The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการจานรองแก้วจากเรซิ่น-เต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kchanthaprasan, 2022-03-06 08:42:34

โครงการจานรองแก้วจากเรซิ่น-เต็ม

โครงการจานรองแก้วจากเรซิ่น-เต็ม

จานรองแก้วจากเรซนิ่

COASTERS MADE FROM RESINS

นางสาว กรรณิการ์ จันทประสาร
นางสาว ณภทั ร แสนมิตร
นางสาว นริ มล กอ้ นคา
นางสาว รัชฎาภรณ์ อวยพร
นางสาว อรสิ า ฉวิงรัมย์

โครงการนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขางานการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

วิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดนิ
ปกี ารศึกษา 2564

จานรองแก้วจากเรซนิ่

COASTERS MADE FROM RESINS

นางสาว กรรณิการ์ จันทประสาร
นางสาว ณภทั ร แสนมิตร
นางสาว นริ มล กอ้ นคา
นางสาว รัชฎาภรณ์ อวยพร
นางสาว อรสิ า ฉวิงรัมย์

โครงการนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
สาขางานการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

วิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดนิ
ปกี ารศึกษา 2564

ใบเสนออนุมตั โิ ครงการ

หวั ข้อโครงการ จานรองแก้วจากเรซนิ่

COASTERS MADE FROM RESINS

ผดู้ าเนนิ โครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ จนั ทประสาร 62202010092

นางสาวณภัทร แสนมติ ร 62202010096

นางสาวนริ มล กอ้ นคา 62202010091

นางสาวรัชฎาภรณ์ อวยพร 62202010093

นางสาวอรสิ า ฉวงิ รัมย์ 62202010105

ครูสอนวิชาโครงการ นางสาวสิรนิ ทร์ทิพย์ ศริ บิ ตุ ร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปกี ารศึกษา 2564

…………………………………………………………………………………………………………………………………..

เสนออนุมัติให้รับโครงการฉบับนี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั ประกาศนียบัตร

วิชาชพี ของวทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดนิ

…………………………………………… หัวหน้าแผนกวชิ าการบัญชี

( นางประไพศรี วงศป์ รีดี )

.................................................. หัวหนา้ งานวดั ผลและประเมินผล

( นางสาวนิภาภรณ์ สุทธิโคตร )

.................................................. หัวหน้างานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน

( นายคมุ ดวง พรมอินทร์ )

................................................. รองผูอ้ านวยการฝา่ ยวิชาการ

( นายทนิ กร พรหมอินทร์ )

ใบมอบลิขสิทธิ์

หวั ข้อโครงการ จานรองแก้วจากเรซน่ิ

COASTERS MADE FROM RESINS

ผู้ดาเนินโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ จนั ทประสาร 62202010092

นางสาวณภัทร แสนมติ ร 62202010096

นางสาวนิรมล ก้อนคา 62202010091

นางสาวรัชฎาภรณ์ อวยพร 62202010093

นางสาวอริสา ฉวงิ รมั ย์ 62202010105

ครูสอนวิชาโครงการ นางสาวสริ นิ ทร์ทพิ ย์ ศิรบิ ุตร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปีการศึกษา 2564

…………………………………………………………………………………………………………………………………..

ผลงานทไ่ี ดจ้ ากการทาวชิ าโครงการน้ที ้งั หมดข้าเจ้ายนิ ยอม ขอยกให้เปน็ ลิขสทิ ธิ์แด่

วทิ ยาลยั เทคนคิ สว่างแดนดิน เป็นระยะเวลา 5 ปี นบั จากวันที่ระบุในโครงการเลม่ นี้

ผมู้ อบ ....................................... ..........................................

( นางสาวกรรณิการ์ จันทประสาร) ( นางสาวณภัทร แสนมิตร )

........................................ ..........................................

(นางสาวนริ มล กอ้ นคา ) ( นางสาวรชั ฎาภรณ์ อวยพร )

.........................................

( นางสาวอริสา ฉวงิ รัมย์ )

ผ้รู บั มอบ .................................................. รองผอู้ านวยการฝา่ ยวชิ าการ

( นายทนิ กร พรหมอนิ ทร์ )

พยาน.................................................... ครูท่ปี รกึ ษาวิชาโครงการ

( นางสาวสิรินทรท์ พิ ย์ ศริ ิบุตร )

พยาน…………………………………………… หัวหน้าแผนกวิชาการบัญชี

( นางประไพศรี วงศป์ รดี ี )

ใบรับรองโครงการ

หัวข้อโครงการ จานรองแก้วจากเรซ่ิน

COASTERS MADE FROM RESINS

ผู้ดาเนินโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ จนั ทประสาร 62202010092

นางสาวณภทั ร แสนมติ ร 62202010096

นางสาวนิรมล กอ้ นคา 62202010091

นางสาวรัชฎาภรณ์ อวยพร 62202010093

นางสาวอรสิ า ฉวิงรัมย์ 62202010105

ครสู อนวชิ าโครงการ นางสาวสิรนิ ทร์ทพิ ย์ ศิริบตุ ร

สาขาวิชา การบัญชี

ปกี ารศึกษา 2564

............................................................................................................................. ...................................

ครูทีป่ รึกษาโครงการและคณะกรรมการสอบโครงการ ได้พจิ ารณาโครงการฉบับนี้แลว้ เป็น

สมควรเป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษา ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ของวิทยาลัยเทคนคิ สวา่ ง

แดนดนิ ได้

ครทู ีป่ รกึ ษาโครงการ ...................................................

( นางสาวสริ ินทร์ทิพย์ ศริ ิบุตร )

……………………………………………..

( นางสาว จิรา แดงหลา้ )

กรรมการสอบโครงการ .............................................ประธาน กรรมการ

( นางประไพศรี วงศ์ปรดี ี )

...................................................... กรรมการ

(นางสาวกุลนาถ สมาทอง)

...................................................... กรรมการ

(นางสาวณชิ ชารยี ์ สุทธพิ งษว์ รโชติ)

- ก-

หวั ข้อโครงการ จานรองแกว้ จากเรซิน่

ผดู้ าเนินโครงการ นางสาวกรรณกิ าร์ จนั ทประสาร 62202010092

นางสาวณภทั ร แสนมติ ร 62202010096

นางสาวนิรมล ก้อนคา 62202010091

นางสาวรชั ฎาภรณ์ อวยพร 62202010093

นางสาวอริสา ฉวงิ รมั ย์ 62202010105

ครสู อนวิชาโครงการ นางสาวสริ ินทรท์ ิพย์ ศริ ิบตุ ร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปีการศึกษา 2564

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคดั ย่อ

การจัดทาโครงการจานรองแก้วจากเรซิ่น จัดทาขึ้นเพ่ือให้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค

และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดโต๊ะอาหาร ของตกแต่งบ้านและพัฒนาธุรกิจทางด้านการ

