนั เช้อื เพลิง) และเม่ือเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกนั ของป
ท่ีผานมาลดลงรอยละ 1.3 (เดือนกันยายน 2562 เทากับ 103.5) ดัชนีหมวดอาหาร และเคร่ืองด่ืมไมมี

10 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

แอลกอฮอล สูงขึ้นรอยละ 2.6 จากการสูงข้ึนดัชนีหมวดผักและผลไม สูงขึ้นรอยละ 3.5 ดัชนีเนื้อสัตว เปดไก
และสัตวน้ํา สูงขึ้นรอยละ 5.4 ดัชนีหมวดเคร่ืองด่ืมไมมีแอลกอฮอล สูงขึ้นรอยละ 2.0 ดัชนีเครื่องประกอบ
อาหาร สูงข้ึนรอยละ 0.3 ดัชนีหมวดขาว แปงและผลิตภัณฑนม สูงข้ึนรอยละ 2.6 สวนดัชนีหมวดอ่ืน ๆ ไมใช
อาหารและเคร่ืองด่มื ลดลงรอยละ 3.9 จากดัชนีหมวดพาหนะ การขนสง และการสื่อสาร ลดลงรอยละ 8.3
ดชั นีหมวดเคหสถาน ลดลงรอยละ 2.5 ดชั นหี มวดการบนั เทิงการอาน การศึกษา และการศาสนา ลดลงรอ ยละ
0.3 ดชั นีหมวดการตรวจรกั ษาและบรกิ ารสว นบคุ คล ลดลงรอ ยละ 0.4

ตารางท่ี 3 แสดงเครอ่ื งชี้วดั ภาวะเศรษฐกิจดา นระดับราคา (จาํ แนกรายเดือน ไตรมาส 3 ป 2563)

รายการ ไตรมาส 3 ป 2563 ก.ย.63
ก.ค.63 ส.ค.63

ดัชนีราคาผผู ลติ 99.5 100.0 100.0

อัตราการเปล่ียนแปลง 0.6 0.5 0.0
ด(จชั านกรีเดาคือานผทบู ี่ผราิโนภมคา) 102.4 102.8 102.2

อตั ราการเปล่ียนแปลง 0.6 0.4 -0.6

(ทจมี่ าากเ:ดสือาํ นนักทงีผ่ าานนดมชั าน)ีการคา สาํ นักงานปลดั กระทรวงกระทรวงพาณชิ ย (ขอ มูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

3) การจดทะเบียนนติ บิ ุคคล

ในไตรมาส 3 ป 2563 จังหวัดสพุ รรณบุรีมีการจดทะเบียนนิติบุคคลจัดตั้งใหมตามหมวดธุรกิจจังหวัด
สุพรรณบุรีท้ังสิ้น จํานวน 86 ราย แบงเปนการจดทะเบียนบริษัทจํากดั จํานวน 55 ราย โดยจดทะเบียนใน
เดอื นกรกฎาคม จาํ นวน 19 ราย เดอื นสงิ หาคม จํานวน 17 ราย และเดือนกันยายน จํานวน 19 ราย สวนการจด
ทะเบียนหางหุนสวนจํากัด มีจํานวน 31 ราย โดยจดทะเบียนในเดือนกรกฎาคม จํานวน 8 ราย เดือนสิงหาคม
จาํ นวน 6 ราย และเดอื นกนั ยายน จาํ นวน 17 ราย

เม่ือพิจารณาทุนจดทะเบียนของนิติบุคคลจัดต้ังใหม พบวา บริษัทจํากัดมีทุนจดทะเบียน จํานวน
608.21 ลานบาท ซึง่ เพ่ิมขึน้ จากไตรมาสทีผ่ านมา (ไตรมาส 2 ป 2563 เทากับ 63.80 ลานบาท) และหางหุนสวน
จํากัดมีทุนจดทะเบียนจํานวน 31.60 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ผานมา (ไตรมาส 2 ป 2563 เทากับ
30.43 ลา นบาท)

สาํ หรบั การจดทะเบียนเลกิ ในไตรมาสน้ี มีการจดทะเบียนเลิกบริษัทจํากัด และหางหุนสวนจํากัด รวม
ท้ังสิ้นจํานวน 14 ราย แบงเปนการจดทะเบียนเลิกบริษัทจํากัด จํานวน 8 ราย โดยจดทะเบียนเลิกในเดือน
กรกฎาคม จํานวน 1 ราย เดอื นสงิ หาคม จํานวน 4 ราย และเดอื นกันยายน จํานวน 3 ราย การจดทะเบียนเลิก
หางหุน สวนจาํ กัด จาํ นวน 6 ราย โดยจดทะเบยี นเลิกในเดอื นกรกฎาคม จํานวน 1 ราย เดอื นสิงหาคม จํานวน
3 ราย และเดอื นกันยายน จาํ นวน 2 ราย

รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 11

4) ภาคอตุ สาหกรรม

ในไตรมาส 3 ป 2563 ภาคอุตสาหกรรมมีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีจดทะเบียนใหม จํานวน 12 แหง มี
ทุนจดทะเบียนจํานวน 2,307.76 ลานบาท โรงงานที่ไดรับอนุญาตขยายโรงงาน จํานวน 1 แหง มีทุนจะ
ทะเบียน จํานวน 41.70 ลานบาท และโรงงานท่ีแจงเลิกกิจการ จํานวน 1 แหง มีทุนจดทะเบียน จํานวน 0.93
ลา นบาท

ตารางที่ 4 เครื่องชีว้ ดั ภาคอตุ สาหกรรม

ดา นการผลิตภาคอุตสาหกรรม หนวย ก.ค.63 ไตรมาส 3 ป 2563 ก.ย.63
2 ส.ค.63 4
โรงงานอตุ สาหกรรมทีจ่ ดทะเบียนใหม แหง 6
ทุนจดทะเบียนใหม ลานบาท 1,823.26 389.50 95.00
โรงงานท่ีขยายกิจการ 1 - -
ทุนจดทะเบียนที่ขยายกิจการ แหง 0.93 - -
โรงงานที่แจงเลกิ กิจการ ลา นบาท - - 1
ทนุ จดทะเบยี นท่ีแจง เลกิ กิจการ - -
แหง 41.70
ลา นบาท

ทม่ี า : สํานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดสุพรรณบรุ ี (ขอ มูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

5) ดานเศรษฐกิจการคลัง

ผลการเบกิ จายเงนิ งบประมาณรายจา ยรวมเดือนสิงหาคม 2563 มีจํานวน 935.1 ลานบาท ขยายตัว
รอ ยละ 54.6 เมือ่ เทยี บกบั เดอื นเดยี วกนั ของปทีผ่ า นมา ขยายตวั ลดลงจากเดอื นกอนที่ขยายตัวรอยละ 66.6 ใน
เดือนกอนหนา เปนผลมาจากการเบิกจายรายจายลงทุน จํานวน 685.0 ลานบาท ขยายตัวถึงรอยละ 136.1
เนื่องจากโครงการชลประทานสุพรรณบุรี มีการเบิกจายเงินโครงการปรับปรุงงานชลประทานเพิ่มขึ้น และ
รายจายประจํา จํานวน 250.1 ลานบาท หดตัวรอ ยละ -20.5 เนื่องจากสํานักงานการศกึ ษาประถมศกึ ษาขั้น
พนื้ ฐานมกี ารเบิกจายเงินโครงการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาลดลง สําหรับผลการจัดเก็บรายไดใน
เดือนสงิ หาคม 2563 มจี ํานวน 292.1 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 47.2 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปทผ่ี าน
มา ขยายตัวตอเนอื่ งจากท่ีขยายตัวรอยละ 5.9 ในเดือนกอนหนา เนื่องจากสํานักงานสํานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ี
สุพรรณบรุ ี จัดเก็บรายไดเ พิ่มขน้ึ จากภาษเี งินไดบ คุ คลธรรมดา และภาษีเงินไดนิติบุคคล สํานักงานสรรพสามิต
พ้นื ทีส่ พุ รรณบุรี จดั เก็บรายไดเ พม่ิ ข้ึนจากภาษีสรุ า และภาษีเคร่อื งดม่ื และสวนราชการอ่ืนจัดเก็บรายไดเ พ่ิมขึ้น
ขณะทส่ี าํ นกั งานธนารักษพื้นที่สุพรรณบุรี จดั เก็บรายไดล ดลงจากคาตอบแทนการใชป ระโยชน และคา เชา ที่ดิน
ดา นดลุ เงินงบประมาณในเดอื นสิงหาคม 2563 ขาดดุลจํานวน 862.5 ลานบาท สง ผลตั้งแตตน ปขาดดุลท้งั สิ้น
5,894.8 ลานบาท

12 รายงานสถานการณแ รงงานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

ตารางที่ 5 เคร่อื งชีด้ านการคลัง (Fiscal)

เครอื่ งชดี้ านการคลงั (Fiscal) หนว ย ปง บประมาณ พ.ศ.2562 ปง บประมาณ พ.ศ. 2563
ดานการคลงั
ลา นบาท (FY) Q3/63 มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
รายไดจดั เกบ็ %yoy 292.1
ลา นบาท 2,422.8 521.1 208.6 190.9 47.2
สรรพากรพ้ืนที่ สพ. %yoy 255.8
ลานบาท 5.2 -24.9 -16.0 5.9 52.5
สรรพาสามติ พ้ืนที่ สพ. %yoy 1.8
ลานบาท 2,029.5 429.3 170.5 155.7 28.5
ธนารกั ษพ น้ื ที่ สพ. %yoy 0.8
ลา นบาท 3.3 -29.1 -21.8 4.5 -8.0
หนวยราชการอื่นๆ %yoy 33.7
20.2 4.6 1.5 1.4 17.8

9.8 -22.6 -16.7 22.7

22.8 2.0 0.8 0.8

5.2 -1.2 40.5 -22.6

350.3 85.2 35.8 33.0

17.0 4.7 29.0 13.9

ทมี่ า: คลงั จังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมลู ณ สิงหาคม 2563)

5.1 ดานรายไดเ กษตรกร

ในจังหวัดสุพรรณบุรีพบวามีแนวโนม ขยายตัว โดยขยายตัวรอยละ 65.4 เทียบกับเดือนเดยี วกันของป
กอน ซ่ึงไดรับอิทธิพลจากดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรม (ดานปริมาณ) ขยายตัวรอยละ 36.2 ตามปริมาณ
ผลผลิตขา ว เพิม่ ข้ึน สวนดัชนรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรม (ดานราคา) ขยายตัวรอยละ 21.4 ตามราคา ขาว
ออ ย มันสาํ ปะหลัง โคเน้ือ และ สกุ ร สงู ข้ึน

5.2 ดานสภาพคลองในระบบสถาบนั การเงนิ
สภาพคลอ งในระบบสถาบันการเงินพบวา ปริมาณเงินฝากขยายตัว โดยปริมาณเงินฝากรวม ขยายตัว
รอยละ 13.7 เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากสถาบันการเงินระดมเงินฝากเพื่อรักษาเสถียรภาพ
ทางการเงิน สวนปริมาณสินเช่ือรวม หดตัวรอยละ -1.9 เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน เนื่องจากสถาบัน
การเงินเพิ่มความระมดั ระวังในการปลอยสนิ เชื่อและมมี าตรการกาํ กบั ดแู ลการใหส ินเช่อื ทีเ่ ขมงวดขึ้น
5.3 เศรษฐกจิ ดา นอปุ ทาน
เศรษฐกิจดานอุปทานของจังหวัดสุพรรณบุรี พบวา มีสัญญาณหดตัวผลจากภาคอุตสาหกรรมหดตัว
โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม หดตัวรอ ยละ -33.3 เทยี บกบั เดือนเดียวกันของปกอน โดยดานการลงทุนหด
ตวั สะทอ นจากจํานวนโรงงาน และทุนจดทะเบยี นโรงงาน หดตวั รอ ยละ -41.1 และ -53.9 ตามลําดบั และดาน
การผลิตหดตัวเชนกัน สะทอนจากปริมาณการใชไฟฟาภาคอุตสาหกรรม หดตัวรอยละ -1.2 ภาคบริการหดตัว
โดยดัชนีผลผลิตภาคบริการ หดตัวรอยละ -3.3 เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน สะทอนจากรายไดจาก
นกั ทอ งเท่ียว หดตวั รอ ยละ -53.6 สง ผลใหร ายไดธรุ กิจโรงแรม หดตวั รอยละ -81.2 เน่ืองจากผลจากกระทบการ
แพรระบาดของโรคโควิด-19 ทําใหจํานวนนักทองเท่ียวลดลง ภาคเกษตรกรรมขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตภาค
เกษตรกรรม ขยายตัวรอยละ 36.2 เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน ผลจากปริมาณผลผลติ ขาว ขยายตัวรอย
ละ 46.4 ประกอบกับผลผลิตภาคปศุสัตวขยายตัว โดยจํานวนอาชญาบัตรสุกร และโคเนื้อ ขยายตัวรอยละ
11.8 และ 5.2 ตามลําดับ

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 13

ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกจิ ดานอปุ ทาน (Supply side)

เครอ่ื งช้เี ศรษฐกจิ ดา นอปุ ทาน ป 2563 ส.ค. YTD
(Supply Side) ป 2562 Q2 ม.ิ ย. ก.ค. 36.2 -32.3
(สดั สว นตอ GPP) -33.3 -25.7
9.6 -55.4 -25.9 -1.7 -3.3 -27.3
ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรม
(%yoy) 35.2% -18.2 -22.8 -26.0 -33.7

ดชั นผี ลผลิตภาคอตุ สาหกรรม 5.9 -40.5 -22.1 -42.5
(%yoy) 17.9%

ดัชนีผลผลิตภาคบรกิ าร
(%yoy) 47.0%

ทม่ี า : คลงั จังหวดั สพุ รรณบุรี (ขอ มูล ณ สงิ หาคม 2563)

5.4 เศรษฐกจิ ดา นอปุ สงค

เศรษฐกิจดา นอปุ สงคของจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบวา มสี ัญญาณขยายตัว ผลจากการบริโภคภาคเอกชน
ขยายตัว โดยดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวรอยละ 11.1 เทียบกับเดอื นเดยี วกันของปกอน เนื่องจากการ
บรโิ ภคหมวดสินคา ไมคงทนขยายตัว สะทอนจากภาษีมูลคาเพ่ิมหมวดขายสง ขายปลีก ขยายตัวรอ ยละ 20.2 การ
ใชจ า ยภาครฐั ขยายตัว โดยดัชนกี ารใชจ ายภาครฐั ขยายตัวรอ ยละ 44.7 เทยี บกบั เดือนเดียวกันของปกอน โดย
การเบกิ จายรายจายลงทุน ขยายตวั รอยละ 136.1 จากการติดตามเรงรัดการใชจายงบประมาณรายจายของ
จังหวัด สว นการลงทนุ ภาคเอกชนหดตวั โดยดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน หดตัวรอ ยละ -1.0 เทียบกับเดอื นเดียวกัน
ของปกอน จากปจจัยลบของสินเช่ือเพ่ือการลงทุน หดตัวรอยละ -1.9 เน่ืองจากสถาบันการเงินเพ่ิมความ
ระมดั ระวังในการปลอยสนิ เชอ่ื และมมี าตรการกาํ กับดูแลการใหสินเชอ่ื ทเี่ ขมงวดขึน้

