The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kraisorn Thaisaentha, 2021-09-09 03:35:17

ขยะอันตราย

ขยะอันตราย

ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษานครพนม

ขยะอนั ตราย

ขยะอันตราย หรอื ขยะมีพษิ (Hazardous Waste)

คือ ขยะ วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว ผลิตภณั ฑ์เสื่อมสภาพ
หรอื ภาชนะบรรจตุ า่ ง ๆ ที่มอี งค์ประกอบหรือปนเป้ือนวตั ถุ
สารเคมอี ันตรายชนดิ ตา่ ง ๆ ท่ีมลี ักษณะเปน็ สารพษิ
สารไวไฟสารเคมีทก่ี ดั กรอ่ นได้ สารกมั มันตรงั สีและเชอื้ โรค
ต่าง ๆ ทที่ าใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่บคุ คล สตั ว์ พืช ทรัพยส์ นิ
หรือสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์
แบตเตอร่โี ทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ ภาชนะบรรจุ สารกาจดั ศัตรูพืช
กระปอ๋ งสเปรยบ์ รรจสุ หี รอื สารเคมี เป็นต้น
(กรมควบคมุ มลพิษ, ๒๕๕๓)

บรรจุภณั ฑ์ใดบ้างเป็นขยะอนั ตราย ?

สังเกตจากสญั ลักษณ์ หรือ ฉลากท่ีติดอยบู่ นผลติ ภณั ฑ์หรอื บรรจภุ ัณฑ์

● สารไวไฟ
ติดไฟได้ง่ายเมื่อถกู ประกายไฟ เช่น กา๊ ซหุงต้ม น้ามนั เชื้อเพลงิ
ทนิ เนอร์ ผงกามะถัน ยาทาเล็บ น้ายาลา้ งเล็บ ยาขัดเงาพนื้

● สารมีพิษ
อาจทาใหเ้ กิดเสยี ชวี ิตหรือบาดเจบ็ อยา่ งรุนแรงจากการกนิ การสดู ดม
หรือการสัมผัสทางผิวหนงั เชน่ นา้ ยาทาความสะอาด หอ้ งน้า ยาฆ่าแมลง
ยาฆา่ เชือ้ รา สารปราบศัตรพู ืช ลกู เหม็น สารปรอทในหลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์

● สารกัดกร่อน
สามารถกัดกรอ่ นผวิ หนงั และเปน็ อนั ตรายต่อระบบทางเดนิ หายใจ
เชน่ แบตเตอรีใ่ นรถยนต์ นา้ มันเคลอื บเงารถ น้ายาท่ีมสี ว่ นผสม
ของแอมโมเนยี น้ายาท่มี สี ารฟอกขาว นา้ ยาฆา่ เชอื้ สียอ้ มผ้า

ขยะอันตราย ในบา้ นของเรา

ห้องนอน ตลบั หมกึ พิมพ์ ปากกาเคมี ปากกาลกู ลื่น (ไสป้ ากกา)

ถา่ นไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์)

ห้องนั่งเล่น

แบตเตอรม่ี อื ถอื ยาหมดอายุ หลอดไฟชนิดกลม

ห้องซกั ลา้ ง น้ายาซักผา้ น้ายาฟอกขาว

หอ้ งนา้

นา้ ยาลา้ งหอ้ งน้า นา้ ยาฆา่ เช้ือ

ห้องแตง่ ตวั

เครือ่ งสาอางหมดอายุ นา้ ยาทาเลบ็ นา้ ยาลา้ งเลบ็

นา้ มันเครือ่ งใช้แล้ว แบตเตอร่ีรถยนต์ น้ายาทาความ โรงรถ

สะอาดรถ นา้ ยาเคลือเงารถ กระป๋องสี กระปอ๋ งสเปรย์
ยาฆ่าแมลง

ห้องครัว ผลติ ภัณฑท์ าความสะอาดพืน้
เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าท่เี สือ่ มสภาพ