ออกแบบการประยุกต์

ผลการประเมินพบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามเพศชาย 25 คน เพศหญิง 25 คน อายุ 31 ปีข้ึนไป

ระดับการศึกษาคือ ต่ากว่า ม.3 อาชีพ เกษตรกร ในระดับความพึงพอใจของประชากรท่ีมีต่อ

ผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซิ่น ในเขตพ้ืนท่ีบ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่าง

แดนดิน จังหวัดสกลนคร อันดับท่ี 1 คือข้อที่ 13 ผลิตภัณฑ์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

ระดบั ความพงึ พอใจมากที่สดุ คา่ เฉล่ียเท่ากับ 4.68 อนั ดบั ที่ 2 คือขอ้ ท่ี 1 ผลิตภัณฑม์ ีความสวยงาม

ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.58 อันดับที่ 3 คือข้อท่ี 6 แสดงป้ายราคาผลิตภัณฑ์ท่ี

ชัดเจน ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.48 อันดับที่ 4 คือข้อท่ี 14 ผลิตภัณฑ์สามารถ

สร้างรายได้ให้กับตัวเอง ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 อันดับท่ีน้อยท่ีสุด คือข้อที่ 5

ผลติ ภณั ฑม์ กี ารออกแบบลวดลายจากวสั ดุธรรมชาติ ระดบั ความพงึ พอใจมาก คา่ เฉลีย่ เทา่ กบั 4.28

ต้นทุนในการผลติ จานรองแก้วจากเรซิ่นท้ังหมด 741 บาท ผลติ ได้ 15 ช้นิ การกาหนดราคา

ขายต้นทุนต่อชิ้น 49 บาท + ค่าแรง 7.35 บาท + กาไร 9.80 บาท = ราคาขาย 79 บาท ต้อง

ขายได้จานวน 10 ช้ิน จงึ จะคมุ้ ทุน

คาสาคัญ : จานรองแกว้ จากเรซิน่

- ข-

กิตติกรรมประกาศ

การทาโครงการนสี้ าเร็จดว้ ยดี ผจู้ ัดทาโครงการขอขอบพระคุณ นางสาว สิรินทร์ทิพย์ ศิรบิ ตุ ร
ซึ่งเป็นครูประจาวิชาโครงการเป็นผู้ควบคุมโครงการที่กรุณาให้แนวคิด และคาแนะนาในการ
ดาเนนิ งานครงการตลอดจนแกป้ ัญหาต่างๆมเี่ กดิ ขึ้น อนั เปน็ ประโยชน์ตอ่ โครงการ

ขอขอบพระคุณต่อนางสาวจิรา แดงหล้าครูที่ปรึกษาโครงการท่ีคอยให้คาชี้แนะเน้ือหา
ปรับปรุงแก้ไขเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินจนสมบูรณ์ครบถ้วน ซึ่งทาให้การดาเนินงานโครงการ
สามารถเป็นไปตามท่กี าหนด การวางแผนการดาเนนิ งานเปน็ ไปไดด้ ี

ขอขอบพระคุณผู้ตอบแบบสอบถามในเขตบ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน
อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ทุกท่านที่ตอบแบบสอบถามและกรุณาให้คาแนะนาเสนอแนะ
ข้อคิดเห็นต่างๆ ต่อโครงการนี้ คณะครูแผนกวิชาการบัญชีที่ให้ความร่วมมือและอานวยความสะดวก
ในการรวบรวมข้อมูล และนักเรียนที่คอยช่วยเหลือให้กาลังใจมาโดยตลอด ประโยชน์อันใดท่ีเกิดจาก
โครงการของคณะผูจ้ ดั ทานี้ ยอ่ มเปน็ ผลงานจากความกรุณาของท่าน ดังกลา่ ว ขา้ งตน้ ผู้จัดทาโครงการ
รู้สึกซาบซง้ึ เป็นอย่างย่ิง จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้

นางสาวกรรณกิ าร์ จันทประสาร
นางสาวณภัทร แสนมติ ร
นางสาวนิรมล ก้อนคา
นางสาวรัชฎาภรณ์ อวยพร
นางสาวอริสา ฉวงิ รมั ย์

ผ้จู ัดทาโครงการ

- ค- หน้า

สารบญั ก

เรือ่ ง ค

บทคดั ย่อภาษาไทย ฉ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ 1
สารบัญตาราง 1
สารบญั รปู 2
บทท่ี 1 บทนา 2
2-3
1.1 หลักการและเหตผุ ล 3
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3
1.3 เป้าหมาย 4
1.4 ขอบเขตของโครงการ 5
1.5 ความสอดคล้อง 5-6
1.6 ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
1.7 การติดตามและประเมินผล 7
1.8 วธิ ีการดาเนินงาน 7
1.9 งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย 8-9
1.10 นยิ ามศพั ท์ 9
บทท่ี 2 หลักการและทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้อง 10
2.1 ความหมายของทีร่ องแก้ว 10-11
2.2 ความหมายของสอี ะคริลิค 11-12
2.3 ความหมายของเรซนิ่ 12
2.4 ความหมายขอผลไม้อบแห้ง
2.5 ความหมายของไมส้ กั
2.6 ความหมายของความพงึ พอใจ
2.7 แนวคดิ ของความพึงพอ
2.8 ผลงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

- ง-

สารบญั (ต่อ) หน้า

เรอ่ื ง 16
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงานจัดทาโครงการ 16
17
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 18
3.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ 18
3.3 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือ 19
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 19-20
3.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล
3.6 สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 21-23
3.7 คานวณต้นทนุ การผลติ และหาจดุ คมุ้ ทุน
บทท่ี 4 ผลวิเคราะห์ข้อมูล 23-25
4.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ียวกบั สถานภาพสว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม 26
4.2 ผลวเิ คราะห์ข้อมูลเกีย่ วกับความพึงพอใจของประชากรท่ีมตี อ่ ผลติ ภัณฑ์
จานรองแก้วจากเรซิ่น 27-28
4.3 ผลการวิเคราะหเ์ นื้อหาจากแบบสอบถามปลายเปดิ เปน็ ข้อเสนอแนะ 28-32
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายและเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการจัดทาโครงการ 32
5.2 อภปิ รายผล
5.3 ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก : แบบสอบถามเพ่ือการจัดทาโครงการ
ภาคผนวก ข : อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ทาจานรองแก้วจากเรซน่ิ
ภาคผนวก ค : ขัน้ ตอนการทาจานรองแกว้ จากเรซน่ิ
ภาคผนวก ง : ผลติ ภัณฑ์
ภาคผนวก จ : ตราสินค้า
ภาคผนวก ฉ : Google Site
ประวัตจิ ัดทาโครงการ