ตารางที่ 7 เคร่ืองชีเ้ ศรษฐกจิ ดานอปุ สงค (Demand side)

เครือ่ งชีเ้ ศรษฐกจิ ดา นอุปสงค ป ป 2563 ส.ค. YTD
(Demand Side) 2562 Q2 มิ.ย. ก.ค. 11.1 1.5
-1.0 -0.4
ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชน 5.6 -8.5 13.7 -3.4 44.7 8.3
(%yoy)

ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน -2.5 1.4 2.5 0.0
(%yoy)

ดชั นีการใชจ า ยภาครัฐ 3.5 18.6 54.2 39.9
(%yoy)

ท่มี า : คลังจงั หวดั สุพรรณบุรี (ขอมูล ณ สงิ หาคม 2563)

****************************************

14 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

สถานการณแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบุรี

สถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรีประจําไตรมาสที่ 3 ป 2563 ชวงเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2563
ขอนาํ เสนอขอมูลในประเดน็ ตา งๆ ตามลาํ ดับ คอื

1) กําลงั แรงงาน การมีงานทาํ การวา งงาน
2) การสง เสรมิ การมงี านทํา
3) การพฒั นาศกั ยภาพแรงงาน
4) การคุม ครองแรงงานและสวสั ดกิ าร
5) การประกันสังคม
6) ปญ หาดานแรงงานท่สี าํ คญั
7) ผลการดาํ เนินงานที่สาํ คัญตามนโยบายรฐั บาล/นโยบายกระทรวงแรงงาน
8) ประเด็นอืน่ ๆ ท่ีสาํ คัญ

1) กําลังแรงงาน การมีงานทํา การวางงาน

 โครงสรา งประชากร
จังหวัดสุพรรณบุรีมีประชากรรวมทั้งหมด จํานวน 839,509 คน ( ณ กันยายน 2563) โดยจังหวัดไดทําการ

สาํ รวจสภาวะการทํางานของประชากรในจังหวัด พบวา จงั หวดั สุพรรณบุรีมีประชากรผูอยูในวัยทํางาน (ผูม ีอายุ 15 ป
ขึ้นไป) ท้ังหมด จํานวน 724,052 คน คิดเปนรอยละ 85.74 และผูไมอยูในวัยทํางาน (ผูมีอายุต่ํากวา15 ป) มีจํานวน
120,424 คน คดิ เปนรอยละ 14.26 ของประชากรรวม ซ่ึงประชากรผูอ ยูในวัยทํางานเปนผูอยูในกําลังแรงงาน จํานวน
446,771 คน คิดเปนรอ ยละ 61.70 และเปนผไู มอยูในกําลังแรงงาน จํานวน 277,281 คน คิดเปนรอยละ 38.30 ของ
ประชากรผูอยใู นวัยทํางาน

แผนภูมทิ ่ี 1 โครงสรางประชากรจังหวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 2 ป 2563

ผูอยูในวัยทาํ งาน (อายุ 15 ปขนไป)
724,052 คน

ผูอยูในกําลังแรงงาน ผูไมอ ยูในกาํ ลงั แรงงาน
446,771 คน 277,281 คน

ผมู ีงานทาํ ทาํ งานบา น
435,505 คน 66,573 คน

ผูว า งงาน เรยี นหนงั สอื
3,446 คน 41,367 คน

ผรู อฤดูกาล อ่นื ๆ (เด็ก ชรา และคนทไี่ มสามารถทํางานได)
7,820 คน 169,341 คน

ท่ีมา : สํานกั งานสถิตจิ ังหวัดสุพรรณบุรี (ขอมลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เนอ่ื งจากขอมูลไตรมาส 3 ป 2563 อยรู ะหวางการสํารวจ)

รายงานสถานการณแรงงานจังหวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 15

ในกลมุ ผอู ยูในวยั ทํางานมีผูอยูในกําลังแรงงาน จํานวน 446,771 คน จําแนกเปนผูมีงานทํา จํานวน 435,505
คน คิดเปนรอยละ 97.48 ขณะท่ีมีผูวางงานอยู จํานวน 3,446 คนคิดเปน รอยละ 0.77 และผูรอฤดูกาล จํานวน
7,820 คน คิดเปน รอยละ 1.75 ของผอู ยใู นกาํ ลังแรงงานทั้งหมด ซ่งึ พบวาในไตรมาสน้ีมีจํานวนผูวางงานและผมู งี านทํา
มีจํานวนลดลงจากไตรมาสทผี่ าน แตผูร อฤดูกาลมจี ํานวนเพม่ิ ขน้ึ เนื่องจากเกิดภาวะภัยแลง จึงทําใหประชาชนสามารถ
ประกอบอาชีพการเกษตรได

อัตราสวนการมีงานทําของผูอยูในกําลังแรงงาน ซ่ึงคํานวณจากผูมีงานทําตอผูอยูในกําลังแรงงาน คิดเปน
รอ ยละ 97.48 กลา วคือ ผอู ยูใ นกําลงั แรงงานจาํ นวน 1,000 คน จะเปนผมู งี านทาํ ประมาณ 975 คน ซ่ึงอัตราสวนของผู
มีงานทําในไตรมาสน้ี มีสัดสวนลดลงจากไตรมาสที่ผา นมา (ไตรมาส 1/2563 มีอัตราสวนการมีงานทํา คิดเปนรอยละ
98.42) และเม่ือพิจารณาผูมีงานทําระหวางเพศชายกับเพศหญิง พบวา เพศชายมีอัตราสวนการมีงานทํามากกวาเพศ
หญิง โดยเพศชายมีอัตราสวนการมีงานทําคิดเปนรอยละ 55.51 (จํานวน 241,732 คน) สวนเพศหญิงมีอัตราสวนการมี
งานทาํ คดิ เปนรอยละ 44.49 (จาํ นวน 193,773 คน) ของผมู งี านทํา

ตารางท่ี 8 ประชากรจงั หวดั สพุ รรณบุรี จาํ แนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ

หนวย : คน

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญงิ

ประชากรรวม 844,476 407,983 436,493
ประชากรอายุ 15 ปข ึ้นไป 724,052 344,288 379,764
ผอู ยูในกาํ ลงั แรงงาน 446,771 247,358 199,413
-ผูม งี านทาํ 435,505 241,732 193,773
-ผูวางงาน 3,446 1,495 1,951
-ผรู อฤดกู าล 7,820 4,132 3,688
ผไู มอยใู นกําลังแรงงาน 277,281 96,930 180,351
-ทาํ งานบา น 66,573 3,007 63,566
-เรยี นหนังสอื 41,367 15,682 25,685
-อ่นื ๆ (เด็กคนชรา/ไมสามารถ 169,341 78,241 91,100
ทาํ งานได)
ประชากรอายตุ าํ่ กวา 15ป 120,424 63,695 56,729
อัตราการจา งงานตอ กาํ ลงั แรงงาน 97.48 97.73 97.17
อัตราการวา งงาน 0.77 0.60 0.98

ท่ีมา : สาํ นักงานสถิตจิ ังหวัดสุพรรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เน่อื งจากขอ มลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยรู ะหวางการสํารวจ)

หมายเหตุ : 1. อัตราการจางงานตอ กําลังแรงงานจังหวัด= ผมู ีงานทําในจังหวัด x 100

ผูอยูใ นกําลงั แรงงานในจังหวดั
2. อตั ราการวางงานจงั หวัด = ผวู างงานในจังหวดั x 100

ผูอยใู นกําลังแรงงานจงั หวัด

 จํานวนผมู ีงานทํา
สําหรับไตรมาส 2 ป 2563 เม่ือพิจารณาผูมงี านทําจําแนกตามอาชีพเรียงลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําดับ

แรก พบวา อาชีพผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการประมงมีจํานวนสูงสุดเปนลําดับแรกจํานวน
156,895 คน คิดเปนรอยละ 36.03 (เพศชาย 95,424 คน เพศหญิง 61,471 คน) รองลงมาเปน อาชีพพนักงานบริการและ
พนักงานในรานคา และตลาด จํานวน 86,103 คน คิดเปนรอยละ 19.77 (เพศชาย 34,885 คน เพศหญิง 51,218 คน)
อาชีพขนั้ พ้ืนฐานตางๆ ในดานการขายและการใหบริการ จํานวน 72,120 คน คดิ เปน รอยละ 16.56 (เพศชาย 37,426 คน
เพศหญงิ 34,694 คน) อาชพี ผูปฏิบัติงานดา นความสามารถทางฝมือและธุรกิจอ่ืนๆท่ีเกี่ยวของ จํานวน 48,216 คน คิดเปน

16 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

รอยละ 11.07 (เพศชาย 35,870 คน เพศหญิง 12,346 คน) และอาชีพผูปฏิบัติการโรงงานและเคร่ืองจักรและผูปฏิบัติงาน
ดานการประกอบการ จํานวน 25,943 คน คิดเปน รอยละ 5.96 (เพศชาย 20,225 คน เพศหญิง 5,718 คน) ของผูมีงานทํา
ทงั้ หมด ตามลําดับ

แผนภูมทิ ี่ 2 ผูมีงานทําจงั หวัดสุพรรณบรุ จี ําแนกตามอาชีพ (5 ลาํ ดบั แรก) ไตรมาส 2 ป 2563

40 36.03

30 19.77 16.56
11.07
20

10 5.96

0

ที่มา : สาํ นักงานสถิติจังหวัดสพุ รรณบุรี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เนือ่ งจากขอ มลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยรู ะหวางการสํารวจ)

ผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษาที่สําเร็จพบวา ผูที่ทํางานสวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับ
ประถมศกึ ษา จํานวน 134,267 คน คิดเปนรอ ยละ 30.83 (เพศชาย 76,605 คน เพศหญงิ 57,662 คน) ระดับตํ่ากวา
ประถมศึกษา จํานวน 99,766 คน คิดเปนรอยละ 22.91 (เพศชาย 49,388 คน เพศหญิง 50,378 คน) ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน จํานวน 71,056 คน คิดเปนรอ ยละ 16.32 (เพศชาย 48,537 คน เพศหญงิ 22,519 คน) ระดับ

มหาวิทยาลัย จํานวน 64,967 คน คิดเปนรอยละ 14.92 (เพศชาย 29,785 คน เพศหญิง 35,182 คน) ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จํานวน 56,913 คน คิดเปนรอยละ 13.07 (เพศชาย 33,617 คน เพศหญิง 23,296 คน) ไมมี
การศึกษา จํานวน 6,281 คน คิดเปนรอยละ 1.44 (เพศชาย 2,653 คน เพศหญงิ 3,628 คน) และไมท ราบการศึกษา
จาํ นวน 2,255 คน คดิ เปน รอ ยละ 0.52 (เพศชาย 1,147 คน เพศหญงิ 1,108 คน) ของผูมีงานทําท้ังหมดตามลาํ ดับ ซึ่ง

กําลงั แรงงานสวนใหญยงั คงเปน แรงงานไรฝมอื และแรงงานกึ่งฝมือ

แผนภูมทิ ี่ 3 ผมู ีงานทาํ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี จาํ แนกตามระดับการศึกษาไตรมาส 2 ป 2563

ไมทราบการศึกษา, ไมม ีการศกึ ษา,
0.52 1.44

มธั ยมศกึ ษาตอน มหาวทิ ยาลัย, ตํ่ากวา
ปลาย, 13.07 14.92 ประถมศกึ ษา,

22.91

มธั ยมศกึ ษา ประถมศึกษา,
ตอนตน , 30.83
16.32

ท่มี า : สาํ นักงานสถิตจิ ังหวัดสพุ รรณบรุ ี (ขอมลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เน่ืองจากขอมลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยูร ะหวางการสํารวจ)

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 17

ผูม ีงานทําจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา กําลังแรงงานในภาคเกษตรไดแก เกษตรกรรม การปา
ไมและการประมง จํานวน 181,377 คิดเปนรอยละ 41.65 (เพศชาย 107,159 คน เพศหญงิ 74,218 คน) และนอก
ภาคเกษตร (ภาคอตุ สาหกรรม) จํานวน 254,128 คน คิดเปนรอยละ 58.35 (เพศชาย จํานวน 134,573 คน เพศหญิง
จํานวน 119,555 คน) และเม่ือพิจารณาประเภทอุตสาหกรรม (นอกภาคเกษตร) เรียงลําดับจากมากไปหานอย 5
ลาํ ดับแรก พบวา การขายสงการขายปลกี มีจํานวนสูงสุดเปนลําดบั แรกจํานวน 67,603 คน คิดเปนรอยละ 15.52 (เพศ
ชาย 34,507 คน เพศหญิง 33,096 คน) รองลงมาเปนการผลิต จํานวน 48,653 คน คิดเปนรอยละ 11.17 (เพศชาย
25,141 เพศหญิง 23,512 คน) กิจกรรมโรงแรม และอาหาร จํานวน 28,916 คน คิดเปนรอยละ 6.64 (เพศชาย
11,262 คน เพศหญิง 17,654 คน) การกอสราง จํานวน 27,639 คน คิดเปนรอยละ 6.35 (เพศชาย 22,509 คนเพศ
หญิง 5,130 คน) และกิจกรรมบริการดา นอื่นๆ จํานวน 23,817 คน คดิ เปนรอยละ 5.47 (เพศชาย 15,269 คน เพศ
หญงิ 8,548 คน) ของผมู ีงานทําทงั้ หมดตามลําดับ

แผนภมู ทิ ี่ 4 ผูมีงานทาํ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
จาํ แนกตามประเภทอตุ สาหกรรมนอกภาคเกษตร (5 ลําดบั แรก) ไตรมาส 2 ป 2563

18 15.52
16

14 11.17
12

10 6.64 6.35 5.47

8
6

4

2

0

ที่มา : สาํ นักงานสถิติจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เน่ืองจากขอมูลไตรมาส 3 ป 2563 อยูระหวางการสาํ รวจ)

ผูมีงานทําจําแนกตามสถานภาพการทํางาน พบวากําลังแรงงานสวนใหญมีสถานภาพการทํางานสวนตัว

จํานวน 160,156 คน คิดเปน รอยละ 36.77 (เพศชาย 101,355 คน เพศหญิง 58,801 คน) รองลงมาเปน ลูกจางเอกชน

จาํ นวน 137,614 คน คิดเปนรอยละ 31.60 (เพศชาย 81,346 คน เพศหญิง 56,268 คน) ชวยธุรกิจครัวเรือน จํานวน