ประเภทของขยะอนั ตราย

กรมควบคมุ มลพษิ แบง่ ประเภทของขยะอนั ตราย
ออกเปน็ 3 กลมุ่

1.กล่มุ ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรแี่ หง้
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื

-เซลลป์ ฐมภมู ิ เช่น ถ่านไฟฉายที่
ไม่สามารถอดั ประจซุ า้ ได้ ถ่านแอลคาไลน์
ถ่านกระดุม เปน็ ต้น

- เซลล์ทตุ ยิ ภมู ิ เชน่ ถ่านไฟฉายที่
สามารถอดั ประจไุ ฟซา้ ได้ แบตเตอร่ี
โทรศัพท์เคลอื่ นที่ แบตเตอร่ีกลอ้ งดิจติ อล

2.กลุ่มหลอดฟลูออเรสเซนต์ทกุ ชนดิ

3.กลมุ่ ภาชนะบรรจุสารเคมี เชน่
กระป๋องสเปรย์ ขวดสารเคมปี ราบ
ศัตรพู ืช กระปอ๋ งสี ขวดยา
หมดอายุ และขวดนา้ ยาทาความ
สะอาด

ผลกระทบของขยะอนั ตราย

ผลกระทบตอ่ มนษุ ย์

ทางปาก

การรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่ปนเปื้อนสารอันตราย
ซึ่งมีทั้งการรับประทานอาหารเข้าไปอย่างตั้งใจ และการรับประทาน
ส่วนประกอบของอาหารท่ีนามาปรุง เช่น เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้ รวมทั้ง
การรับประทานอาหารจากภาชนะใส่อาหารที่มีการปนเป้ือนสารอันตราย
ซ่ึงในส่วนน้ีถือเป็นการรับประทานอาหารอย่างไม่ได้ตั้งใจ สารอันตราย
ที่ รั บ ป ร ะ ท า น เ ข้ า ม า ท า ง ป า ก จ ะ ถู ก ดู ด ซึ ม เ ข้ า สู่ ร่ า ง ก า ย ไ ด้ ต ล อ ด ร ะ บ บ
ทางเดินอาหาร

ทางจมูก

สารอันตรายเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจและทาให้เกิดอันตรายกับ
ระบบทางเดินหายใจ เม่ือมีการดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือด ก็สามารถ
แพร่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่มีเลือดไปเลี้ยง ซ่ึงสารอันตราย
ที่เข้าสู่ร่างกายทางการหายใจได้น้ันต้องเป็นสารที่อยู่ในก๊าซ ไอ อนุภาค
และควัน

ทางการสมั ผัส

สารอันตรายเข้าสู่ร่างกายผ่านการสัมผัสหรือจับต้องสารอันตราย
จ า ก น้ั น แ ล ะ ถ้ า ห า ก ผิ ว ห นั ง ข อ ง ผู้ รั บ สั ม ผั ส
เป็นโรคทางผิวหนังหรือมีบาดแผลก็จะทาให้สารอันตรายเข้าสู่ผิวหนังได้
ในปริมาณทเี่ พ่มิ ขึ้นและเนอื่ งจากชัน้ ผิวของคนมไี ขมนั เปน็ องค์ประกอบในปริมาณ
ท่ีสูง ดังน้ันสารอันตรายท่ีสามารถเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังน้ันต้องมีคุณสมบัติ
ที่สามารถละลายได้ในไขมนั

พษิ ของอนั ตรายจากรับสัมผสั

ระคายเคอื ง หน้ามืด/ แบบเฉียบพลัน (Acute Toxicity)
วงิ เวียน/
หายใจไม่ออก ร่างกายจะแสดงอาการตอบสนอง
ในทันที หรือภายในระยะเวลาอันส้ัน
พษิ แบบ หลังจากการรับสัมผัสสารอันตราย
เฉียบพลนั เช่น ภายใน 1 ชั่วโมง หรือภายใน
24 ชั่วโมง เป็นต้น โดยพิษแบบ
เกดิ ผดผืน่ / ผวิ หนังไหม/้ เ ฉี ย บ พ ลั น เ ป็ น ก า ร รั บ สั ม ผั ส ส า ร
อาการคนั ทผี่ วิ หนงั อกั เสบ อั น ต ร า ย ห น่ึ ง ค รั้ ง ใ น ป ริ ม า ณ ที่ สู ง
หรอื อาจจะรบั สมั ผัสหลายคร้ังแต่รับ
สัมผสั ในช่วงระยะเวลาใกล้ ๆ กัน