- จ-

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

1. ตารางแสดงขั้นตอนการดาเนนิ งานและสถานที่ 4

2. ตารางแสดงงบประมาณคา่ ใช้จ่าย 5

3. ตารางแสดงตน้ ทนุ ผลติ ภัณฑ์ 19

4. ตารางแสดงจุดคุ้มทนุ 20

5. ตารางแสดงจานวนคา่ ร้อยละของสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามด้านเพศ 21

6. ตารางแสดงจานวนค่ารอ้ ยละของสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นอายุ 22

7. ตารางแสดงจานวนคา่ รอ้ ยละของสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถามด้านอาชีพ 22

8. ตารางแสดงจานวนค่าร้อยละของสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามด้านการศกึ ษา 22

9. ตารางแสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจ 23

10. ตารางแสดงคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานของความพึงพอใจภาพรวม 24

11. ผลการวเิ คราะห์เนื้อหาจากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ 25

12. ตารางแสดงอุปกรณ์การทาจานรองแกว้ จากเรซิน่

13. ตารางแสดงอุปกรณ์การทาจานรองแก้วจากเรซ่ิน

14. ตารางแสดงข้ันตอนการทาจานรองแก้วจากเรซิ่น

-ฉ- หน้า

สารบัญรปู

รูปท่ี
1. แบบสอบถาม
2. อปุ กรณท์ ี่ใช้ทาจานรองแก้วจากเรซน่ิ
3. ข้นั ตอนการทาจานรองแก้วจากเรซ่นิ
4. ผลติ ภณั ฑ์จานรองแกว้ จากเรซิ่น
5. ตราสินค้า,Google Site

บทที่1

บทนา

1.1หลกั การและเหตผุ ล

ในปัจจุบันมนุษย์ต้องการความสวยงามให้กับสิ่งของและเป็นสิ่งของท่ีอานวยความสะดวก
ให้กับมนุษย์ด้วยหรือสามารถตกแต่งมีการสร้างสรรค์รูปแบบท่ีแตกต่างเป็นเอกลักษณ์ มีการ
ผสมผสานธรรมชาติเข้าไปในผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ลายไม้ให้มีความโดดเด่นมากข้ึนให้เห็นถึงความ
สวยงามและศิลปะในธรรมชาติ จึงคิดค้นผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่และราคาท่ีผู้บริโภคสามารถเอ้ือมถึง
เพอ่ื ให้เข้าถงึ ความตอ้ งการของผูบ้ ริโภค

โครงการจานรองแก้วจากเรซิ่นถกู ออกแบบให้รองรบั กับแกว้ ขนาดต่างๆ โดยการใช้วสั ดุอยา่ ง
เรซน่ิ ทที่ นทานต่อการกระแทก อกี ทง้ั ยังทนตอ่ ความเย็นและความร้อนได้ท่ี 120 องศา ปอ้ งกนั การขูด
ขดี กับพื้นผวิ ด้วยการออกแบบที่ใหว้ างแกว้ ไดต้ ้งั แต่ขนาดเล็กไปจนถงึ ขนาดใหญ่ เรซ่นิ ยังมีนา้ หนักเบา
สามารถพกพาไดส้ ะดวก

ดังน้ันคณะผู้จัดทาจึงได้มีแนวคิดท่ีจะจัดทาโครงการจานรองแก้วจากเรซ่ิน เพ่ือให้ตรงกับ
ความต้องการของผู้บริโภคและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดโต๊ะอาหาร ของตกแต่งบ้านและ
พัฒนาธุรกิจทางด้านการออกแบบการประยุกต์เพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดที่แปลกใหม่
และสามารถฝกึ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของผจู้ ัดทาสามารถพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้

1.2วตั ถุประสงค์

1.2.1 เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการจัดทาโครงการและเสริมสร้างความรัก
ความสามคั คขี องกลมุ่

1.2.2 เพอ่ื ให้นกั เรยี นมคี วามคดิ สร้างสรรค์และสามารถนาไปประกอบเปน็ อาชีพเสรมิ ได้
1.2.3 เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจในผลิตภัณฑ์ของประชากรในเขตพื้นท่ี บ้านหนองชาด
หมู่ 10 ตาบล สว่างแดนดนิ อาเภอ สวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ทมี่ ีต่อจานรองแก้วจากเรซน่ิ

-2-

1.3เป้าหมาย

1.3.1 ดา้ นปริมาน
1.3.1.1 นกั เรยี น 5 คน
1.3.1.2 ชน้ิ งาน 15 ชน้ิ

1.3.2 ดา้ นคณุ ภาพ
1.3.2.1 นักเรียนสามรถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
1.3.2.2 นกั เรยี นสารถนาไปประกอบอาชีพได้
1.3.2.3 สามารถสร้างรายได้ใหก้ บั ตวั เองและชุมชน

1.4ขอบเขตของโครงการ

1.4.1 ขอบเขตด้านเน้ือหา

การจัดทาโครงการคร้ังน้ีนักเรียนมีจุดมุ่งหมายในการศึกษาความพึงพอใจของประชากรท่ีมี
ต่อผลิตภณั ฑจ์ านรองแกว้ จากเรซ่นิ ในเขตพน้ื ทีช่ ุมชน บา้ นหนองชาด หมู่ 10 ตาบล สว่างแดนดิน
อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

1.4.2 ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการประเมินน้ีได้แก่ ประชากรในเขตพื้นที่ชุมชน บ้านหนองชาด หมู่ 10
ตาบล สว่างแดนดิน อาเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวดั สกลนคร 47110 ประชากร 798 ชาย 422
หญงิ 376
(ท่ีมา: นาย วิระ เกษมราช :ผู้ใหญ่บ้าน บ้านหนองชาด วันที่ 10 ธันวาคม 2564) โดยกาหนดกลุ่ม
ตัวอย่างแบบไม่เจาะจงจานวน

1.5ความสอดคลอ้ ง ขอ้ ...................
ขอ้ ...................
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ข้อ...................
 ยุทธศาสตร์จงั หวัดสกลนคร
 ยทุ ธศาสตร์วทิ ยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดนิ
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คณุ ภาพใน

-3-

-มาตรฐานท่ี 3 ตัวบง่ ช้ีที่ 31 ส่งเสรมิ ดา้ นวิชาการ

 คุณธรรมพ้นื ฐาน 8 ประการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา

 มาตรฐานคุณภาพสถานศึกษา 3 ดี

1.6ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ

1.6.1 นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการจัดทาโครงการและเสริมสร้างความรักความ
สามคั คีของกลุม่

1.6.2 นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ให้แก่คณะผจู้ ัดทาและสามารถนาไปประกอบเปน็ อาชีพ
เสรมิ ได้

1.6.3 ประชากรพึงพอใจในผลติ ภณั ฑ์จานรองแกว้ เรซิ่นในเขตพน้ื ท่ี บ้านหนองชาด หมู่ 10
ตาบลสวา่ งแดนดนิ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ที่มีต่อจานรองแก้วจากเรซน่ิ

1.7การติดตามและการประเมินผล  อนื่ ๆ...............