89,600 คน คิดเปนรอ ยละ 20.57 (เพศชาย 36,888 คน เพศหญิง 52,712 คน) ลกู จา งรัฐบาล จํานวน 38,984 คน คิด

เปนรอ ยละ 8.95 (เพศชาย 15,346 คน เพศหญิง 23,638 คน) และนายจาง จํานวน 8,713 คน คิดเปนรอยละ 2.00

(เพศชาย 6,797 คน เพศหญิง 1,916 คน) ของผมู งี านทําท้ังหมดตามลาํ ดับ

แผนภูมทิ ี่ 5 ผูมีงานทาํ จังหวดั สพุ รรณบุรี จําแนกตามสถานภาพการทํางานไตรมาส 2 ป 2563

ชวยธรุ กิจครวั เรอื น, การรวมกลมุ , 0.10 นายจา ง, 2.00 ลกู จา ง
20.57 รัฐบาล,
8.95

ทํางานสว นตวั , ลกู จา งเอกชน,
36.77 31.60

ท่มี า : สํานักงานสถิติจงั หวัดสพุ รรณบุรี (ขอ มูล ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เนือ่ งจากขอมลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยรู ะหวางการสํารวจ)

18 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

 ผูวา งงาน

จังหวัดสุพรรณบุรีมีผูวางงาน จํานวน 3,446 คน คดิ เปน รอยละ 0.77 ของผูอยูในกําลังแรงงาน (ผูอยูในกําลัง
แรงงาน จํานวน 446,771 คน) ซงึ่ ไตรมาสน้มี อี ตั ราการวา งงานลดลงจากไตรมาสที่ผานมา (ไตรมาส 1 ป 2563 มีอัตรา
การวางงานเทากับรอ ยละ 0.91) โดยผูวางงานเปนเพศชาย จํานวน 1,495 คน คิดเปนรอยละ 43.38 และเปนเพศหญิง
จาํ นวน 1,951 คน คิดเปนรอยละ 56.62 คนของจาํ นวนผูวางงานท้ังหมด

หมายเหตุ: อตั ราสวนการวา งงาน = ผูวางงานในจงั หวัด x 100
กําลังแรงงานของจังหวดั

อตั ราสวนการวา งงานแตละเพศ= ผวู างงานในจงั หวดั แตล ะเพศ x 100
ผวู า งงานในจังหวดั

แผนภูมทิ ี่ 6 แสดงผูว างงานจังหวดั สุพรรณบุรี จาํ แนกตามเพศ ไตรมาส 2 ป 2563

ชาย, 43.38

หญงิ , 56.62

ทม่ี า : สํานกั งานสถิติจงั หวัดสพุ รรณบุรี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 2 ป 2563 เนอ่ื งจากขอ มลู ไตรมาส 3 ป 2563 อยูระหวางการสํารวจ)

 แรงงานนอกระบบ

ผลการสํารวจแรงงานนอกระบบป 2562 พบวา ในภาพรวมของประเทศมีแรงงานนอกระบบ จํานวน 20.4
ลานคน คิดเปนรอยละ 54.4 ของผูมีงานทาํ ท้ังหมด (จํานวน 37.5 ลา นคน) เปนเพศชาย รอยละ 55.9 และเพศหญิง
รอ ยละ 44.1

ผูมีงานทําที่อยูในแรงงานนอกระบบของจังหวัดสุพรรณบุรีป 2562 มีจํานวน 339,264 คน คิดเปนรอยละ
71.54 ของผมู ีงานทํา (ผูมีงานทํา จํานวน 474,251 คน) เมื่อเทียบกับปท่ผี านมาลดลง จํานวน 19,718 คน (จํานวน
แรงงานนอกระบบจังหวัดสุพรรณบุรีป 2561 เทากับ 358,982 คน) เปนเพศชาย จํานวน 197,804 คน คิดเปนรอยละ
58.30 และเพศหญิง จาํ นวน 141,460 คน คดิ เปน รอยละ 41.70 จากผลสํารวจ พบวา จาํ นวนแรงงานนอกระบบสวน
ใหญจะอยูในภาคเกษตร จํานวน 208,950 คน คิดเปนรอยละ 61.59 และนอกภาคเกษตร จํานวน 130,314 คน คิด
เปนรอยละ 38.41 เนอ่ื งจากจังหวัดสุพรรณบุรีประชากรสวนใหญประกอบอาชีพการเกษตร และเม่ือพิจารณาแรงงาน
นอกภาคเกษตรโดยจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมเรยี งลําดับจากมากไปหานอยพบวา แรงงานนอกระบบประเภท
อุตสาหกรรมการขายสงการขายปลีกมีจํานวนสูงสุดเปนลําดับแรก มีจํานวน 45,065 คน คิดเปนรอยละ 13.28 (เพศ
ชาย 24,201 คน เพศหญิง 20,864 คน) รองลงมาเปนกิจกรรมบรกิ าร อื่นๆ จํานวน 25,825 คน คิดเปนรอยละ 7.61
(เพศชาย 18,785 คน เพศหญิง 7,040 คน) ท่ีพักแรมและบรกิ ารดานอาหาร จํานวน 21,408 คน คิดเปนรอยละ 6.31
(เพศชาย 8,480 คน เพศหญิง 12,928 คน) การผลิต จํานวน 15,806 คิดเปนรอ ยละ 4.66 (เพศชาย 5,487 คน เพศ
หญิง 10,319 คน) การกอสราง จํานวน 11,656 คน คิดเปนรอยละ 3.44 (เพศชาย 9,032 คน เพศหญิง 2,624 คน)
การขนสง จํานวน 2,548 คน คิดเปนรอยละ 0.75 (เพศชายทั้งหมด) ศิลปะ บันเทิง จํานวน 2,217 คน คิดเปนรอยละ
0.65 (เพศชาย 466 คน เพศหญงิ 1,751 คน) กิจกรรมทางวิชาชีพ จํานวน 1,345 คน คิดเปนรอ ยละ 0.40 (เพศชาย
ทัง้ หมด) การศึกษา จํานวน 1,231 คน คิดเปนรอยละ 0.36 (เพศหญิงท้ังหมด) กิจกรรมการบริหาร จํานวน 1,184 คน
คิดเปนรอยละ 0.35 (เพศชาย 688 คน เพศหญิง 496 คน) อสังหาริมทรพั ย จํานวน 974 คน คิดเปนรอยละ 0.29

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 19

(เพศชาย 480 คน เพศหญิง 494 คน) กจิ กรรมการเงิน จํานวน 775 คน คิดเปนรอยละ 0.23 (เพศหญิงท้ังหมด) และ
การจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล จํานวน 280 คน คิดเปนรอยละ 0.08 (เพศหญิงท้ังหมด) ของผูมีงานทําที่อยูใน
แรงงานนอกระบบ ตามลําดบั

แผนภมู ทิ ี่ 7 ผูม ีงานทาํ ที่อยใู นแรงงานนอกระบบจังหวัดสพุ รรณบรุ ี จาํ แนกตามอุตสาหกรรม

20.00 13.28
10.00
4.66 3.44 6.31 7.61
0.00 0.75 0.23 0.29 0.40 0.35 0.36 0.65 0.08

ท่ีมา : สํานักงานสถิตจิ งั หวัดสพุ รรณบรุ ี (ขอ มูล ณ ป 2562 เนอ่ื งจากมีการสาํ รวจขอ มลู ปละครงั้ )

เม่ือพิจารณาจําแนกตามอาชีพเรียงลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําพบวา แรงงานนอกระบบมีการประกอบ
อาชพี ดานเกษตรและประมงสูงสดุ เปน ลาํ ดบั แรก มีจํานวน 188,512 คน คิดเปนรอยละ 55.56 (เพศชาย 112,569 คน
เพศหญิง 75,943 คน) รองลงมาเปนอาชีพพนักงานบริการ จํานวน 62,910 คน คิดเปนรอยละ 18.54 (เพศชาย
26,501 คน เพศหญิง 36,409 คน) อาชีพพื้นฐานตางๆจํานวน 48,926 คน คิดเปนรอยละ 14.42 (เพศชาย 33,194
คน เพศหญิง 15,732 คน) อาชีพดานความสามารถทางฝมือ จํานวน 22,378 คน คิดเปนรอยละ 6.60 (เพศชาย
13,694 คน เพศหญิง 8,684 คน) และผูปฏิบัติงานโรงงานเคร่ืองจักร จํานวน 9,161 คน คิดเปนรอยละ 2.70 (เพศชาย
6,918 คน เพศหญงิ 2,243 คน) ของผมู งี านทําทอี่ ยูใ นแรงงานนอกระบบ ตามลาํ ดบั

แผนภมู ิที่ 8 ผูมีงานทําทีอ่ ยใู นแรงงานนอกระบบจงั หวดั สุพรรณบรุ ี จําแนกตามอาชีพ (5 ลําดับแรก)

60.00 55.56

40.00

20.00 18.54
14.42

0.00 6.60 2.70

ท่มี า : สํานกั งานสถิตจิ งั หวัดสุพรรณบรุ ี (ขอมูล ณ ป 2562 เนอ่ื งจากมกี ารสํารวจขอ มลู ปล ะครงั้ )

20 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

เมื่อพิจารณาจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา โดยสวนใหญแรงงานนอกระบบจะมีการศึกษาอยูใน
ระดับตา่ํ กวาประถมศึกษา จํานวน 114,422 คน คิดเปนรอยละ 33.73 (เพศชาย 59,267 คน เพศหญิง 55,155
คน) รองลงมาเปนระดับประถมศึกษาจํานวน 100,387 คน คิดเปนรอยละ 29.59 (เพศชาย 60,355 คน เพศ
หญิง 40,032 คน) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 61,687 คน คิดเปนรอยละ 18.18 (เพศชาย 40,446 คน
เพศหญิง 21,241 คน)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 36,396 คน คิดเปนรอยละ 10.73 (เพศชาย 22,384
คน เพศหญิง 14,012 คน) ระดับอุดมศึกษา จาํ นวน 20,279 คน คิดเปนรอยละ 5.98 (เพศชาย 12,067 คนเพศ
หญิง 8,212 คน) ไมมีการศึกษา จํานวน 3,689 คนคิดเปนรอยละ 1.09 (เพศชาย 1,303 คน เพศหญิง 2,386
คน) และไมทราบการศึกษา จํานวน 2,404 คน คิดเปนรอยละ 0.71 (เพศชาย 1,982 คน เพศหญิง 422 คน)
ของผูมีงานทาํ ท่ีอยูในแรงงานนอกระบบตามลาํ ดับ

แผนภูมทิ ี่ 9 ผมู ีงานทําทีอ่ ยูใ นแรงงานนอกระบบจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จําแนกตามระดบั การศกึ ษา

ต่าํ กวาประถมศกึ ษา ประถมศึกษา
33.73% 29.59%

ไมมกี ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน
1.09% 18.18%

ไมทราบ 0.71อ%ดุ มศกึ ษา 5.98%

มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลาย 10.73%

ที่มา : สํานักงานสถิตจิ งั หวัดสุพรรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ป 2562 เน่อื งจากมีการสํารวจขอมลู ปล ะคร้งั )

และเมื่อพิจารณาจําแนกตามชวงอายุ พบวา โดยสวนใหญแรงงานนอกระบบจะมีอายุ 60 ปขึ้นไป มี
จํานวน 63,771 คน คิดเปนรอยละ 18.80 (เพศชาย 37,310 คน เพศหญิง 26,461 คน) รองลงมาคืออายุ
ระหวาง 45–49 ป จํานวน 49,699 คน คิดเปนรอยละ 14.65 (เพศชาย 26,782 คน เพศหญิง 22,917 คน) ชวง
อายุระหวาง 50-54 ป จาํ นวน 46,368 คน คิดเปนรอยละ 13.67 (เพศชาย 25,776 คน เพศหญิง 20,592 คน)
ชวงอายุระหวาง 55-59 ป จํานวน 41,603 คน คิดเปนรอยละ 12.26 (เพศชาย 19,929 คน เพศหญิง 21,674
คน) ชวงอายุระหวาง 40-44 ป จํานวน 35,204 คน คิดเปนรอยละ 10.38 (เพศชาย 19,932 คน เพศหญิง
15,272 คน) ชวงอายุระหวาง 30-34 ปจํานวน 27,913 คน คิดเปนรอยละ 8.23 (เพศชาย 19,575 คน เพศ
หญิง 8,338 คน) ชวงอายุระหวาง 25-29 ป จํานวน 26,089 คน คิดเปนรอยละ 7.69 (เพศชาย 16,116 คน
เพศหญิง 9,973 คน) ชวงอายุระหวาง 35-39 ป จํานวน 25,960 คน คิดเปนรอยละ 7.65 (เพศชาย 16,075 คน
เพศหญิง 9,885 คน) ชวงอายุระหวาง 20-24 ปจํานวน 16,501 คนคิดเปนรอยละ 4.86 (เพศชาย 11,612 คน
เพศหญิง 4,889 คน) และชวงอายุระหวาง 15-19 ป จํานวน 6,156 คน คิดเปนรอยละ 1.81 (เพศชาย 4,697
คน เพศหญิง 1,459 คน) ของผูมีงานทาํ ที่อยูในแรงงานนอกระบบตามลําดับ

จากขอมูลดังกลาว พบวากลุมแรงงานนอกระบบเปนแรงงานผูสูงอายุเพิ่มมากขึ้นเขาสูสังคมผูสูงอายุ
และอยูภาคเกษตรกรรม

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 21

แผนภมู ทิ ี่ 10 ผูมีงานทําทอ่ี ยูใ นแรงงานนอกระบบจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี จาํ แนกตามชวงอายุ

15-19 ป 1.81% 20-24 ป 4.86% 25-29 ป 7.69%

60 ปข ้นึ ไป 30-34 ป
18.80% 8.23%

55-59 ป 35-39 ป
12.26% 7.65%

50-54 ป 45-49 ป 40-44 ป
13.67% 14.65% 10.38%

ท่ีมา : สาํ นักงานสถิติจังหวัดสุพรรณบรุ ี (ขอมูล ณ ป 2562 เนือ่ งจากมีการสาํ รวจขอ มูลปล ะครั้ง)

2) การสง เสรมิ การมีงานทํา

2.1 การบริการจดั หางานภาครัฐ

ภารกิจหลักของกระทรวงแรงงาน คือการสงเสริมใหป ระชากรมงี านทํา ซ่งึ ดําเนินการโดยสํานักงานจัดหางาน

จังหวัดสุพรรณบุรี การสงเสริมการมีงานทําในรูปแบบการจัดหางาน มีการหางานท้ังในประเทศและตางประเทศ โดย
การจัดหางานในจังหวัดสุพรรณบุรีในชวงไตรมาส 3 ป 2563 (กรกฎาคม-กันยายน 2563) มีตําแหนงงานวางที่แจง
ผา นสํานักงานจัดหางานจังหวัดสุพรรณบุรีจํานวน 3,553 อัตรา เพ่ิมข้ึนจากไตรมาสท่ีผานมา จํานวน 2,926 อัตรา
(ไตรมาส 2 ป 2563 มีตําแหนง งานวา ง 627 อัตรา) เมอื่ เปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมาเพิ่มข้ึย จาํ นวน