แบบเรอ้ื รัง (Chronic Toxicity) อมั พาต มผี ลต่อ
การเปลี่ยนแปลง
เมือ่ รบั สมั ผัสสารอันตรายร่างกาย
จ ะ แ ส ด ง อ า ก า ร อ ย่ า ง ช้ า ๆ พนั ธกุ รรม
ลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดยใช้
ระยะเวลาหลายเดือนถึงหลายปี พิษแบบ
ถึงจะมีการแสดงอาการออกมา เรือ้ รัง
ทั้งน้ีเนื่องจากเป็นการรับสัมผัส
สารอันตรายในปริมาณที่ไม่มาก มะเร็ง มีผลต่อทารก
แต่รับอย่างต่อเนื่องจนเกิดการ
สะสม เสยี ชวี ิต

ตวั อยา่ งของสารอนั ตรายในผลติ ภัณฑ์และผลตอ่ สุขภาพ
เมือ่ ได้รบั การสัมผสั สารอนั ตรายเขา้ สรู่ า่ งกาย

สารอันตรายทีเ่ ปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ผลต่อสขุ ภาพ
องคป์ ระกอบ

แมงกานสี - ถา่ นไฟฉาย ปวดศรีษะ งว่ งนอน ออ่ นเพลีย
สารปรอท - กระป๋องสี อารมณ์แปรปรวน ซมึ เศรา้ ประสาท
หลอน เกดิ ตะครวิ ท่แี ขน ขา
สารตะกั่ว -หลอดฟลอู อเรสเซนต์
สารหนู -สารกาจัดแมลง เกิดการระคายเคอื งต่อผิวหนงั และ
-ถา่ นกระดมุ ระบบทางเดนิ หายใจ เหงือกบวม/
-ขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์ อกั เสบเลอื ดออกงา่ ย ปวดท้อง
ทอ้ งร่วงรนุ แรงกลา้ มเนือ้ กระตุก
-แบตเตอร่ีรถยนต์ หงดุ หงิด โมโหงา่ ย
-สารกาจัดแมลง
-กระปอ๋ งสี ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ตวั ซดี
-ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเน้อื ความจาเสื่อม
-ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ชักกระตกุ หมดสติ

ทาลายระบบประสาท ผวิ หนัง
และระบบการย่อย

นกิ เกิล -ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ มีผลต่อผิวหนงั ทาให้ผิวหนงั เกิด
แคดเมยี ม -ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์ การระคายเคอื งอยา่ งรุนแรง คนั
โครเมยี ม -ขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นผ่ืนแดง มีแผลไหม้

เกิดการระคายเคืองตอ่ ระบบทางเดิน
หายใจและผวิ หนัง เจบ็ คอ ปวดท้อง
ทอ้ งรว่ ง อาเจียน

เกดิ การระคายเคืองตอ่ ระบบทางเดนิ
หายใจและผวิ หนัง

สารอันตรายอื่น ๆ -สเปรย์ เกดิ การระคายเคอื งต่อผวิ หนัง
-น้ายายอ้ มผม ปวดศรีษะ หายใจขัด เปน็ ลม
-น้ายาทา/ลา้ งเลบ็
-เคร่ืองสาอางหมดอายุ