1.7.1 เครื่องมือ
 แบบสอบถาม  แบบสังเกต

1.7.2 วธิ กี าร
 แจกแบบสอบถามให้กบั กลุม่ เป้าหมาย

-4-

1.8วธิ กี ารดาเนนิ การ

ข้ันตอนการดาเนินการและสถานที่ตา่ ง ๆ

กิจกรรม ระยะเวลา สถานท่ีดาเนนิ งาน ผูด้ าเนินการ
ดาเนนิ งาน
1.8.1 ขนั้ ตอน (Planning :P) เดอื นพฤศจกิ ายน วทิ ยาลัยเทคนิค น.ส.กรรณิการ์
1.8.1.1 เสนอโครงการเพอ่ื อนมุ ตั ิ ถึง เดือนธันวาคม สว่างแดนดนิ น.ส.ณภัทร
1.8.1.2 จัดทาคาส่ัง พ.ศ.2564 น.ส.นริ มล
1.8.1.3 ประชุมมอบหมายงาน น.ส.รชั ฎาภรณ์
น.ส.อริสา

1.8.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน/ติดตาม(Doing เดอื นธนั วาคมถึง บา้ นหนองชาด น.ส.กรรณิการ์
น.ส.ณภทั ร
:D) เดอื นมกราคม พ.ศ. หมู่ 10 น.ส.นิรมล
น.ส.รชั ฎาภรณ์
1.8.2.1 ประชาสัมพนั ธ์ 2564-2565 ต.สว่างแดนดนิ น.ส.อรสิ า

1.8.2.2 ปฏิบัติงานตามหนา้ ที่ อ.สวา่ งแดนดนิ

จ.สกลนคร

1.8.3 ขัน้ ตอน/ตดิ ตาม (Checking :C) เดอื นมกราคมถงึ บ้านหนองชาด น.ส.กรรณิการ์
1.8.3.1 จัดทาแบบสอบถาม/สงั เกต เดือนกุมภาพนั ธพ์ .ศ. หมู่ 10 น.ส.ณภัทร
1.8.3.2 แจกแบบสอบถาม น.ส.นิรมล
1.8.3.3 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม 2565 ต.สว่างแดนดิน น.ส.รชั ฎาภรณ์
อ.สวา่ งแดนดนิ น.ส.อรสิ า
จ.สกลนคร

1.8.4 ข้นั ประเมนิ (Act :A) เดือนกุมภาพนั ธ์ ถึง วิทยาลัยเทคนิค น.ส.กรรณิการ์
1.8.4.1 คัดเลือกแบบทดสอบฉบับ เดอื นมนี าคมพ.ศ. สวา่ งแดนดนิ น.ส.ณภัทร
น.ส.นริ มล
สมบูรณ์กรอกขอ้ มูลในโปรแกรมสาเร็จรูป 2565 น.ส.รัชฎาภรณ์
1.8.4.2 ประมวลผลและสรุปผล น.ส.อริสา
1.8.4.3 เข้าเล่มนาเสนอวทิ ยาลัย

ตารางท่ี 1 ข้นั ตอนการดาเนินการและสถานท่ี

-5-

1.9 งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย

งบประมาณค่าใชจ้ ่าย ( ) งบประมาณ......บาท ( ) รายไดส้ ถานศึกษา......บาท

( ) เงินอุดหนนุ .......() อืน่ ๆไดร้ ับเงินจากสมาชกิ 5 คน คนละ 148.20 บาท รวมทัง้ ส้นิ

741 บาท (สองพนั หา้ ร้อยบาทถว้ น) จาแนกรายละเอยี ดดงั นี้

ที่ รายการ จานวน ราคาต่อ ราคารวม หมายเหตุ

นบั หน่วย(บาท) (บาท)

1 น้ายาเรซิน่ 2 ชุด 143 286

2 แบบพิมพจ์ ากรองแก้ว 4 ชิ้น 25 100 จานวนเงนิ
3 สีอะคริลคิ 1 กลอ่ ง 55 55 741 บาท

4 ผลไม้อบแห้ง 2 ชุด 45 90 สาหรับ

5 ไมส้ กั 1 ท่อน 200 200 ผลิตภณั ฑ์
6 กระดาษ 10 แผ่น 1 10 จานวน 15
- 741 ช้นิ
รวม -

ตัวอักษร (เจด็ ร้อยสส่ี ิบเอ็ดบาท)

ตารางที่ 2 แสดงงบประมาณค่าใชจ้ า่ ย

1.10นิยามศัพท์เฉพาะ

ในการประเมินครั้งน้ีเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้จัดทาการส่ือสารกับผู้อ่านจึงให้
คาศัพท์นยิ าม ดงั นี้

จานรองแก้วจากเรซิ่น หมายถึง ของใช้จากน้ายาเรซิ่นท่ีนักเรียน แผนกวิชาการบัญชี ได้ทา
ข้ึนด้วยฝีมือมีการวางแผนการทางานล่วงหน้าโดยจัดทาข้ึนอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมที่ใช้
ฝมี ือ
ความประณีตในการดาเนนิ งาน และคาดหวงั ท่จี ะได้รับผลตอบแทนอย่างคมุ้ ค่า

เรซิ่น หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ประโยชน์ได้ในหลายด้านโดยมีคุณสมบัติที่แข็งแรงทนทาน
ปอ้ งกันรอยขีดขว่ นและทนความร้อนไดด้ ี

สีอะคริลิค หมายถึง สีท่ีมีส่วนผสมของสารพลาสติกโพลีเมอร์ จาพวกอะคริลิคหรือไวนิลเป็น
สีท่ีมีการผลิตข้ึนมาใหม่ล่าสุด สามารถนามาผสมน้าใช้งานได้เหมือนกับสีน้าและสีน้ามัน มีทั้งแบบ

-6-

โปร่งแสงและทบึ แสง เมื่อแหง้ แล้วจะมคี ุณสมบตั ิกนั น้าได้และเป็นสที ตี่ ดิ แนน่ ทนทานยดึ เกาะติดกับผิว
วัตถุทีว่ าดลงไปไดด้ ี

ผลไม้อบแห้ง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาผลไม้ที่อยู่ในสภาพดี ไม่เน่าเสีย โดยอาจ
นามาผ่านกรรมวิธีแปรรูปเป็น ผลไม้ดองหรือผลไม้แช่อิ่มก่อน หรือไม่ก็ได้มาทาแห้ง เพ่ือลดความชื้น
ตามต้องการโดยใช้แสงแดด หรอื นาไปอบแหง้