2,947 อัตรา (ไตรมาส 3 ป 2562 มตี าํ แหนงงานวาง จํานวน 606 อัตรา) สว นผลู งทะเบียนสมัครงาน มจี ํานวน 507
คน เพ่มิ ข้นึ จากไตรมาสทีผ่ า นมา จาํ นวน 180 คน (ไตรมาส 2 ป 2563 มีผูลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 327 คน) เม่ือ
เปรยี บเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปที่ผานมาเพ่ิมขึ้น จํานวน 152 คน (ไตรมาส 3 ป 2562 มีผูลงทะเบยี นสมัครงาน
จํานวน 355 คน) และการบรรจงุ าน มจี ํานวน 595 คน เพิ่มข้ึนจากไตรมาสที่ผานมา จํานวน 199 คน (ไตรมาส 2 ป

2563 มีการบรรจุงาน จํานวน 396 คน) และเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปท่ีผานมาเพิ่มข้ึน จํานวน 141
คน (ไตรมาส 3 ป 2562 มีผบู รรจุงาน จาํ นวน 454 คน) จะเห็นไดวาในไตรมาสนี้มีตําแหนง งานวาง ผูลงทะเบียนสมัคร
งาน และการบรรจงุ านมจี าํ นวนเพม่ิ ข้ึนจากไตรมาสท่ผี า น

แผนภมู ทิ ่ี 11 ตาํ แหนง งานวาง / ผลู งทะเบียนสมัครงาน / การบรรจุงานจงั หวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

4,000 3,553
3,500

3,000

2,500

2,000

1,500

1,000 627 327 507 396 595
500

0 บรรจุงาน (คน)
ตําแหนง งานวา ง (อตั รา) ผลู งทะเบยี นสมัครงาน (คน)

ไตรมาส 1 / 63 ไตรมาส 2 / 63

ทมี่ า : สํานักงานจดั หางานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

22 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

สําหรับตําแหนง งานวางไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามเพศ พบวา มีตาํ แหนงงานวาง จํานวน 3,553อัตรา
แยกเปนเพศชาย จํานวน 428 อัตรา คิดเปนรอยละ 12.05 เพศหญิง จํานวน 97 อัตรา คดิ เปนรอยละ 2.73 และไม
ระบเุ พศ จํานวน 3,028 อัตรา คดิ เปน รอ ยละ 85.22 ของตาํ แหนง งานวางทงั้ หมด จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา การไม
ระบุเพศของตําแหนงงานวางมีจํานวนสูงกวาการระบุเพศ ซ่ึงเปนผลดีตอผูลงทะเบียนสมัครงาน โดยจะทําใหผูสมัคร
งานมีโอกาสเลือกตําแหนงงานไดมากกวาการระบุเพศ และสวนสถานประกอบการหรือนายจางก็มีโอกาสในการ
คัดเลอื กบคุ คลเขาทํางานไดม ากกวา เชน กัน

แผนภูมทิ ี่ 12 ตําแหนงงานวางจังหวดั สุพรรณบุรี จาํ แนกตามเพศไตรมาส 3 ป 2563

ชาย 12.05% หญงิ 2.73%

ไมร ะบเุ พศ 85.22%

ทมี่ า : สํานักงานจดั หางานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สวนผูลงทะเบียนสมัครงานพบวามีผูลงทะเบียนสมัครงาน จํานวน 507 คน เปนเพศชาย จํานวน 266 คน คิด
เปนรอยละ 52.47 และเพศหญิง จํานวน 241 คน คิดเปนรอยละ 47.53 ของผูลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมดจากขอมูล
ขา งตนพบวา เพศชายมีผูลงทะเบียนสมัครงานมากกวาเพศหญิง และการบรรจุงานพบวา มีผูไดร ับการบรรจุงานจํานวน
595 คนเปน เพศชาย จาํ นวน 295 คน คิดเปน รอ ยละ 49.58 และเพศหญิง จาํ นวน 300 คน คิดเปนรอยละ 50.42 ของผู
ที่ไดร ับการบรรจงุ านท้ังหมด จะเหน็ วา เพศหญงิ ไดร บั การบรรจงุ านมากกวาเพศชาย

เมื่อพิจารณาถึงอัตราสวนการบรรจุงานตอตําแหนงงานวาง คดิ เปนรอยละ 16.75 ซึ่งลดลงจากไตรมาสทผ่ี าน
มา (ไตรมาส 2 ป 2563 อัตราสว นการบรรจุงานตอตําแหนงงานวาง เทากับรอยละ 63.16) และอัตราสวนการบรรจุงาน
ตอผูลงทะเบียนสมัครงาน คิดเปนรอยละ 117.36 ซ่ึงลดลงจากไตรมาสทผ่ี านมา (ไตรมาส 2 ป 2563 อัตราสวนการ
บรรจุงานตอผลู งทะเบยี นสมคั รงาน เทากับรอยละ 121.10)

แผนภูมทิ ่ี 13 ตําแหนง งานวาง/ ผูลงทะเบยี นสมคั รงาน/การบรรจงุ านจังหวดั สพุ รรณบรุ ี
จําแนกตามเพศ ไตรมาส 3 ป 2563

4000
3,028

3000

2000

1000 428 97 266 241 - 295 300 -
บรรจงุ าน (คน)
0

ตาํ แหนงงานวาง (อตั รา) ผูลงทะเบียนสมคั รงาน (คน)
ชาย หญงิ ไมร ะบุ

ที่มา : สํานกั งานจดั หางานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 23

สาํ หรับตําแหนงงานวา ง ไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามระดบั การศึกษา พบวา ระดับมัธยมศกึ ษามีจํานวน
ตาํ แหนง งานวางสงู สุดเปนลาํ ดบั แรก จาํ นวน 1,567 อัตรา คิดเปนรอยละ 44.10 รองลงมาเปนระดับประถมศึกษาและ
ตาํ่ กวา จาํ นวน 795 คน คิดเปนรอ ยละ 22.38 ระดับปวช. จํานวน 472 คน คิดเปนรอ ยละ 13.28 ระดับปวส. จํานวน
452 คน คิดเปนรอยละ 12.72 และระดับปริญญาตรี จํานวน 267 คน คิดเปนรอยละ 7.51 ของตําแหนงงานวาง
ท้ังหมด ตามลําดับ สวนผลู งทะเบียนสมัครงาน พบวา ระดับมัธยมศึกษา มีผูมาลงทะเบียนสมัครงานสูงสุดเปน ลําดบั
แรก จํานวน 335 คน คดิ เปนรอ ยละ 66.07 รองลงมาเปนระดับประถมศึกษาและตา่ํ กวา จํานวน 56 คน คิดเปนรอยละ
11.05 ระดับปริญญาตรี จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 9.07 ระดับปวช. จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 8.48 และ
ระดับปวส. จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 5.33 ของผูลงทะเบียนสมัครงานท้ังหมด ตามลําดับ และการบรรจุงาน
พบวา ระดับมัธยมศกึ ษามีผูไดรบั การบรรจุงานสูงสุดเปนลําดบั แรก จํานวน 355 คน คดิ เปนรอยละ 59.66 รองลงมา
เปนระดับประถมศกึ ษาและตํ่ากวา จํานวน 98 คน คิดเปนรอยละ 16.47 ระดับปวช จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ
8.07 ระดับปรญิ ญาตรี จํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 9.24 และระดบั ปวส. จํานวน 39 คน คดิ เปน รอยละ 6.55 ของ
ผูทไ่ี ดร ับการบรรจงุ านทั้งหมด ตามลําดบั

จากขอมูลขางตนพบวา ตลาดแรงงานยังคงมีความตองการแรงงานในระดับมัธยมศึกษามากกวาระดับ
การศึกษาอืน่ ซึ่งเปนแรงงานในระดับไรฝมือและก่ึงฝมือ แตเม่ือพจิ ารณาแรงงานในระดับมัธยมศึกษา พบวา มีแนวโนม
การไดร บั บรรจุงานเพ่ิมขน้ึ สวนแรงงานในระดับ ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี ยังคงมีความตองการในตลาดแรงงาน แต
พบวา มีผูมาลงทะเบยี นสมัครงานนอ ยกวาความตองการ สว นหน่งึ มาจากแรงงานในระดับ ปวชและปวส. ตองการศึกษา
ตอ มากกวาจะเขาสูสภาพแรงงานทาํ ใหยังคงขาดแคลนแรงงานในตาํ แหนงตางๆ ท่ีตองการผูท่ีจบการศึกษาระดับ ปวช.
และ ปวส.

ตารางที่ 9 ตําแหนงงานวาง / ผูลงทะเบียนสมัครงาน / การบรรจุงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี
จาํ แนกตามระดับการศกึ ษาไตรมาส 3 ป 2563

ไตรมาส 3 / 2563

วฒุ กิ ารศกึ ษา ตาํ แหนง งานวาง ผลู งทะเบียนสมัครงาน บรรจุงาน
(อตั รา) (คน) (คน)

จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ
56 11.05 98 16.47
ประถมศกึ ษาและต่าํ กวา 795 22.38 335 66.07 355 59.66
43 8.48 48 8.07
มัธยมศึกษา 1567 44.10 27 5.33 39 6.55
46 9.07 55 9.24
ปวช. 472 13.28 507 100.00 595 100.00

ปวส. 452 12.72

ปรญิ ญาตรี 267 7.51

รวม 3,553 100.00

ท่ีมา : สํานกั งานจัดหางานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สําหรับตําแหนงงานวางไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามอาชีพ เรียงลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําดับแรก
พบวาอาชีพงานพื้นฐาน มีตําแหนงงานวางสงู สุดเปนลําดับแรก จาํ นวน 2,135 อัตรา คิดเปนรอยละ 60.09 รองลงมา

เปนอาชีพชางเทคนิคและผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของ จํานวน 377 อัตรา คิดเปนรอยละ 10.61 อาชีพผูปฏิบัติงานใน

โรงงาน ผูควบคุมเครื่องจักรและผูปฏิบัติงานดานการประกอบการ จํานวน 293 อัตรา คิดเปนรอยละ 8.25 อาชีพ
ผูปฏิบัติงานโดยใชฝมือในธุรกิจตางๆ จาํ นวน 263 อัตรา คิดเปนรอ ยละ 7.40 และอาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายใน

รานคาและตลาด จํานวน 179 คน คิดเปนรอยละ 5.04 ของตําแหนงงานวางท้ังหมดตามลําดับ สวนผูลงทะเบียนสมัคร
งานเรียงลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําดับแรกพบวา อาชีพงานงานพ้ืนฐาน มีผูลงทะเบียนสมัครงานสูงสุดเปนอันดับ

แรก จํานวน 113 คน คิดเปนรอยละ 22.29 รองลงมาเปนอาชีพผูปฏิบัติงานในโรงงาน ผูควบคุมเคร่ืองจักรและ

ผูปฏิบัติงานดา นการประกอบการ จาํ นวน 119 คน คดิ เปนรอ ยละ 23.47 อาชีพชางเทคนิคและผูปฏิบัติงานที่เก่ียวขอ ง

24 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

จํานวน 96 คน คดิ เปน รอยละ 18.93 อาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด จํานวน 84 คน คิดเปน
รอ ยละ 16.57 และอาชีพเสมียน เจาหนาที่ จาํ นวน 51 ราย คิดเปนรอยละ 10.06 ของผูลงทะเบียนสมัครงานทั้งหมด
การบรรจงุ านเรยี งลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําดับแรกพบวา อาชีพงานผูปฏิบัติงานในโรงงาน ผูควบคมุ เคร่ืองจักร
และผูปฏิบัติงานดานการประกอบการเปนอันดับแรก จํานวน 139 คน คิดเปนรอ ยละ 23.36 รองลงมาเปนอาชีพงาน
พ้นื ฐาน จาํ นวน 133 คน คิดเปนรอ ยละ 22.35 อาชพี ชา งเทคนิคและผปู ฏิบตั ิงานที่เกี่ยวของ จํานวน 106 คน คิดเปน
รอยละ 17.82 อาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายในรา นคา และตลาด จํานวน 88 คน คิดเปนรอยละ 14.79 และ
อาชีพผูปฏิบัติงานโดยใชฝ มือในธุรกิจตางๆ จํานวน 66 คน คิดเปนรอยละ 11.09 ของผูที่ไดรับการบรรจุงานท้ังหมด
ตามลําดบั

จากขอ มลู ขางตน จะเหน็ ไดว า อาชีพงานพน้ื ฐาน เปน อาชีพท่ีมีความตองการแรงงานมากกวาอาชีพอื่น และมีผู
มาสมัครงานและไดรับการบรรจุงานมากกวาอาชีพอื่นเชน กัน

ตารางท่ี 10 ตาํ แหนงงานวา ง / ผลู งทะเบยี นสมคั รงาน/การบรรจุงานจังหวัดสุพรรณบุรี
จาํ แนกตามอาชีพ ไตรมาส 3 ป 2563

ประเภทอาชีพ ตําแหนงงานวาง (อัตรา) ผลู งทะเบียนสมัครงาน (คน) บรรจงุ าน (คน)
4
1. ผบู ญั ญัตกิ ฎหมายขาราชการระดับอาวุโส ผจู ัดการ 17 6 2
106
2. ผูประกอบวิชาชพี ดา นตา งๆ 154 2 49
88
3. ชางเทคนิคและผปู ฏิบัติงานที่เก่ียวของ 377 96 8

4. เสมียนเจาหนาที่ 125 51 66
139
5. พนักงานบริการพนักงานขายในรา นคาและตลาด 179 84
133
6. ผปู ฏบิ ตั งิ านฝม ือดานการเกษตรและประมง 10 5 595

(แปรรูปขน้ั พืน้ ฐาน)