ผลกระทบของขยะอนั ตราย

ผลกระทบต่อสงิ่ แวดล้อม

-ต้นไมห้ รอื พืชพรรณทไี่ ดร้ บั สารอันตราย เปล่ียนสีหรือเหย่ี วเฉา หรือตาย
โดยไม่ไดเ้ กิดจากสาเหตุภยั ธรรมชาติ
-สารอนั ตรายแพรก่ ระจายในอากาศ
-แหลง่ นา้ ปนเป้ือนสารอนั ตรายซมึ ลงสนู่ ้าใต้ดนิ
-สัตวไ์ ดร้ ับอันตราย เชน่ ปลาตาย หรือนกตาย

การจดั การขยะอันตรายในบา้ น

3Rs กับขยะอนั ตราย

Recycle

การนากลับมา
ใช้ใหม่

3Rs

Reuse Reduce

การใช้ซา้ ลดการใชง้ าน

การจัดการขยะอันตรายในบา้ น

Reduce (ลดการใชง้ าน)

ควรเลอื กใชผ้ ลติ ภณั ฑท์ ี่มีความปลอดภัยหรอื เป็นมิตรต่อส่งิ แวดลอ้ ม โดยอาจสงั เกต
จากฉลากเขียวหรือฉลากดา้ นส่ิงแวดลอ้ มอน่ื ๆ ทดแทนการใช้ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ี
องคป์ ระกอบของสารอนั ตราย เชน่
✓เลือกใช้ถ่านอลั คาไลน์ทรี่ ะบุข้อความ "No mercury added" ทดแทนการใช้
ถ่านนกิ เกิล ถา่ นแคดเมียม หรือถ่านทไ่ี มไ่ ดม้ าตรฐาน
✓เลอื กใชน้ า้ ยาทาความสะอาดหอ้ งน้ารวมท้ังสุขภัณฑภ์ ายในหอ้ งน้า หรอื สารปราบ
แมลงและศัตรูพชื ที่สกัดจากธรรมชาติทดแทนการใช้สารเคมอี นั ตราย หรือเลอื กใช้
ผลิตภณั ฑ์ทม่ี ีสว่ นผสมของสารเคมอี ันตรายในปริมาณทน่ี ้อย
**หากจาเปน็ ต้องใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ม่ี อี งค์ประกอบของสารอนั ตราย ควรใชเ้ ทา่ ที่จาเป็น
เท่านน้ั และควรใช้ตามคาแนะนาท่ีกากบั บนผลิตภัณฑอ์ ย่างเคร่งครัด

Reuse (การใช้ซา้ )

ควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทีอ่ ายุการใชง้ านทย่ี ืนยาว เชน่
✓ควรเลอื กใช้หลอดฟลอู อเรสเซนตท์ ีม่ ีจานวนชวั่ โมงการใช้งานสูง
ควรเลือกใชถ้ า่ นทีส่ ามารถใช้ซา้ ได้ เช่น
✓ เลอื กใช้ถ่านชารจ์ ที่สามารถอัดประจุซ้าได้ทดแทนการใชถ้ ่านที่ใชไ้ ดค้ รงั้ เดียว

การจดั การขยะอันตรายในบา้ น

Recycle (การนากลบั มาใช้ใหม่)

ขยะอันตรายมีทัง้ ขยะอนั ตรายท่ีสามารถรไี ซเคิลไดแ้ ละไมส่ ามารถนามารไี ซเคลิ ได้
ดงั นั้นเราควรแยกประเภทของขยะอนั ตรายท่สี ามารถรไี ซเคลิ ได้ หลงั จากนน้ั ก็ส่ง
ขยะอันตรายเหลา่ น้ีให้แกผ่ ้รู ับซ้อื หรือรบั กาจัดโดยเฉพาะ ซงึ่ ผู้ที่รบั กาจัดต้องได้รับ
อนญุ าตให้รไี ซเคิลขยะอนั ตรายตามกฎหมายหรอื เปน็ หนว่ ยงานที่ทางราชการ
อนญุ าต แตอ่ ย่างไรกต็ ามในฐานะผูก้ อ่ ใหเ้ กิดขยะอนั ตรายไมค่ วรดาเนินการรีไซเคลิ
ขยะอันตรายเอง