ไม้สกั หมายถงึ ตน้ สกั หรอื สักทองเปน็ ตน้ ไม้ขนาดใหญ่ ซึง่ จะผลัดใบในฤดรู อ้ น นิยมนาเนอื้ ไม้
มาแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์หรือสร้างบ้านหากนามาปลูกจะช่วยเสริมโชค เสริมดวงชะตา ทาให้ชีวิตมี
ความเปน็ สิริมงคล คาว่า “สัก” ยังมคี าพ้องกับคาว่า “ศักด์ิ” หมายถงึ ยศถาบรรดาศกั ดหิ์ รอื ศกั ดิศ์ รี

ผลิตภัณฑ์ หมายถึง ส่ิงที่เสนอขายโดยธุรกิจเพื่อตอบสนองความจาเป็นหรือความต้องการ
ของลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจประกอบด้วย ส่ิงที่สัมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ เช่น การบรรจุภัณฑ์ สี
ราคา คุณภาพ ตราสินค้า บริการและช่ือเสียงของผู้ขายผลิตภัณฑ์อาจจะเป็นสินค้า บริการสถานที่
บุคคลหรอื ความคดิ

ความพึงพอใจ หมายถึง เป็นความชอบส่วนบุคคลที่มีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่งซ่ึงสามารถลดความตึง
เครยี ดและตอบสนองความต้องการของบุคคลได้ ทาใหเ้ กิดความพงึ พอใจกบั สงิ่ น้ันสงิ่ ที่ทาให้เกิดความ
พึงพอใจเกี่ยวกับลักษณะของงานท่ีทา รวมถึงคุณภาพของงานที่ได้อีก ปัจจัยหนึ่งท่ีมีผลต่อความพึง
พอใจของแต่ละบุคคลที่มผี ลต่อผลิตภัณฑจ์ านรองแกว้ จากเรซิน่

ความพึงพอใจด้านผลิตภัณฑ์ หมายถึง เป็นความชอบหรือทัศนคติทางพวกของผู้ซื้อมีต่อ
ผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซ่ินซ่ึงผลิตภัณฑ์มีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์หรือสะดุดตาของผู้ซื้อจึง
ทาให้เกดิ ความพงึ พอใจในการเลือกซ้ือผลิตภณั ฑจ์ านรองแกว้ จากเรซ่นิ

ความพึงพอใจด้านบรรจุภัณฑ์ หมายถึง ศาสตร์และศิลป์ท่ีใช้บรรจุภัณฑ์สินค้าโดยใช้
เทคโนโลยีท่ีทันสมัยและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพ่ือคุ้มครองปกป้องสินค้าจากผู้ผลิตจนถึงมือลูกค้า
อยา่ งปลอดภยั ต้นทุนการผลติ เหมาะสมสามารถมองเห็นผลิตภณั ฑ์

ความพึงพอใจด้านราคา หมายถึง มีความพึงพอใจในราคาที่กาหนดขายไป อย่างเหมาะสม
กับขนาดและชนิดของผลิตภัณฑ์ ดังน้ันผู้กาหนดกลยุทธต์ ้องคานึงถึงคุณค่าที่รับรู้จึงต้องพิจารณาจาก
การยอมรับของลูกค้าในคุณค่าผลิตภัณฑ์ว่าสูงกว่าราคาผลิตภัณฑ์ ดังน้ันราคาจึงเป็นเครื่องมือท่ี
สามารถ ดึงดดู ความสนใจของผู้บรโิ ภคได้

ความพึงพอใจด้านประโยชน์เชิงพาณิชย์ หมายถึง กลไกลหรือสถานที่ท่ีสามารถมีการค้า
เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการผลิต ซึง่ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้ไปสู่ผลิตในเชิงพาณชิ ยเ์ พื่อสร้างมูลค่าและต้นทุน
การผลติ รวมถึงการสร้างอาชพี ทางเลอื กใหก้ บั ผปู้ ระกอบการ เกษตรกร และผปู้ ระกอบอาชพี อ่ืน

บทท่ี2

หลกั การและทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้อง

การประเมินในครั้งน้ีคณะผจู้ ัดทาไดศ้ ึกษาและคน้ ควา้ เอกสารทฤษฎีแนวคิดท่เี ก่ียวข้องความ
พึงพอใจของผู้ซ้ือสินค้าและตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อโครงการจานรองแก้วจากเรซ่ินท่ีทาให้เกิด
ประโยชน์ และความสวยงาม โดยเสนอหัวขอ้ สาคญั ดังน้ี

2.1 ความหมายของที่รองเครอ่ื งดืม่
2.2 ความหมายของสีอะครลิ คิ
2.3 ความหมายของเรซน่ิ
2.4 ความหมายของผลไม้อบแหง้
2.5 ความหมายของไม้สัก
2.6 ความหมายของความพึงพอใจ
2.7 แนวคิดของความพงึ พอใจ
2.8 งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง

2.8.1 วิจัยเร่ืองการศึกษาเพ่ือการออกแบบเคร่ืองประดับสตรีประเภทกาไลโดยใช้
วัตถปุ ระเภทพลาสติกเหลว

2.1 ความหมายของท่รี องเครอ่ื งด่ืม

ที่รองเครื่องด่ืม คือ เครื่องใช้ที่ไว้รองเครื่องดื่มต่างๆ ท้ังร้อนและเย็นหรือบรรจุภัณฑ์ เพื่อ
ป้องกันการขูดขีดและกันกระแทกกับพื้นผิวที่เราจะวางเคร่ืองด่ืมนั้นๆ ลักษณะที่รองเครื่องด่ืม ตรง
กลางจานจะมรี อยเปน็ หลมุ ขนาดพอดกี บั ถ้วย

2.2 ความหมายของสอี ะครลิ ิค

สีอะคริลิค (Acrylic Colour) หมายถึง สีที่มีส่วนผสมของสารโพลิเมอร์ (polimer) จาพวก
อะครลิ ิค (Acrylic) หรือไวนลิ (Vinyl) เป็นสีทม่ี ีการผลติ ข้นึ มาใหมล่ ่าสดุ สามารถนามาผสมน้าใช้

-8-

2.3 ความหมายของเรซิ่น

* Fossil resin คอื เรซ่ินจากตน้ ไม้เก่าแก่ทม่ี กี ารแปรสภาพทางเคมี
* Gum resin คอื เรซิน่ ที่เปน็ ส่วนผสมของยางเหนยี ว (gum) กับเรซ่ิน
* Oleoresin คอื เรซิ่นท่มี ีนา้ มนั หอมระเหยของพชื เป็นองค์ประกอบ