7. ผูปฏบิ ัติงานโดยใชฝมือในธรุ กิจตา งๆ 263 31

8. ผูปฏิบัติงานในโรงงานผูควบคมุ เครื่องจกั รและ 293 119

ผปู ฏบิ ตั ิงานดา นการประกอบการ

9. อาชพี งานพื้นฐาน 2,135 113

รวม 3,553 507

ที่มา : สํานกั งานจัดหางานจังหวดั สพุ รรณบุรี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สําหรบั ตําแหนงงานวางไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามชวงอายุพบวา ชวงอายุระหวาง 18-24 ป เปนชวง
อายุที่มตี ําแหนงงานวางสูงสุดเปนลําดับแรก จํานวน 1,142 อัตรา คิดเปนรอยละ 32.14 รองลงมาเปนชวงอายุ 25-29
ป จํานวน 1,051 อัตรา คิดเปนรอยละ 29.58 ชว งอายุ 30-39 ป จํานวน 945 อัตรา คิดเปนรอยละ 26.60 ชวงอายุ 40-49
ป จาํ นวน 294 อัตรา คิดเปนรอยละ 8.27 ชวงอายุ 50-59 ป จาํ นวน 94 อัตรา คดิ เปนรอยละ 2.65 ชวงอายุ 15-17 ป
จํานวน 26 อตั รา คดิ เปนรอ ยละ 0.73 และชว งอายุ 60 ปขน้ึ ไป จาํ นวน 1 อัตรา คิดเปนรอ ยละ 0.03 ของตําแหนงงาน
วา งทัง้ หมด ตามลําดับ สวนผลู งทะเบียนสมัครงานพบวา ชวงอายุ 18-24 ปมีผูลงทะเบียนสมัครงานสูงสุดเปนลําดับ
แรก จํานวน 205 คน คิดเปนรอยละ 40.43 รองลงมาเปนชวงอายุ 30-39 ป จํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 22.49
ชว งอายุ 25-29 ป จาํ นวน 95 คน คดิ เปน รอยละ 18.74 ชวงอายุ 40-49 ป จํานวน 58 คน คิดเปนรอยละ 11.44 และ
ชว งอายุ 50-59 จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 5.33 ชวงอายุ 15.17 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 1.38 และชวงอายุ
60 ปขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.20 ของผูมาลงทะเบียนสมัครงานท้ังหมดตามลําดับและการบรรจุงานพบวา
ชว งอายุ 18-24 ป ไดรบั การบรรจุงานสงู สดุ เปน ลาํ ดับแรก จาํ นวน 185 คน คิดเปนรอยละ 31.09 รองลงมาเปนชวงอายุ
30-39 ป จาํ นวน 159 คน คดิ เปน รอ ยละ 26.72 ชวงอายุระหวาง 25-29 ป จํานวน 122 คน คิดเปนรอยละ 20.50 ชวง
อายุระหวาง 40-49 ป จํานวน 89 คน คิดเปนรอยละ 14.96 ชว งอายุ 50-59 ป จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 5.55
และชว งอายุ 15-17 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 1.18 ของผูที่ไดร บั การบรรจุงานท้งั หมด ตามลําดับ

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 25

จากขอมูลขางตนพบวาชวงอายุ 18-24 ป ยังคงเปนแรงงานท่ีตลาดแรงงานมีความตองการ เน่ืองดวยแรงงาน
กลุมน้ีเปนแรงงานระดับฝมือและก่ึงฝมอื และมีความพรอมในการพัฒนาศักยภาพในการทํางานของตนมากกวาชวง
อายุอ่ืน ๆ

แผนภูมิที่ 14 ตาํ แหนงงานวา งจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จาํ แนกตามชว งอายไุ ตรมาส 3 ป 2563

ชวงอายุ 40- ชวงอายุ 50-59 60 ปข น้ึ ไป ชวงอายุ 15-17
49 ป 8.27% ป 2.65% 0.03% ป 0.73%

ชวงอายุ 30-39 ชวงอายุ 18-24
ป 26.60% ป 32.14%

ชวงอายุ 25-29
ป 29.58%

ทมี่ า : สาํ นกั งานจัดหางานจังหวดั สุพรรณบุรี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

ตารางท่ี 11 ตําแหนงงานวา ง/ ผลู งทะเบียนสมัครงาน/ การบรรจงุ านจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
จําแนกตามชวงอายุ ไตรมาส 3 ป 2563

ชวงอายุ ตาํ แหนง งานวาง ไตรมาส 3 / 2563 บรรจุงาน
ผูล งทะเบยี นสมัครงาน จํานวน รอ ยละ
จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ
7 1.18
ชว งอายุ 15-17 ป 26 0.73 7 1.38 185 31.09
205 40.43 122 20.50
ชว งอายุ 18-24 ป 1142 32.14 95 18.74 159 26.72
114 22.49 89 14.96
ชวงอายุ 25-29 ป 1051 29.58 58 11.44 33 5.55
27 5.33 --
ชว งอายุ 30-39 ป 945 26.60 1 0.20 595 100.00
507 100.00
ชว งอายุ 40-49 ป 294 8.27

ชวงอายุ 50-59 ป 94 2.65

60 ปขน้ึ ไป 1 0.03

รวม 3,553 100.00

ที่มา : สาํ นกั งานจดั หางานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สําหรับตําแหนงงานวางไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม(นอกภาค
เกษตรกรรม) เรียงลาํ ดบั จากมากไปหานอย 5 ลําดับแรกพบวา อุตสาหกรรมการผลิต มีตําแหนง งานวางสูงสุด
เปน อนั ดบั แรก จํานวน 2,511 อตั รา คิดเปน รอ ยละ 70.67 รองลงมาเปนอุตสาหกรรมการขายสง การขายปลีก
การซอมแซมยานยนต รถจักรยานยนต จํานวน 497 อัตรา คดิ เปนรอยละ 13.99 อุตสาหกรรมการกอสราง จํานวน
199 อัตรา คิดเปนรอยละ 5.60 อุตสาหกรรมท่ีพักแรม และบริการดานอาหาร จํานวน 156 อัตรา คิดเปนรอยละ
4.39 และอุตสาหกรรมบริการทางการเงินและการประกันภัย จํานวน 78 อัตรา คิดเปนรอ ยละ 2.20 ของตําแหนง
งานวางทั้งหมด ตามลําดับสวนการบรรจุงาน เรียงลําดับจากมากไปหานอย 5 ลําดับแรกพบวาประเภท
อุตสาหกรรมการผลิตสงู สุดเปนอันดับแรก จํานวน 444 คน คิดเปนรอยละ 74.62 รองลงมาเปนอุตสาหกรรม

26 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต รถจักรยานยนต จํานวน 85 คน คิดเปนรอยละ 14.29

อุตสาหกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 4.37 อุตสาหกรรมที่พักแรม และบริการ

ดานอาหาร จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 3.87 และอุตสาหกรรมงานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห

จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 0.84 ของผูที่ไดร ับการบรรจุงานท้ังหมด ตามลาํ ดับ จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา

ประเภทอุตสาหกรรมการผลติ ยังคงเปนท่ีตอ งการของตลาดแรงงาน

ตารางท่ี 12 ตาํ แหนงงานวาง / การบรรจุงาน

จังหวัดสุพรรณบุรีจาํ แนกตามอุตสาหกรรม ไตรมาส 3 ป 2563

ประเภทอตุ สาหกรรม ตําแหนง งาน บรรจุงาน
(อตั รา) (คน)

1. การผลิต 2,511 444

2. การกอสรา ง 199 3

3. การขายสงการขายปลีก การซอมแซมยานยนต 497 85
รถจกั รยานยนต
4. ท่ีพักแรม และบริการดานอาหาร 156 23
6-
5. ขอ มูลขาวสารและการสอ่ื สาร

6. บรกิ ารทางการเงนิ และการประกันภยั 78 -

7. กจิ กรรมเกี่ยวกบั อสังหาริมทรัพย 50 26

8. งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห 19 5

9. กิจกรรมการบรหิ ารและสนับสนุน -5

10. การบริหารราชการและการปองกันประเทศฯ 25 4
11. กิจกรรมการบริการดา นอื่นๆ 2-
3,533 595
รวม

ที่มา : สํานักงานจัดหางานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

2.2 การสงเสริมแรงงานนอกระบบ

กิจกรรมที่ดําเนินการสงเสริมการมีงานทําในจังหวัดสุพรรณบุรี จําแนกตามกิจกรรมท่ีไดดําเนินการในไตร

มาสนี้ ซึ่งพบ 2 กิจกรรม ไดแกกิจมีงานทํานําชุมชนเขมแข็ง และกิจกรรมแนะแนวอาชีพผูประกันตนกรณวี างงานและ

ประชาชนทว่ั ไป ดังน้ี

กจิ กรรมทดี่ ําเนินการเพ่อื สง เสรมิ การมีงานทํา จาํ นวนคร้งั ที่จัด ผูไ ดร บั ประโยชน (คน) รวม
1.กจิ กรรมมงี านทาํ นําชมุ ชนเขม แขง็ กิจกรรม ชาย หญิง 111
2 ครง้ั 41 70

2.กิจกรรมแนะแนวอาชีพผูป ระกันตนกรณวี า งงานและประชาชนทว่ั ไป 3 ครง้ั 72 85 157

ทีม่ า : สํานกั งานจัดหางานจงั หวัดสุพรรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

2.3 แรงงานตา งดาว
จํานวนแรงงานตางท่ีไดรบั ใบอนุญาตทํางานในจังหวัดสุพรรณบุรี มีจํานวน 14,730 คน จําแนกตาม
ประเภทการไดร บั อนุญาต ณ เดอื นกนั ยายน 2563 ประเภทคนตางดาวทม่ี ที ักษะ/ผูช าํ นาญการ 509 คน
จํานวนแรงงานตางดาวท่ีมีทักษะ/ผูชํานาญการ ณ เดือนกันยายน 2563 มีเขามาทํางานในจังหวัด
สุพรรณบรุ ี จํานวน 509 คน โดยลาํ ดบั ดงั น้ีอาชพี ผูประกอบวชิ าชพี งานพ้ืนฐาน จาํ นวน 267 คน คดิ เปนรอยละ
52.46 รองลงมาเปนผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ (ครู) จํานวน 198 คน คิดเปนรอยละ 38.90 อาชีพ
ผูปฏิบตั ิงานโดยใชฝมือในธุรกิจตางๆ จํานวน 22 คน คิดเปนรอ ยละ 4.32 อาชีพผูจัดการ กรรมการผูจัดการ

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 27

จํานวน 18 คน คิดเปน รอยละ 3.54 และอาชีพชา งเทคนิคและผูปฏิบตั งิ านท่ีเกี่ยวของ/วิศวกร จํานวน 4 คน
คิดเปนรอ ยละ 0.79 ของแรงงานตา งดา วทมี่ ีทักษะ/ผชู ํานาญการทงั้ หมด ตามลําดับ

แผนภมู ิท่ี 15 จํานวนแรงงานตางดาวทมี่ ีทกั ษะ/ผชู าํ นาญการ ณ กนั ยายน 2563

ชา งเทคนคิ และผปู ฏบิ ตั งิ านท่เี กีย่ วขอ ง/วศิ วกร 0.79

ผจู ดั การ กรรมการผูจดั การ 3.54

ผูปฏิบตั งิ านโดยใชฝ มอื ในธุรกจิ ตาง ๆ 4.32

ผูป ระกอบวชิ าชพี ดานตา ง ๆ (ครู) 38.90

อาชพี งานพ้นื ฐาน 52.46

0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00

ที่มา : สาํ นักงานจัดหางานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

หากพิจารณาจําแนกแรงงานตางดาวทม่ี ีทกั ษะ/ผชู าํ นาญการ พบวาสญั ชาตอิ ืน่ ๆ มีจาํ นวนสูงสุดเปน
อันดับแรก จํานวน 267 คน คิดเปนรอยละ 52.46 รองลงมาเปนสัญชาติฟลิปปนส จํานวน 158 คน คิดเปน
รอยละ 31.04 สัญชาติอเมริกัน จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 3.34 สัญชาติอินเดยี จํานวน 10 คน คิดเปน
รอยละ 1.96 สัญชาติญ่ปี ุน จํานวน 9 คน คิดเปน รอ ยละ 1.77 สัญชาติจีน จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 1.57
สัญชาตอิ ังกฤษ จํานวน 7 คน คดิ เปนรอ ยละ 1.38 สัญชาติบราซิล จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 0.98 สัญชาติ
คาเมอรรนู สัญชาติภูฎาน มีจํานวนเทากัน จํานวนละ 4 คน คิดเปนรอยละ 0.79 สัญชาติไอริช จํานวน 3 คน
คิดเปนรอยละ 0.59 สัญชาติแคนนาดา สัญชาติเซอรเบีย สัญชาติเยอรมัน สัญชาติคาเมอรรูน สัญชาติดัดซ มี
จํานวนเทากัน จํานวนละ 2 คน คดิ เปน รอยละ 0.39 และสญั ชาตสิ วสิ เซอรแลนด สญั ชาติแอฟริการใต สัญชาติ
ไนจีเรยี สญั ชาติโรมาเนีย สัญชาตบิ ัลแกเรีย สัญชาติออสเตเรีย มีจํานวนเทากัน จํานวนละ 1 แหง คิดเปนรอย
ละ 0.20

ในสวนแรงงานตางดาวที่ไดรับอนุญาตทํางานตามมติ ครม.จังหวัดสุพรรณบุรี มีจํานวน 14,221
คน จําแนกตามสญั ชาติมี 3 สัญชาตไิ ดแ ก เมยี นมา ลาวและกมั พชู า ซึง่ แรงงานตา งดาวตามมาตรา 63/1 (มติ
ครม. 4 สิงหาคม 2563) ณ กันยายน 2563 ตามทะเบียนจังหวัดสุพรรณบุรีมีจํานวนทั้งหมด 430 คน เปน
สัญชาติเมียนมา จํานวน 303 คน คิดเปนรอยละ 70.47 สัญชาติลาว จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 3.49
สัญชาติกัมพชู า จาํ นวน 112 คน คดิ เปนรอ ยละ 26.05 และมนี ายจางรวม จาํ นวน 191 ราย

28 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

แผนภมู ทิ ่ี 16 จาํ นวนแรงงานตางดาวตามมาตรา 63/1 (มติ ครม. 4 สงิ หาคม 2563)

กัมพชู า 26.05% เมยี นมา 70.47%
ลาว 3.49%

ที่มา :สํานักงานจดั หางานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

แรงงานตางดาว 3 สัญชาติ ไดแก เมียนมา ลาว และกัมพูชาที่เขามาตามระบบนําเขา MOU ณ
กันยายน 2563 จาํ นวนรวม 5,782 คน พบวาเปนสัญชาติเมียนมา จาํ นวน 3,669 คน คิดเปน รอยละ 63.46
สัญชาติลาว จํานวน 632 คน คดิ เปนรอยละ 10.93 สัญชาติกัมพูชา จํานวน 1,481 คน คิดเปน รอยละ 25.61
และมีจาํ นวนนายจางรวม จํานวน 624 ราย

แผนภูมิที่ 17 จาํ นวนแรงงานตางดาวท่ีเขามาตามระบบนําเขา MOU จังหวดั สุพรรณบุรี ณ เดอื นกนั ยายน 2563

กัมพูชา, 25.61% เมยี นมา, 63.46%
ลาว, 10.93%

ที่มา :สาํ นักงานจัดหางานจังหวัดสุพรรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 29

ตารางที่ 13 แรงงานทเ่ี ขามาตามระบบนาํ เขา MOU ณ กนั ยายน 2563 จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
จําแนกเปน รายอําเภอ ไตรมาส 3 ป 2563

แรงงานตางดา ว นายจาง ชาย เมียนมา รวม ชาย ลาว รวม ชาย กมั พชู า รวม รวมทัง้ หมด
ในพน้ื ท่ีอาํ เภอ หญิง หญิง หญงิ