ขยะอนั ตรายทส่ี ามารถรไี ซเคลิ ได้ที่ผู้ก่อใหเ้ กิดของเสียสามารถสง่ ไปขาย
ยังสถานีรไี ซเคลิ ศูนย์รไี ซเคิล หรือรา้ นรับซื้อของเกา่ ทไ่ี ด้รบั อนุญาตตามกฎหมาย

✓ แบตเตอรร่ี ถยนต์ /รถจักรยานยนต์ ✓ กระปอ๋ งสเปรย์

✓ ถ่านไฟฉายอัดประจุ/ถา่ นชาร์จ ✓ กระปอ๋ งสี

✓ ตลับหมึกพิมพเ์ ลเซอรแ์ ละอิงกเ์ จ็ต ✓ โทรศพั ทม์ อื ถอื

✓ ซากผลติ ภัณฑเ์ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ✓ หลอดฟลอู อเรสเซนต์

และอิเลก็ ทรอนิกส์

ขยะอันตรายที่ไม่สามารถรีไซเคลิ ได้ท่ีผู้ก่อให้เกดิ ของเสียสามารถส่งไปขาย
ยงั สถานรี ไี ซเคลิ ศนู ยร์ ีไซเคิล หรอื รา้ นรบั ซือ้ ของเกา่ ที่ได้รับอนญุ าตตามกฎหมาย

✓ หลอดไฟทไ่ี มใ่ ชห่ ลอดฟลอู อเรสเซนตช์ นิดตรง
✓ ถา่ นไฟฉาย
✓ ถ่านกระดมุ
✓ เครือ่ งสาอางหมดอายุ

การจัดการขยะอันตรายในบา้ น

ท่มี า : ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ด้านการจดั การสารและของเสียอันตรายจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

เอกสารอา้ งอิง

กรมควบคุมมลพิษ. 2549. คูม่ อื ประชาชนเพ่อื การแยกขยะอันตรายจากชุมชน (ออนไลน์).
แหลง่ ทม่ี า : https://www.pcd.go.th/wp-content/uploads/2020/05/
pcdnew-2020-05-25_03-30-39_167273.pdf (6 กนั ยายน 2564)

ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศดา้ นการจดั การสารและของเสียอันตรายจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2561.
คู่มือการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน (ออนไลน์). แหล่งที่มา :
http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER6/DRAWER079/GENER
AL/DATA0002/00002280.PDF (6 กนั ยายน 2564)

คณะผู้จัดทำ

❖ ท่ีปรึกษา ผู้อานวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตร์
นายพรศกั ดิ์ ธรรมวานชิ เพอื่ การศกึ ษานครพนม

❖ คณะกรรมการดาเนินงาน ครู
นายสนธยา ทิพย์โพธิส์ งิ ห์ ครูผ้ชู ว่ ย
นายไกรสร ไทยแสนทา ครูผู้ชว่ ย
นางสาววีรยิ า ธานี นกั วิชาการศึกษา
นางสาวนภา พิมพจ์ นั ทร์ นกั วชิ าการศกึ ษา
นายบุรทัศ จนั ทรงั ษี นักวิชาการศกึ ษา
นางสาวจิรนนั ท์ ต๋นั เต๋ นกั วชิ าการศกึ ษา
นายพิทักพงษ์ อินทร์ตา นักวิชาการศึกษา
นางสาวเอมกิ า พิลาสุข นักวิชาการศกึ ษา
นายพงษศ์ ักด์ิ ดอนขวา นักวิชาการศกึ ษา
นายภานุทัศน์ แสนสภุ า นกั วิชาการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
นายสหภาพ เขียวมาก นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา
นางสาวฑติ าพร ฝา่ ยอนิ ทร์ นกั วิชาการวิทยาศาสตรศ์ ึกษา
นายสรุ ยิ ะ ภารไสว

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษานครพนม
355 ม.6 ต.หนองญาติ อ.เมืองนครพนม จ.นครพนม 48000

โทรศพั ท์ 042-530780
www.nkpsci.ac.th


Click to View FlipBook Version