เรซน่ิ ธรรมชาติละลายได้ในตัวทาละลายเกือบทุกชนิด และนามาใช้ประโยชน์ไดม้ ากมาย เชน่
ทาวาร์นิช สารเคลือบผิว กาว และใช้เป็นสารประกอบ ในอุตสาหกรรมยา น้าหอม สารให้กลิ่น
(flavors) และในอุตสาหกรรมอาหาร เปน็ ตน้ ได้มีการใช้ประโยชน์ของเรซนิ่ มาตั้งแต่สมัยโบราณ โดย
นามาทาเป็น ยาใช้ในพิธีทางศาสนาและในสังคมประจาวัน เช่น กายาน ยางไม้หอม ระงับความ
เจ็บปวด น้าหอม ไวน์ รวมท้ังใช้ดองหรือรักษาสภาพศพไม่ให้เน่าเปื่อย ในสมัยอียิปต์โบราณ ความ
เจริญก้าวหน้าทางด้าน เภสัชกรรม ทาให้มีการออกข้อกาหนดทางกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติ
ควบคมุ สารพิษ โดยครอบคลุม การใช้เรซน่ิ ธรรมชาติในทางยาไว้ดว้ ย ซ่ึงจะศกึ ษาได้จากหนังสือ
Merck Index และ Pharmacopoeias ตา่ งๆ

คุณสมบตั ขิ องโพลเี อสเทอร์เรซิ่น
โพลีเอสเตอร์เรซ่ิน เป็นพลาสติกเหลวชนิดหนึ่ง มีลักษณะค้นคล้ายน้ามันเคร่ือง กลิ่นฉุน
แข็งตัวด้วยความร้อนสูง เป็นวัตถุไวไฟชนิดหน่ึง มีอัตราการหดตัว 2-8% หลังเซทตัวเต็มที่ เรซ่ิน
สามารถหล่อขึ้นรูปได้มากมายหลากหลายรูปแบบ เรซิ่นสาหรับหล่องานทั่วไป หล่อพระ หล่อของท่ี
ระลึก หล่อตุ๊กตา ฯลฯ เรซ่ินสาหรับหล่องานไฟเบอร์กลาส และเรซิ่นสาหรับงานเคลือบ เช่น งาน
เคลือบกรอบรูปวิทยาศาสตร์ ในขณะทาการหล่อ เรซ่ินจะปล่อยกลิ่นเคมีออกมาซ่ึงมีกลิ่นเหม็นฉุน
ดังนั้นสถานท่ีทางานควรเป็นท่ีโปร่งอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่ควรทางานในสถานท่ีท่ีเป็นห้องทึบตัน
และไม่มีการไหลเวียนของอากาศหรือการระบายอากาศที่ดีพอ เรซ่ินแยกตามเกรดของคุณสมบัติของ
เน้อื เรซ่นิ คอื
1. เกรด ortho-phthalic type คือชนดิ เกรดใชง้ านไดท้ ่ัวไป
2. เกรด isophthalic type คอื ชนิดทีท่ นกรด-ดา่ งไดด้ ี
3. เกรด bisphenol type คือชนิดทที่ นกรด-ด่างสูง
4. เกรด chlorendics type ชนิดทนกรด-ดา่ ง สูง
5. เกรด vinyl ester คอื ชนดิ ที่ทนกรด-ด่างสงู มาก แข็งแรง
มคี ุณสมบัตทิ ่ีเปน็ รองแค่ epoxy resin เรซนิ่ แยกตามเน้อื เปน็ 2 แบบ คอื
1. nonpromote คอื เรซนิ่ ชนดิ ทีย่ ังไมผ่ สมสารช่วยเรง่ ปฏิกริ ยิ า ลักษณะของเนื้อเรซน่ิ จะเป็น
ของเหลวค้นคล้ายน้ามัน มีสีใสอมเหลือง จุดเด่นคือมีอายุการเก็บ 3 เดือน( สาหรับประเทศไทยซึ่งมี

-9-

อากาศร้อนช้ืนควรใช้ให้หมดภายใน1เดือนเพราะเม่ือเข้าสู่เดือนท่ี2และ3 เรซ่ินจะเริ่มมีความข้นขึ้น
เรอื่ ยๆ) และยงั สามารถประยกุ ต์สตู รได้อกี มากมาย เพอื่ ให้เหมาะสมกบั รปู แบบงานตา่ งๆโพลเี อสเทอร์
เรซ่นิ ชนิด non promote

2. promote คือ เรซิ่นชนิดท่ีผสมสารช่วยเร่งฯ มาแล้ว ลักษณะของเน้ือเรซ่ินจะเป็น
ของเหลวข้นคล้ายน้ามันเคร่ือง แต่มีสีชมพูบานเย็นเพราะเป็นเรซิ่นท่ีได้ผสมสารช่วยเร่งปฏิกิริยาแลว้
เม่ือนามาใช้งานก็แค่เติมสารเร่งฯลงไป ในเรอื่ งของสเี รซิ่นน้นั บางบริษัทผ้ผู ลิตอาจมีการใช้สารชว่ ยเร่ง
ทีแ่ ตกต่าง ดังน้ันเรซ่นิ ชนดิ ผสมสารช่วยเร่งบางตวั จะมสี ีคลา้ คล้ายนา้ เฉาก๊วย และสาหรบั ชนิดที่ใช้กับ
งานหลอ่ ใสแลว้ เรซ่ินจะมสี ี ใสอมน้าเงนิ อ่อนๆ จุดเด่นคือใช้งานง่ายและคล่อง ไมย่ งุ่ ยาก แตข่ ้อเสียคือ
มีอายกุ ารเกบ็ สน้ั อายุการเก็บไม่เกิน 2 เดอื น ในการใช้งานจริงควรใช้ใหห้ มดภายใน 1 เดือน

คุณสมบตั ขิ องโพลีเอสเทอรเ์ รซิ่น
ลักษณะการใช้งานของโพลีเอสเตอร์เรซิ่น เรซิ่นนาไปใช้งานได้มากมายหลายกลุ่มงาน
แตแ่ บ่งออกเป็น 3 กล่มุ ใหญๆ่ ท่ีนยิ มใช้ในบา้ นเรา ได้แก่
1. กลุ่มงานหล่อ ( casting ) เช่นหล่อพระ หล่อของชาร่วย หล่อตุ๊กตา หล่อกระดุม
หลอ่ แกว้ เทยี ม ฯลฯ
2. กลมุ่ งานเคลือบ ( laminate ) เชน่ งานเคลือบกรอบรูปวทิ ยาศาสตร์
3. กลุ่มงานขนึ้ รปู แบบ ( molding ) เช่นการผลติ งานไฟเบอร์กลาสหรอื FRP
( fiberglass reinforce plastic ) พลาสติกเสริมแรงด้วยใยแกว้

2.4 ความหมายของผลไมอ้ บแหง้

ผลไม้แห้ง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาผลไม้ที่อยู่ในสภาพดี ไม่เน่าเสีย โดยอาจนามา
ผ่านกรรมวิธีการหมักดองหรือแช่อิ่มก่อนหรือไม่ก็ได้ มาลดความช้ืนตามต้องการโดยใช้แสงแดดหรือ
นาไปอบ ท้ังน้ีอาจปรุงแต่งกล่ิน (flavoring agent) หรือรสด้วยส่วนประกอบอื่นท่ีเหมาะสม
เช่น น้าตาลเกลอื พรกิ ด้วยก็ได้