อําเภอสองพี่นอง 144 1,719 1,416 3,135 64 54 118 146 123 269 3,522

อําเภอเมืองสพุ รรณบุรี 168 129 60 189 79 93 172 241 189 430 791

อําเภอศรีประจันต 30 55 17 72 26 16 42 63 50 113 227

อําเภอสามชกุ 35 74 27 101 32 13 45 31 32 63 209

อําเภอบางปลามา 45 35 19 54 38 17 55 75 59 134 243

อําเภอดอนเจดีย 37 34 12 46 10 14 24 88 60 148 218

อําเภออทู อง 60 25 12 37 55 41 96 42 43 85 218

อาํ เภอหนองหญาไซ 32 3 2 5 3 10 13 68 53 121 139

อาํ เภอเดมิ บางนางบวช 36 3 6 9 9 23 32 51 31 82 123

อําเภอดา นชา ง 40 14 7 21 14 21 35 18 18 36 92

รวม 627 2,091 1,578 3,669 330 302 632 823 658 1,481 5,782

ที่มา :สาํ นักงานจัดหางานจังหวดั สพุ รรณบุรี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

กลุมตามมติคณะรัฐมนตรี (20 สิงหาคม 2562) ท่ีพิสูจนสัญชาติ โดยสํานักงานจัดหางานจังหวัด

สพุ รรณบุรไี ดดาํ เนินการตามมติครม. เพอ่ื ขึน้ ทะเบยี นแรงงานตา งดา ว ณ กันยาย 2563 มีแรงงานตางดาวมาขึ้น

ทะเบียนขอรับใบอนุญาตทํางานแลว มีจํานวนรวม 8,009 คน จาํ แนกตามสัญชาติพบวาเปนสัญชาติเมยี นมา

จํานวน 6,792 คน คิดเปนรอยละ 84.80 สัญชาติลาว จํานวน 248 คน คิดเปนรอยละ 3.10 สัญชาติกัมพูชา
จาํ นวน 969 คน คิดเปนรอยละ 12.10 และมีนายจา งรวม 1,927 ราย

แผนภมู ิที่ 18 จํานวนแรงงานตางดาว (ตามมติ ครม. 20 สิงหาคม 2562) ทพี่ ิสูจนสัญชาติแลว
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ณ เดือนกนั ยายน 2563

ลาว 3.10% กมั พชู า
12.10%

เมียนมา 84.80%

ท่ีมา : สํานกั งานจัดหางานจังหวัดสพุ รรณบรุ ี(ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

30 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

ตารางท่ี 14 แรงงานตางดาว (ตามมติ ครม. 20 สงิ หาคม 2562) จังหวดั สุพรรณบุรี
จําแนกเปน รายอาํ เภอ ไตรมาส 3 ป 2563

แรงงานตา งดาว นายจาง เมียนมา ชาย ลาว รวม ชาย กมั พชู า รวม รวมทั้งหมด
ในพ้ืนที่อําเภอ ชาย หญิง รวม หญงิ หญงิ

อําเภอเมืองสพุ รรณบรุ ี 579 1,005 794 1,799 30 49 79 110 104 214 2,092

อาํ เภอสองพ่ีนอ ง 404 1,025 781 1,806 9 26 35 49 59 108 1,949

อําเภอเมืองอทู อง 270 514 345 859 13 19 32 77 58 135 1,026

อําเภอบางปลามา 139 318 178 496 13 15 28 56 36 92 616

อาํ เภอศรีประจันต 125 294 203 497 1 5 6 30 25 55 558

อําเภอสามชกุ 85 195 147 342 5 20 25 39 32 71 438

อําเภอดอนเจดยี  118 195 160 355 5 2 7 29 19 48 410

อาํ เภอดา นชา ง 81 182 137 319 4 12 16 24 19 43 378

อาํ เภอเดมิ บางนางบวช 80 152 82 234 5 8 13 42 47 89 336

อาํ เภอหนองหญาไซ 60 67 41 108 2 3 5 49 44 93 206

รวม 1,941 3,947 2,868 6,815 87 159 246 505 443 948 8,009

ทีม่ า :สาํ นกั งานจัดหางานจังหวัดสุพรรณบุรี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

2.4 แรงงานไทยในตา งประเทศ

แรงงานไทยทม่ี าลงทะเบยี นแจงความประสงคเ ดนิ ทางไปทํางานตางประเทศไตรมาสนี้ มีจํานวน 1 คน

โดยเปน ระดับมัธยมศึกษา ทม่ี าแจงความประสงคเ ดนิ ทางไปทาํ งานตางประเทศ

แผนภมู ทิ ี่ 19 จํานวนแรงงานไทยทล่ี งทะเบยี นแจงความประสงคเ ดนิ ทางไปทาํ งานตางประเทศ
จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา ไตรมาส 3 ป 2563

มธั ยมศึกษา
100.00%

ทม่ี า : สํานักงานจดั หางานจังหวดั สุพรรณบรุ ี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

ในสวนของการไดรับอนุญาตใหไปทํางานตางประเทศไตรมาส 3 ป 2563 พบวามีจํานวน 4 คน โดย
เดินทางแบบ Re–Entry จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 75.00 และเดินทางดวยตนเอง จํานวน 1 คน คิดเปน
รอ ยละ 25.00 ของจาํ นวนแรงงานไทยทไ่ี ดร บั อนมุ ตั ิเดนิ ทางไปทาํ งานตางประเทศท้งั หมด

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 31

แผนภูมทิ ่ี 20 จํานวนแรงงานไทยในจังหวดั สุพรรณบรุ ที ่ีขออนมุ ตั เิ ดินทางไปทํางานตา งประเทศ
จําแนกตามวิธกี ารเดินทาง ไตรมาส 3 ป 2563

เดินทางดวยตนเอง
25.00%

Re-Entry 75.00%

ทม่ี า : สาํ นกั งานจดั หางานจังหวัดสุพรรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

แรงงานไทยในจงั หวัดสุพรรณบุรที ่ีขออนุมัติเดินทางไปทํางานตางประเทศ จํานวนรวม 4 คนโดยจําแนก
ตามภมู ภิ าคท่ีเดินทางไปทํางาน ไดแก ยุโรป จาํ นวน 2 คน คิดเปนรอยละ 50.00 เอเชียและ อื่นๆ มีจํานวน
เทากัน จํานวนละ 1 คน คิดเปนรอยละ 25.00 ของแรงงานไทยในจังหวัดสุพรรณบุรีท่ีขออนุมัติเดินทางไป
ทํางานตางประเทศท้ังหมด ตามลาํ ดับ

แผนภูมิที่ 21 แรงงานไทยในจงั หวัดสุพรรณบุรที ข่ี ออนมุ ัติเดินทางไปทาํ งานตา งประเทศ
จาํ แนกตามภมู ภิ าคท่ีไปทํางานไตรมาส 3 ป 2563

อนื่ ๆ 25.00% เอเชีย 25.00%

ยโุ รป 50.00%

ที่มา : สาํ นักงานจัดหางานจังหวดั สพุ รรณบุรี (ขอมูล ณ 3 ป 2563)

3) การพัฒนาศักยภาพแรงงาน
สถาบนั พัฒนาฝม ือแรงงาน 2 สุพรรณบุรีไดมีการดําเนินการฝกอบรมพัฒนาผูใชแรงงานในรูปแบบตางๆ

เพื่อเพ่ิมศักยภาพฝมือแรงงานไทยใหมีมาตรฐานฝมือทัดเทียมกับประเทศตางๆ ขณะเดียวกันเปนการพัฒนา
ทักษะใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน สําหรับไตรมาส 3 ป 2563 (กรกฎาคม – กันยายน
2563) ไดมีการจัดฝกอบรมหลักสูตรตา ง ๆ ไดแก การฝกเตรียมเขาทํางาน การฝกยกระดับฝมือแรงงาน การ
ทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน การฝก อาชีพเสรมิ และการประเมนิ ความรู ความสามารถ ตาม พรบ.สงเสริมการ
พัฒนาฝม ือแรงงาน ฉบบั ที่ 2 พ.ศ.2557

32 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

หากพิจารณาตามกลุมอาชีพพบวามีผูเขารับการฝกเตรียมเขาทํางาน จํานวน 62 คน กลุมอาชีพที่มี

การฝก เตรียมเขา ทาํ งานสูงสดุ ในไตรมาสนคี้ อื ชา งกอสรา ง จาํ นวน 18 คน คิดเปน รอ ยละ 29.03 ของผจู าํ นวนผู

เขารับการฝก รองลงมาคือ ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จาํ นวน 17 คน คิดเปนรอยละ 27.42 ชาง

อุตสาหการ จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 25.81 ชางอุตสาหกรรมศิลป จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 9.68

และชางเครื่องกล จํานวน 5 คน ตามลําดับ ทั้งน้ีเมื่อพิจารณาทั้งจํานวนผูผานการฝก พบวามีจํานวน 6 คน

(จํานวนผูเขารับการฝกเตรียมเขาทํางานอาจมากกวาจํานวนผูผานการฝกเตรียมเขาทํางานได เน่ืองจากบาง

หลักสูตรอาจเปนการฝกตอเน่ืองมาจากไตรมาสกอนแตมาจบการฝกในไตรมาสนี้) กลุมอาชีพที่ผานการฝก

เตรียมเขาทํางานในไตรมาสนี้สูงสุด คือ ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ

66.67 ของจํานวนผผู า นการฝก รองลงมาไดแ ก ชางเครอ่ื งกล ชา งอตุ สาหกรรมศิลป มจี าํ นวนเทากัน จาํ นวนละ

1 คน คดิ เปน รอ ยละ 16.67 และชางกอ สรา ง ชางอตุ สาหการ ไมพ บผผู านการฝก

ตารางท่ี 15 การฝก เตรียมเขาทํางานในจงั หวดั สพุ รรณบุรจี ําแนกตามกลุมอาชีพไตรมาส 3 ป 2563

กลุมอาชีพ ผเู ขารับการฝก (คน) ผผู า นการฝก (คน)

1.ชา งกอสรา ง 18 -
2.ชา งอตุ สาหการ 16 -

3.ชางเครอ่ื งกล 51
4.ชา งไฟฟา อเิ ลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร 17 4

5.ชางอุตสาหกรรมศลิ ป 61
6.เกษตรอุตสาหกรรม --

7. ภาคบริการ --
62 6
รวม

ที่มา :สถาบันพฒั นาฝม อื แรงงาน 2 สุพรรณบุรี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สําหรับการฝกยกระดับฝมือแรงงาน มีผูเขารับการฝกยกระดับฝมือแรงงาน จํานวน 534 คน พบวา
กลุมอาชีพท่ีมีการฝกยกระดับฝมือมากที่สุด คือ ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จํานวน 272 คน คิด
เปนรอยละ 50.94 ของจํานวนผูเขารับการฝกยกระดับฝมือท้ังหมด รองลงมา ไดแก ภาคบริการ จํานวน 100
คน คิดเปนรอ ยละ 18.73 ชางอตุ สาหการ จํานวน 80 คน คิดเปนรอ ยละ 14.98 เกษตรอุตสหกรรม จํานวน 40
คน คิดเปนรอยละ 7.49 ชางเคร่ืองกล จาํ นวน 22 คน คดิ เปนรอยละ 4.12 ชางอุตสาหกรรมศิลป จํานวน 20
คน คิดเปนรอยละ 3.75 ตามลําดับ ท้ังนี้เมื่อพิจารณาทั้งจํานวนผูผานการฝก พบวามีจํานวน 525 คน กลุม
อาชีพที่ผานการฝกยกระดบั ฝมือแรงงานในไตรมาสนสี้ ูงสุด คือ ชางไฟฟา อเิ ล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จํานวน
263 คน คิดเปนรอ ยละ 50.10 ของจํานวนผูผา นการฝก รองลงมาไดแ ก ภาคบรกิ าร จํานวน 100 คน คิดเปน
รอ ยละ 19.05 ชางอุตสาหการ จํานวน 80 คน คิดเปนรอยละ 15.24 เกษตรอุตสาหกรรม จํานวน 40 คน คิด
เปน รอ ยละ 7.62 ชางเครื่องกล จํานวน 22 คน คดิ เปนรอยละ 4.19 และชางอุตสาหกรรมศิลป จาํ นวน 20 คน
คดิ เปนรอ ยละ 3.81

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 33

ตารางท่ี 16 การฝก ยกระดบั ฝม อื แรงงานในจังหวดั สุพรรณบุรจี ําแนกตามกลมุ อาชีพไตรมาส 3 ป 2563

กลมุ อาชพี ผูเขา รบั การฝก (คน) ผูผา นการฝก (คน)

1.ชา งกอ สรา ง --
2.ชางอุตสาหการ 80 80

3.ชางเคร่อื งกล 22 22
4.ชางไฟฟา อิเลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร 272 263

5.ชา งอตุ สาหกรรมศลิ ป 20 20
6.เกษตรอุตสาหกรรม 40 40

7. ภาคบรกิ าร 100 100
534 525
รวม

ท่ีมา :สถาบนั พัฒนาฝม อื แรงงาน 2 สพุ รรณบรุ ี(ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

การทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน มีผูเขารับการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงาน จํานวน 466 คน

พบวากลุมอาชีพที่มีการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานมากท่ีสุด คือ ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร

จํานวน 214คน คิดเปนรอยละ 45.92 ของจํานวนผูเขารับการฝกยกระดับฝมือทั้งหมด รองลงมา ไดแก ชาง

เคร่ืองกล จํานวน 133 คน คิดเปนรอ ยละ 28.54 และชางอุตสาหการ จํานวน 119 คน คิดเปนรอยละ 25.54

ตามลําดับ ทั้งน้ีเม่ือพิจารณาทั้งจํานวนผูผานการทดสอบ พบวามีจํานวน 425 กลุมอาชีพที่ผานการทดสอบ

มาตราฐานฝม ือแรงงานในไตรมาสนสี้ งู สดุ คือ ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร จํานวน 193 คน คิดเปน

รอยละ 45.41 ของจํานวนผูผานการทดสอบ รองลงมาไดแก ชางเคร่ืองกล จํานวน 126 คน คิดเปนรอยละ

29.65 และชางอตุ สาหการ จํานวน 106 คน คดิ เปนรอยละ 24.94

ตารางที่ 17 การทดสอบมาตรฐานฝม อื แรงงานในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จําแนกตามกลุม อาชีพไตรมาส 3 ป 2563

กลุมอาชพี ผเู ขารับการฝก (คน) ผูผานการฝก (คน)

1.ชา งกอ สรา ง --
2.ชางอตุ สาหการ 119 106
3.ชา งเคร่อื งกล 133 126
4.ชางไฟฟาอเิ ล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร 214 193
5.ชางอตุ สาหกรรมศลิ ป --
6.เกษตรอุตสาหกรรม --
7. ภาคบรกิ าร --
466 425
รวม