ผลไม้แห้ง เป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผลไม้ จัดอยู่ในกลุ่มอาหารแห้ง ( dried food)
หรืออาหารกึ่งแห้ง (intermediate moisture food) ตาม ผช.1471-2550 ผลไม้แห้ง หมายถึง
ผลติ ภัณฑท์ ่ไี ด้จากการนาผลไมท้ อ่ี ยู่ในสภาพดี ไมเ่ นา่ เสยี โดยอาจนามาผ่านกรรมวธิ ีแปรรูปเป็น
ผลไม้ดองหรือผลไม้แช่อิ่มก่อน หรือไม่ก็ได้ มาทาแห้ง (dehydration) เพ่ือ ลดความชื้นตามต้องการ
โดยใช้แสงแดด (sun drying) หรือนาไปอบแห้ง ทั้งน้ีอาจปรุงแต่งกลิ่นหรือรสด้วยส่วนประกอบอ่ืนท่ี
เหมาะสม เช่น น้าตาลเกลอื พริก ด้วยกไ็ ด้ มคี ่า water activity ไม่เกนิ 0.75

- 10 -

2.5 ความหมายของไมส้ กั

ไม้สัก หมายถึง ความมีศักด์ิศรี ความมีเกียรติ อานาจบารมี คนเคารพนับถือและยาเกรง
ไม้ต้น ขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลาต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคน
เป็นพูพอนต่า ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตาม
ความยาวลาต้น ขึน้ เปน็ หมใู่ นป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวนั ตก มี
อยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประโยชน์ เนื้อไม้มีลายสวยงามแข็งแรงทนทาน เลื่อย ผ่า ไสกบ
ตบแต่ง และชักเงาได้ง่าย ใช้ทาเครื่องเรือนและในการก่อสร้างบ้านเรือน ปลวก มอด ไม่ชอบทาลาย
เพราะมสี ารพวกเทคโทควิโนน

2.6 ความหมายของความพึงพอใจ

2.6.1 ทฤษฎีแรงจงู ใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)
อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวิธีท่ีจะอธิบายว่าทาไมคนจึงถูกผลักดันโดยความต้องการ
บางอยา่ ง ณ เวลาหน่งึ ทาไมคนหน่งึ จงึ ทุ่มเทเวลาและพลงั งานอย่างมากเพ่ือใหไ้ ด้มาซงึ่ ความปลอดภัย
ของตนเองแต่อีกคนหน่ึงกลับทาส่ิงเหล่าน้ัน เพ่ือให้ได้รับการยกย่องนับถือจากผู้อื่น คาตอบของมาส
โลว์ คอื ความต้องการของมนุษยจ์ ะถกู เรียงตามลาดับจากสง่ิ ท่ีกดดันมากทส่ี ุดไปถงึ น้อยท่ีสดุ
ทฤษฎีของมาสโลว์ได้จดั ลาดบั ความต้องการตามความสาคัญ คอื
ความต้องการทางกาย (physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐาน คือ อาหาร ที่พัก อากาศ
ยารักษาโรค
ความต้องการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกวา่ ความต้องการเพ่ือความ
อยู่รอด เปน็ ความต้องการในดา้ นความปลอดภยั จากอันตราย
ความต้องการทางสงั คม (social needs) เปน็ การตอ้ งการการยอมรับจากเพอื่ น
ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) เป็นความต้องการการยกย่องส่วนตัว ความนับถือและ
สถานะทางสงั คม
ความต้องการให้ตนประสบความสาเร็จ (self – actualization needs) เป็นความต้องการสูงสุดของ
แตล่ ะบุคคล ความต้องการทาทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งได้สาเร็จ

บุคคลพยายามที่สร้างความพึงพอใจให้กับความต้องการท่ีสาคัญท่ีสุดเป็นอันดับแรกก่อนเมอื่
ความต้องการน้ันได้รับความพึงพอใจ ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคล
พยายามสรา้ งความพึงพอใจใหก้ บั ความต้องการทส่ี าคัญท่ีสดุ ลาดับต่อไป ตวั อย่าง เชน่ คนท่ีอดอยาก

- 11 -

(ความต้องการทางกาย) จะไม่สนใจต่องานศิลปะชิ้นล่าสุด (ความต้องการสูงสุด) หรือไม่ต้องการยก
ย่องจากผู้อื่น หรือไม่ต้องการแม้แต่อากาศที่บริสุทธ์ิ (ความปลอดภัย) แต่เมื่อความต้องการแต่ละข้ัน
ได้รับความพึงพอใจแล้วกจ็ ะมคี วามต้องการในข้นั ลาดบั ต่อไป

2.6.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์
ซกิ มนั ด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตั้งสมมุติฐานว่าบุคคลมักไม่รู้ตัวมากนักว่าพลังทางจิตวิทยา
มีส่วนช่วยสร้างให้เกิดพฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพ่ิมและควบคุมสิ่งเร้าหลายอย่าง ส่ิงเร้าเหล่าน้ี
อยู่นอกเหนือการควบคุมอย่างส้ินเชิง บุคคลจึงมีความฝัน พูดคาที่ไม่ต้ังใจพูด มีอารมณ์อยู่เหนือ
เหตผุ ลและมพี ฤตกิ รรมหลอกหลอนหรือเกิดอาการวิตกจรติ อยา่ งมาก
ขณะที่ ชาริณี (2535) ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไว้ว่า บุคคลพอใจจะกระทา
ส่ิงใดๆที่ให้มีความสุขและจะหลีกเลี่ยงไม่กระทาในส่ิงท่ีเขาจะได้รับความทุกข์หรือความยากลาบาก
โดยอาจแบง่ ประเภทความพอใจกรณีนไี้ ด้ 3 ประเภท คอื
ความพอใจด้านจิตวิทยา (psychological hedonism) เป็นทรรศนะของความพึงพอใจว่ามนุษย์โดย
ธรรมชาตจิ ะมคี วามแสวงหาความสขุ ส่วนตวั หรอื หลกี เลย่ี งจากความทุกขใ์ ดๆ
ความพอใจเก่ียวกับตนเอง (egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจว่ามนุษย์จะพยายาม
แสวงหาความสุขสว่ นตัว แต่ไมจ่ าเป็นวา่ การแสวงหาความสขุ ต้องเปน็ ธรรมชาตขิ องมนษุ ยเ์ สมอไป
ความพอใจเกี่ยวกับจริยธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือว่ามนุษย์แสวงหาความสุขเพื่อ
ผลประโยชนข์ องมวลมนุษย์หรือสงั คมท่ตี นเปน็ สมาชิกอยูแ่ ละเป็นผ้ไู ดร้ ับผลประโยชน์ผ้หู นึง่ ดว้ ย