ที่มา :สถาบันพัฒนาฝมอื แรงงาน 2 สพุ รรณบรุ ี(ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

การฝกอาชีพเสริม มีผูเขารับการฝกอาชีพเสริม จํานวน 300 คน เปนกลุมอาชีพภาคบริการ จํานวน
160 คน คิดเปนรอยละ 53.33 ชางอุตสาหกรรมศิลป จํานวน 140 คน คิดเปนรอยละ 46.67 และผานการฝก
อาชีพเสรมิ ท้ังหมด

34 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

ตารางที่ 18 การฝก อาชีพเสริม จําแนกตามกลมุ อาชีพ ไตรมาส 3 ป 2563

กลุมอาชพี ผเู ขารบั การฝก (คน) ผูผ านการฝก (คน)

1.ชา งกอ สรา ง --
2.ชางอตุ สาหการ --

3.ชางเคร่ืองกล --
4.ชางไฟฟาอิเลก็ ทรอนิกส คอมพวิ เตอร --

5.ชา งอตุ สาหกรรมศิลป 140 140
6.เกษตรอตุ สาหกรรม --

7. ภาคบริการ 160 160
300 300
รวม

ที่มา :สถาบันพฒั นาฝม ือแรงงาน 2 สพุ รรณบรุ ี(ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

การประเมินความรู ความสามารถตาม พรบ.สงเสริมการพฒั นาฝมือแรงงาน ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2557

มีผูเขารบั การประเมินฯ จํานวน 112 คน เปนกลุมอาชพี ชางไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร และผานการ

ประเมนิ ความรูความสามารถฯ ทั้งหมด

ตารางท่ี 19 การประเมณิ ความรู ความสามารถตาม พรบ.สง เสรมิ การพัฒนาฝม ือแรงงาน
ฉบบั ที่ 2 พ.ศ.2557 จาํ แนกตามกลมุ อาชีพ ไตรมาส 3 ป 2563

กลมุ อาชพี ผเู ขารบั การฝก (คน) ผูผา นการฝก (คน)

1.ชางกอ สรา ง --
2.ชางอุตสาหการ --
3.ชางเครือ่ งกล --
4.ชางไฟฟาอิเลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร 112 112
5.ชา งอตุ สาหกรรมศลิ ป --
6.เกษตรอุตสาหกรรม --
7. ภาคบริการ --
112 112
รวม

ท่ีมา :สถาบันพฒั นาฝมือแรงงาน 2 สพุ รรณบรุ ี(ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

4) การคุมครองแรงงานและสวัสดกิ าร

4.1 การตรวจแรงงาน
กระทรวงแรงงานนอกจากจะมีภารกิจดานการสงเสริมการมีงานทํา การพัฒนาฝมือแรงงานเพ่ือ
ยกระดับฝมือใหเปนท่ียอมรับของตลาดแรงงาน และทัดเทียมมาตรฐานสากลแลว อีกภารกิจหนึ่งท่ีเกิดข้ึน
ตอเน่ืองภายหลังการสง เสรมิ ใหคนมีงานทําแลวคือ ภารกิจดานการคุมครองลูกจาง ใหไดร ับความเปนธรรมใน
การทํางานโดยสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี เปนหนวยงานที่มีบทบาทในการ
คมุ ครองผใู ชแรงงานใหไดร บั ความเปน ธรรมจากการทํางาน ภายใตพระราชบัญญัติคุมครองแรงงานเพ่ือไมใหถูก
เอารัดเอาเปรยี บจากนายจางโดยมจี ุดมงุ หมายสูงสุด คือ ใหมีคุณภาพชีวิตทด่ี ีขึ้น ขณะเดียวกันในอีกดานหน่ึงก็
ตองผดุงไวซึ่งความยุติธรรมกับฝายนายจาง กลาวคือไมโ อนเอียงไปดานใดดานหน่ึง ท้ังนี้มาตรการท่ีจะชวยให
ผูใชแ รงงานไดรบั รายไดแ ละสวสั ดิการท่เี ปน ธรรมเพียงพอตอการดํารงชีวิต รวมถึงไดรับการคุมครองแรงงานให
มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ีขึน้ ไดคอื การตรวจสถานประกอบการเพ่ือใหแนใจวาผูใชแรงงานไดรับการปฏิบัติและดแู ลตาม

รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 35

กฎหมาย ขณะเดยี วกันจะเปนมาตรการในการกระตุนใหสถานประกอบการเอาใจใสดแู ลลูกจางของตนใหมาก

ขึน้ อีกดวย

สําหรับในไตรมาส 3 ป 2563 จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานประกอบกิจการ ณ กันยายน 2563 จํานวน

2,963 แหง มีลูกจางรวม 41,577 คน เพศชาย 22,161 คน (รอยละ 53.30) เพศหญิง 19,356 คน (รอยละ

46.55) และมแี รงงานเด็ก 60 คน (รอ ยละ 0.14)

ตารางที่ 20 จาํ นวนสถานประกอบการและจํานวนลกู จางในจังหวดั สพุ รรณบุรี
จําแนกตามขนาดสถานประกอบการไตรมาส 3 ป 2563

ขนาดของ จาํ นวน สปก. (แหง ) ชาย ไตรมาส 2/2563 รวม
สถานประกอบกิจการ จาํ นวนลูกจาง (คน)

หญงิ เดก็

1-4 คน 1,215 1,566 1,317 17 2,900
5-9 คน 911 3,354 2,931 22 6,307
10-19 คน 411 2,653 2,854 14 5,521
20-49 คน 322 5,672 4,366 7 10,045
50-99 คน 57 2,392 1,722 - 4,114
100-299 คน 38 3,064 2,921 - 5,985
300-499 คน 4 704 931 - 1,635
500-999 คน 4 1,621 1,132 - 2,753
ตั้งแต 1,000 คน ข้ึนไป 1 1,135 1,182 - 2,317
รวม 2,963 22,161 19,356 60 41,577

ทมี่ า : สาํ นักงานสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจังหวดั สุพรรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ไดดําเนินการตรวจแรงงานในจังหวัด

สุพรรณบุรี สําหรับไตรมาส 3 ป 2563 จําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ จํานวน 87 แหง มีลูกจางท่ี

ผานการตรวจหรือการไดรับความคุมครองรวม จํานวน 2,050 คน เปนเพศชาย 1,157 คน คิดเปนรอยละ

56.44 และเพศหญิง 893 คน คดิ เปน รอยละ 43.56 ซ่ึงสวนใหญเปน สถานประกอบการขนาด 10-19 คน จํานวน

23 แหง คิดเปน รอยละ 26.44 รองลงมาเปนสถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 22 แหง คิดเปนรอยละ

25.29 สถานประกอบการขนาด 20-49 คน จํานวน 18 แหง คิดเปนรอยละ 20.69 สถานประกอบการขนาด

50-99 คน จาํ นวน 12 แหง คดิ เปน รอยละ 13.79 สถานประกอบการขนาด 1-4 คน จาํ นวน 11 แหง และสถาน

ประกอบการขนาด 100-299 คน จาํ นวน 1 แหง คิดเปนรอ ยละ 1.15 ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจ

ทง้ั หมด ตามลาํ ดับ สว นสถานประกอบการขนาด 300 คนข้ึนไปไมมีการตรวจแรงงานในไตรมาสนี้

จากผลการตรวจแรงงานในจังหวัดสุพรรณบุรี พบวาสถานประกอบการท่ีไดรับการตรวจ จํานวน 87

แหง ปฏิบัตถิ กู ตอง จํานวน 66 แหง (รอ ยละ 75.86) และปฏิบัติไมถกู ตอง จํานวน 21 แหง (รอยละ 24.14) โดย

เปนสถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 6 แหง สถานประกอบการขนาด 10-19 คน สถานประกอบการ

ขนาด 20-49 คน มีจํานวนเทา กัน จํานวนละ 5 แหง สถานประกอบการขนาด 50-99 คน จํานวน 3 แหง และ

สถานประกอบการขนาด 1-4 คน สถานประกอบการขนาด 100-299 คน มีจํานวนเทา กัน จํานวนละ 1 แหง ซ่ึง

สาํ นักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานไดออกคาํ สั่งใหดําเนนิ การภายใน 30 วนั

36 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

ตารางที่ 21 การตรวจแรงงานในจงั หวดั สพุ รรณบุรีจําแนกตามขนาดสถานประกอบการไตรมาส 3 ป 2563

ขนาดสถาน สถานประกอบ ลูกจางทผ่ี าน ผลการตรวจ (แหง ) การดําเนินการของเจา หนาที่ (แหง )
ประกอบการ การทีผ่ า นการตรวจ (แหง) การตรวจ (คน) ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัตไิ ม ออกคาํ สัง่ ใหดําเนินการ
ถกู ตอ ง ถูกตอ ง

1 – 4 คน 11 31 10 1 1

5 – 9 คน 22 159 16 6 6

10 – 19 คน 23 304 18 5 5

20 – 49 คน 18 587 13 5 5

50 – 99 คน 12 860 9 3 3

100 – 299 คน 1 109 - 1 1

300– 499 คน - - -- -

500 – 999 คน - - -- - -

1,000 คนขึ้นไป - - -- -

รวม 87 2,050 66 21 21

ทม่ี า : สาํ นักงานสวัสดิการและคุม ครองแรงงานจังหวดั สุพรรณบุรี (ขอ มูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

4.2 การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน
สําหรับการตรวจความปลอดภัยในการทํางานนอกจากจะเปนเครื่องมือในการดูแลความปลอดภัยดาน
ชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทํางานของลกู จางหรอื ผใู ชแรงงานแลวการตรวจสอบความปลอดภัยในการ
ทาํ งานยงั เปน อกี มาตรการหนึ่งเพื่อชวยกระตุน และสงเสรมิ ใหน ายจางหรือเจาของสถานประกอบการ เล็งเห็น
ความสําคัญและตระหนักถึงความปลอดภัยในการทํางานของลูกจางหรือผูใชแรงงานมากข้ึน การทํางานดวย
ความปลอดภัยยอมสงผลดีตอคุณภาพชีวิตของลูกจางหรือผใู ชแรงงานทั้งดานรา งกายและจิตใจ หากลกู จางมี
สุขภาพรางกายและจิตใจท่ีดีแลว การทํางานก็ยอมดี สถานประกอบการก็มีผลผลิตที่ดีและเพ่ิมมากขึ้น อัน
นําไปสูผลกําไรของนายจางหรือผูประกอบกิจการสําหรับไตรมาส 3 ป 2563 ชวงเดือนกรกฎาคม – กันยายน
2563 สาํ นักงานสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบรุ ีไดด ําเนินการตรวจความปลอดภัยในการทํางาน
ในสถานประกอบการท่ีเขารับการตรวจทั้งหมด 54 แหง มีลูกจางหรือผูใชแรงงานที่ผา นการตรวจ จํานวน 2,228
คน เปนเพศชาย 1,318 คน (รอยละ 59.16) เพศหญงิ 910 (รอยละ 40.84) และไมพบลูกจางท่ีเปนเด็ก ซึ่งสวน
ใหญเ ปน สถานประกอบการขนาด 20-49 คน จํานวน 14 แหง คิดเปนรอยละ 25.93 สถานประกอบการขนาด
10-19 คน จํานวน 12 แหง คิดเปนรอยละ 22.22 สถานประกอบการขนาด 5-9 คน จํานวน 11 แหง คิดเปน
รอยละ 20.37 สถานประกอบการขนาด 50-99 คน จํานวน 8 แหง คิดเปนรอ ยละ 14.81 สถานประกอบการ
ขนาด 1-4 คน จาํ นวน 5 แหง คิดเปน รอยละ 9.26 สถานประกอบการขนาด 100-299 คน จํานวน 3 แหง คิด
เปน รอ ยละ 5.56 และสถานประกอบการขนาด 300-499 คน จํานวน 1 แหง คิดเปนรอ ยละ 1.85 ของจํานวน
สถานประกอบการที่ผา นการตรวจความปลอดภัยในการทํางานทั้งหมด ตามลําดบั
จากผลการตรวจสอบความปลอดภัยในการทํางานจําแนกตามขนาดสถานประกอบการ พบวา สถาน
ประกอบการท่ีผา นการตรวจสอบความปลอดภยั ในการทํางาน จํานวน 54 แหง ปฏิบัติถูกตอง จํานวน 45 แหง
และปฏิบัติไมถูกตอง จํานวน 9 แหง โดยเปนสถานประกอบการขนาด 1-4 คน จํานวน 1 แหง สถาน
ประกอบการขนาด 10-19 คน จํานวน 2 แหง สถานประกอบการขนาด 20-49 คน จํานวน 4 แหง และสถาน
ประการขนาด 100-299 คน จํานวน 1 แหง ซึง่ สวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานไดออกคําส่ังใหปรับปรงุ เรียบรอย
แลว

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 37

ตารางท่ี 22 การตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจังหวดั สพุ รรณบุรี

จําแนกตามขนาดสถานประกอบการ ไตรมาส 3 ป 2563

ขนาดสถาน สถานประกอบการทผ่ี า นการ ลกู จา งทีผ่ านการ ผลการตรวจ (แหง) การดําเนินการของเจา หนา ท่ี (แหง )
ประกอบการ ปฏิบัติ ปฏบิ ตั ไิ ม
ตรวจ (แหง ) ตรวจ (คน) ถกู ตอ ง ถกู ตอ ง สง ปรบั ปรงุ สงเรอ่ื ง
1 – 4 คน เอกสาร ดําเนินคดี
5 – 9 คน
10 – 19 คน 5 13 4 1 1
20 – 49 คน
50 – 99 คน 11 76 11 - -
100 – 299 คน
300 – 499 คน 12 163 10 2 2
500 – 999 คน
1,000 คนขึ้นไป 14 486 10 4 4

รวม 8 510 8 - -

3 454 1 2 2

1 526 1 - -

- - -- -

- - -- -

54 2,228 45 9 9

ทีม่ า : สาํ นกั งานสวสั ดิการและคุมครองแรงงานจังหวดั สุพรรณบรุ ี ณ ไตรมาส 3 ป 2563

การตรวจความปลอดภยั ในการทํางานจาํ แนกตามประเภทอตุ สาหกรรม จํานวน 54 แหง โดย 5 ลําดับ
แรกเปน ประเภทอตุ สาหกรรมการขายสงการขายปลีก การซอ มแซมยานยนตฯ จํานวน 20 แหง คดิ เปนรอยละ
37.04 รองลงมาเปนอุตสาหกรรมการผลิต จํานวน 13 แหง คิดเปนรอยละ 24.09 อุตสาหกรรมการทําเหมือง
แรเหมืองหนิ อุตสาหกรรมการขนสงสถานทเ่ี ก็บสินคา การคมนาคม มีจาํ นวนเทากัน จํานวนละ 4 แหง คิดเปน
รอยละ 7.41 อุตสาหกรรมเกษตรกรรมการลาสัตว และการปาไม อุตสาหกรรมการกอสราง มีจํานวนเทากัน
จํานวนละ 3 แหง คิดเปนรอยละ 5.56 ของสถานประกอบการที่ผานการตรวจความปลอดภัย ในการทํางาน
ทั้งหมด

ตารางท่ี 23 การตรวจความปลอดภัยในการทํางานในจงั หวดั สุพรรณบรุ ี

จําแนกตามประเภทอตุ สาหกรรม ไตรมาส 3 ป 2563

ประเภทอตุ สาหกรรม สปก. ลูกจา ง
ทผี่ านการตรวจ (แหง ) ทผี่ านการตรวจ (คน)

1.เกษตรกรรมการลา สตั ว และการปาไม 3 39
44
2.การประมง 1 233
3.การทําเหมอื งแรและเหมืองหิน 4 783
4.การผลติ 13 43
912
5.การกอสรา ง 3 9
90
6.การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ 20
30
7.โรงแรมและภัตตาคาร 2 45
2,228
8.การขนสงสถานที่เกบ็ สินคา การคมนาคม 4

9.การเปนสอ่ื กลางทางการเงนิ 2

9.กจิ กรรมดานบริการชมุ ชนุ สังคมฯ 2

รวม 54

ที่มา : สาํ นกั งานสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ณ ไตรมาส 3 ป 2563

38 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวดั สุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

4.3 แรงงานสัมพันธ
นอกหนือจากภารกิจดา นการคุมครองแรงงานและดูแลดานความปลอดภัย ทั้งแกลูกจางและนายจาง
แลว กระทรวงแรงงานโดยสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสุพรรณบุรี ยังมีภารกิจในการ
สง เสรมิ และพฒั นาระบบแรงงานสมั พันธใ หเหมาะสมและสอดคลองกบั เศรษฐกจิ สังคมเพื่อปองกันความขัดแยง
และเสริมสรางความรวมมือที่ดีตอกันระหวางนายจาง ลูกจาง และผูมสี วนเก่ียวของ โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือ
สรางสันติสุขในวงการแรงงาน ใหนายจางและลูกจางมีทัศนคติท่ีดีตอกันในการทํางาน เพราะหากนายจาง
ลูกจางมีความเขาใจกันเปนอยางดียอมไมเกิดปญหาขัดแยงข้ึน เมื่อปญหาขอขัดแยงไมมพี ลังในการขับเคล่ือน
งานหรือทีมงานก็จะดีนําไปสูการเพ่ิมผลผลิตหรือเพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติงาน ลูกจางหรือผูใชแรงงานมี
ความสขุ ในการทาํ งานคณุ ภาพชีวติ ยอมดขี ้ึน ขณะเดียวกนั นายจางก็มคี วามสุขเน่ืองจากมีผลผลิตเพิ่มขึ้นเปนผล
กําไรตามมา ทั้งนี้ในกลุมของนายจางและลูกจางจะมีการต้ังองคการเพื่อทําหนาท่ีเปนตัวแทนตนเอง โดยเมื่อ
พิจารณาในสวนองคการนายจาง ไตรมาส 3 ป 2563 พบวามีองคกรนายจาง จํานวน 2 แหง ไดแก สมาคม
น้ําแขง็ สุพรรณบรุ ีและ สมาคมสพุ รรณ ธนากจิ

ตารางที่ 24 จํานวนองคก รนายจา งดา นแรงงาน จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

ประเภทองคก ร จาํ นวน (แหง)

องคกรนายจา ง

สมาคมนายจาง 2

สหพันธนายจาง -

สภาองคการนายจาง -

รวม 2

ที่มา : สาํ นกั งานสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงานจงั หวดั สพุ รรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

สาํ หรับการเกิดขอเรยี กรอง/ขอพิพาทแรงงานและขอขัดแยงในรอบไตมาส 3 ป 2563 ไมพ บวา มีการ

แจง ขอ งเรยี กรอง

4.4 สวัสดิการแรงงาน

กิจกรรมทีชวยสนับสนุนสงเสริมใหผูใชแรงงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนอกเหนือจากการตรวจสถาน

ประกอบการเพ่ือใหการคุมครองใหผูใชแรงงานตามท่ไี ดกลาวมาแลว สํานักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงาน

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ยงั มีการสงเสริมการจัดสวัสดกิ ารแรงงานในสถานประกอบการ ซงึ่ ในไตรมาส 3 ป 2563 ได

ดําเนินการสงเสริมใหสถานประกอบการจัดสวัสดิการในรูปแบบตางๆ แกลูกจา งหรือผใู ชแรงงาน โดยเปนการ

ใหบริการดานสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกําหนด จํานวน 34 แหง และลูกจางที่ไดรับการ

สงเสริม จํานวน 365 คน

ตารางที่ 25 การสงเสริมการจดั สวสั ดกิ ารแรงงานจาํ แนกกิจกรรมทส่ี งเสรมิ ไตรมาส 3 ป 2563

กจิ กรรมท่ีสง เสรมิ แหง คน

1.สงเสริมและใหบ ริการดา นสวัสดกิ ารแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด 34 365

2.ดาํ เนินการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยศูนยเด็กเลก็ วทิ ยาเขต สริ ินธรราชวิทยาลยั ในพระราชูปถัมภ --

3.ใหบ ริการเงนิ กูก องทุนเพื่อผูใชแรงงาน --

4.สงเสริมความรูเ ก่ียวกบั สวสิ การแรงงาน --

5.จัดคาราวานแกจนเพ่ือใหบรกิ ารดา นสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน --

ที่มา : สํานกั งานสวสั ดิการและคุมครองแรงงานจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563 39

5) การประกนั สังคม

สํานักงานประกันสังคมจังหวัดสุพรรณบุรี เปนอีกหนวยงานของกระทรวงแรงงานซ่ึงมีหนาที่และ
ภารกิจในการดแู ลผใู ชแ รงงานเพื่อใหม ีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ีขึ้น มีหลกั ประกนั และความมน่ั คงในชีวิตเม่อื ยามแกช รา

ในไตรมาส 3 ป 2563 จังหวัดสุพรรณบุรี มีสถานประกอบการที่อยูในระบบประกันสังคมจํานวน
4,090 แหง มีจํานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคม จํานวน 105,206 ราย ซ่ึงแบงเปนผูประกันตนตาม
มาตรา 33 จํานวน 50,921 ราย คดิ เปนรอยละ 48.40 มาตรา 39 จํานวน 13,498 ราย คิดเปนรอยละ 12.83
และมาตรา 40 จํานวน 40,787 ราย คดิ เปน รอ ยละ 38.77

ตารางท่ี 26 จํานวนผูประกันตนในระบบประกันสังคมจงั หวดั สุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

รายการ ก.ค.63 ไตรมาส 3 ป 2563 ก.ย.63
4,149 ส.ค.63 4,090
จาํ นวนสถานประกอบการ (แหง) 105,173 4,109 105,206
จาํ นวนผูป ระกันตน (ราย) 51,377 105,426 50,921
มาตรา 33 (คน) 13,640 51,149 13,498
มาตรา 39 (คน) 40,156 13,800 40,787
มาตรา 40 (คน) 40,477

ที่มา : สาํ นักงานประกันสงั คมจงั หวัดสพุ รรณบุรี (ขอมลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

แผนภูมทิ ่ี 22 จํานวนผปู ระกันตนในระบบประกันสงั คมจังหวดั สพุ รรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563

106,000 105,281 105,331 105,635 105,426
105,000
104,000 105,120 105,173 105,206
103,000
102,000 103,445
101,000 102,932

ม.ค.63 ก.พ.63 ม.ี ค.63 เม.ย.63 พ.ค.63 ม.ิ ย.63 ก.ค.63 ส.ค.63 ก.ย.63

จํานวนผปู ระกนั ตนในระประกนั สงั คม มาตรา 33

ท่ีมา : สาํ นักงานประกันสงั คมจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

จังหวัดสุพรรณบรุ ี มีสถานพยาบาลรัฐบาลในสงั กดั ประกันสังคมรวม 3 แหง ไดแ ก โรงพยาบาล

เจาพระยายมราช โรงพยาบาลอทู อง และโรงพยาบาลสมสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคท ่ี 17

ตารางที่ 27 จาํ นวนสถานพยาบาลในสังกดั ประกันสงั คมจังหวดั สพุ รรณบุรี

จําแนกตามสถานพยาบาลไตรมาส 3 ป 2563

ประเภทสถานพยาบาล จํานวน (แหง)

รฐั บาล 3

เอกชน -

รวม 3

ท่มี า : สํานกั งานประกนั สังคมจังหวดั สุพรรณบรุ ี (ขอ มลู ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

40 รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563

จํานวนผูประกันตนท่ีใชบริการของกองทุนประกันสังคมจําแนกตามประโยชนทดแทน 7 กรณี (ไม
เน่ืองจากการทํางาน) มีจํานวนผูประกันตนท่ีใชบริการทั้งหมด จํานวน 12,908 ราย เรียงลําดับจากมากไปหา
นอย พบวา กรณเี จ็บปวยมีผปู ระกนั ตนท่ีใชบรกิ ารกองทุนประกันสังคมสูงสุดเปนลําดับแรก จํานวน 6,214 ราย คดิ
เปนรอยละ 48.14 รองลงมาเปนกรณีวางงาน จํานวน 3,121 ราย คิดเปนรอยละ 24.18 กรณีคลอดบุตร จํานวน
1,241 ราย คิดเปนรอยละ 9.61 กรณีชราภาพ จํานวน 816 ราย คิดเปนรอยละ 6.32 กรณีสงเคราะหบุตร
จํานวน 736 ราย คิดเปนรอยละ 5.70 กรณีทุพพลภาพ จํานวน 639 ราย คิดเปนรอยละ 4.95 และกรณีตาย
จํานวน 141 ราย คิดเปนรอยละ 1.09 ของจํานวนผูประกันตนท่ีใชบริการของกองทุนประกันสังคมทั้งหมด
ตามลาํ ดับ

แผนภมู ิท่ี 23 จาํ นวนผปู ระกันตนที่ใชบรกิ ารของกองทุนประกนั สังคมจงั หวดั สุพรรณบรุ ี
จาํ แนกตามประโยชนท ดแทน 7 กรณี (ไมเนอื่ งจากการทํางาน) ไตรมาส 3 ป 2563

วา งงาน 24.18% เจ็บปว ย
48.14%

ชราภาพ คลอดบุตร
6.32% 9.61%

สงเคราะหบตุ ร
5.70%

ตาย 1.09% ทพุ พลภาพ
4.95%

ทมี่ า : สาํ นกั งานประกันสงั คมจังหวดั สุพรรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

เมื่อพิจารณาจํานวนการใชบ รกิ ารของกองทนุ ประกนั สงั คมพจิ ารณาจากการจายประโยชนทดแทนของ

กองทุนประกันสงั คมจําแนกตามประโยชนทดแทน 7 กรณี (ไมเนื่องจากการทํางาน) ไดแก เจ็บปวย คลอดบตุ ร

ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะหบุตร ชราภาพ และวางงานมีการจายประโยชนทดแทนท้ังหมด จํานวน

147,838,786.89 บาท เรียงลาํ ดบั จากมากไปหานอยพบวากรณีวางงาน มีการจายเงินประโยชนทดแทนสูงสุดเปน

ลําดับแรก มีจํานวน 58,810,582.60 บาท คิดเปนรอยละ 39.78 รองลงมาเปนกรณีชราภาพ จํานวน
36,626,256.99 บาท คิดเปนรอยละ 27.44 กรณีสงเคราะหบุ ตร จํานวน 21,168,000.00 บาท คิดเปนรอยละ

14.32 กรณีคลอดบุตร จํานวน 16,180,142.00 บาท คดิ เปนรอยละ 10.94 กรณีเจ็บปวย จํานวน 6,629,604.70

บาท คิดเปนรอ ยละ 4.48 กรณตี าย จํานวน 5,497,022.40 บาท คิดเปนรอ ยละ 3.72 และกรณีทุพพลภาพ จาํ นวน

2,927,178.20 บาท คิดเปนรอ ยละ 1.98 ของการใชบรกิ ารของกองทนุ ประกนั สังคมท้งั หมด ตามลาํ ดบั

รายงานสถานการณแรงงานจงั หวัดสุพรรณบุรี ไตรมาส 3 ป 2563 41

แผนภมู ทิ ี่ 24 การจา ยเงนิ ทดแทนของกองทนุ ประกนั สงั คมจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
จาํ แนกตามประโยชนทดแทน 7 กรณี (ไมเ นื่องจากการทาํ งาน) ไตรมาส 3 ป 2563

ประโยชนท ดแทน 7 กรณี

วา งงาน 39.78

ชราภาพ 24.77

สงเคราะหบ ตุ ร 14.32

ตาย 3.72

ทุพพลภาพ 1.98

คลอดบุตร 10.94

เจ็บปว ย 4.48

0.00 5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00 35.00 40.00 45.00

ท่ีมา : สาํ นกั งานประกนั สังคมจงั หวัดสุพรรณบรุ ี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

และเมือ่ พจิ ารณาจํานวนผูประกันตนท่ีใชบริการของกองทนุ เงินทดแทน จําแนกตามประโยชนทดแทน
(เน่ืองจากการทํางาน) ไดแก กรณีหยุดงานไมเกิน 3 วัน กรณีหยุดงานเกิน 3 วนั กรณีสูญเสียอวัยวะ และกรณี
ตาย มีจํานวนผูประกันตนที่ใชบริการทั้งหมด จํานวน 99 ราย เรียงลําดับจากมากไปหานอย พบวากรณหี ยุด
งานไมเกิน 3 วัน มีผูประกันตนใชบ ริการกองทุนเงินทดแทนสูงสุด จํานวน 63 ราย คิดเปนรอยละ 63.64
รองลงมาเปน กรณีหยุดงานเกิน 3 วัน จํานวน 28 ราย คิดเปนรอยละ 28.28 กรณีสูญเสียอวัยวะ จํานวน 5 ราย
คิดเปนรอยละ 5.05 และกรณีตาย จํานวน 3 ราย คิดเปนรอยละ 3.03 ของจํานวนลูกจางที่ใชบริการของ
กองทุนเงนิ ทดแทนทั้งหมด

แผนภมู ทิ ี่ 25 จาํ นวนผปู ระกนั ตนท่ใี ชบริการของกองทุนเงินทดแทนในจังหวดั สุพรรณบรุ ี
จาํ แนกตามประโยชนทดแทนไตรมาส 3 ป 2563

หยุดงานเกิน 3
วัน 28.28%

หยดุ งานไมเกิน 3 สญู เสยี
วัน 63.64% 5.05%

ตาย 3.03%

ทมี่ า : สํานักงานประกนั สังคมจังหวดั สพุ รรณบุรี (ขอมูล ณ ไตรมาส 3 ป 2563)

42 รายงานสถานการณแรงงานจังหวัดสุพรรณบรุ ี ไตรมาส 3 ป 2563


Click to View FlipBook Version