2.7 แนวคิดของความพงึ พอใจ

ดิเรก (2528) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิง
หนึง่ เป็นความรูส้ กึ หรือทศั นคตทิ ด่ี ีต่องานท่ีทาของบคุ คลท่ีมตี อ่ งานในทางบวก ความสขุ ของบคุ คลอัน
เกิดจากการปฏิบัติงานและได้รับผลเป็นที่พึงพอใจ ทาให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้น มีความสุข
ความมุ่งมั่นท่ีจะทางาน มีขวัญและมีกาลังใจ มีความผูกพันกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจใน
ความสาเร็จของงานที่ทา และสิ่งเหล่าน้ีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางานส่งผล
ตอ่ ถึงความกา้ วหนา้ และความสาเรจ็ ขององค์การอกี ดว้ ย

วิรุฬ (2542) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ท่ีไม่เหมือนกัน
ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะมีความคาดหมายกับส่ิงหนึง่ สิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมาก
และได้รบั การตอบสนองดว้ ยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไมพ่ ึงพอใจ
เป็นอย่างยิ่ง เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามท่ีคาดหวังไว้ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับส่ิงที่ตั้งใจไว้ว่าจะมีมากหรือ
น้อยสอดคล้องกับ ฉัตรชัย (2535) กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคล

- 12 -

ท่ีมีต่อสิ่งหน่ึงหรือปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดข้ึนเมื่อความต้องการของบุคคลได้รับ
การตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความร้สู กึ ดงั กล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดข้นึ หากความ
ต้องการหรอื จุดมงุ่ หมายน้นั ไม่ไดร้ บั การตอบสนอง

กิตติมา (2529) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือพอใจท่ีมีต่อ
องค์ประกอบและสง่ิ จูงใจในดา้ นตา่ งๆเมอ่ื ไดร้ ับการตอบสนอง

กาญจนา (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เป็น
นามธรรม ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้ การที่เราจะทราบว่าบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม่
สามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่ีค่อนข้างสลับซับซ้อนและต้องมีส่ิงเร้าท่ีตรงต่อความต้องการของ
บุคคล จึงจะทาให้บุคคลเกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการสิ่งเรา้ จงึ เปน็ แรงจงู ใจของบุคคลน้ันให้เกิดความ
พงึ พอใจในงานนนั้

นภารัตน์ (2544) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกทางบวกความรู้สึกทางลบและ
ความสขุ ที่มีความสัมพนั ธ์กนั อย่างซับซ้อน โดยความพงึ พอใจจะเกดิ ขึ้นเมื่อความรสู้ ึกทางบวกมากกว่า
ทางลบ

เทพพนม และสวิง (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นภาวะของความพึงใจหรือภาวะท่ีมี
อารมณใ์ นทางบวกท่ีเกิดข้นึ เนื่องจากการประเมนิ ประสบการณ์ของคนๆหนึ่ง ส่งิ ทข่ี าดหายไประหว่าง
การเสนอให้กับสง่ิ ที่ไดร้ ับจะเป็นรากฐานของการพอใจและไม่พอใจได้

สง่า (2540) กล่าววา่ ความพงึ พอใจ หมายถึงความร้สู กึ ทีเ่ กิดขน้ึ เมื่อไดร้ ับผลสาเรจ็ ตาม
ความมุง่ หมายหรือเป็นความรสู้ ึกข้นั สดุ ท้ายท่ไี ดร้ บั ผลสาเร็จตามวตั ถุประสงค์

จากการตรวจเอกสารข้างต้นสรุปได้ว่า ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรูส้ ึกทีด่ หี รือทัศนคติท่ีดี
ของบุคคล ซ่ึงมักเกิดจากการได้รับการตอบสนองตามท่ีตนต้องการ ก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อส่ิงนั้น
ตรงกนั ข้ามหากความต้องการของตนไม่ไดร้ บั การตอบสนองความไม่พึงพอใจก็จะเกดิ ขนึ้

2.8 ผลงานวิจยั ท่เี กยี่ วข้อง

2.8.1 การวิจัยเรื่องการศึกษาเพ่ือการออกแบบเครื่องประดับสตรีประเภทกาไลโดยใช้วัตถุ
ประเภทพลาสติกเหลว

ท่ามกลางความเจริญของสังคมมนุษย์ในปัจจุบันน้ี ทาให้เกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรง และ
ไม่หยุดย้ังในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเทคโนโลยี หรือด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน
ภาคอุตสาหกรรม การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมนี้เองท่ีทาให้เกิดของเสียจากกระบวนการผลิต
ออกมาปนเปื้อนกับส่ิงแวดล้อมและทาให้ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ที่อยู่ในทะเลซึ่งเป็นลาดับสุดท้ายท่ีของเสีย
เหลา่ น้ันจะไปรวมตวั กันอยู่ ได้รบั ผลกระทบอยา่ งรุนแรงส่งผลใหจ้ านวนทรัพยากรใต้ทะเลมจี านวนลด

- 13 -

น้อยลงไปจนถึงข้นั วกิ ฤติ หอยมกุ จดั เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตใิ ตท้ อ้ งทะเลที่มีความสาคัญอยา่ งย่ิง และ
เป็นส่ิงมีชีวิตอีก ประเภทหนึ่งท่ีได้รับผลกระทบดังกล่าวอย่างรุนแรงจนอาจจะถึงขั้นสูญพันธ์ุได้ใน
ระยะเวลาอันส้ันน้ี เปลือกของหอยหยก ซึ่งถูกนามาใช้เป็นวัสดุหลักในการประดับมุก โดยในงาน
ประดับมกุ น้นั จาเปน็ ต้อง ใช้เปลอื กทมี่ ขี นาดใหญ่ แต่ในปัจจบุ ันนี้เปลือกหอยมุกที่มีขนาดใหญ่น้ันก็หา
ได้ยากข้ึน ประกอบกัน การขาดการอนุรักษ์อย่างจริงจัง จึงส่งผลให้จานวนหอยมุกที่มีขนาดใหญ่ลด
จานวนลงอย่างรวดเร็ว จนอาจถึงข้ันสูญพันธุ์ได้ในอนาคตอันใกล้น้ี เน่ืองด้วยสภาพดังกล่าวนี้หากไม่
สามารถหาวัสดุอย่างอื่น มาทดแทนหอยมุกได้ ทรัพยากรอันทรงคุณค่าน้ีก็จะสูญไปจากธรรมชาติ
อยา่ งไมต่ ้องสงสัย วสั ดจุ ากธรรมชาตทิ จี่ ะสามารถนามาใช้ทดแทนเปลือกหอยมุกได้นนั้ ก็ยังเป็นปัญหา
ใหญ่ท่ีไม่สามารถแก้ให้ สาเร็จได้ เน่ืองจากคุณสมบัติของเปลือกหอยมุกน้ันมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวท่ี
สาคญั กองหตั ถศิลป์ กรมศิลปากร (2525: 45) ได้อธบิ ายเก่ียวกับหอยมุกไว้วา่ มุกทีเ่ ราเอามาประดับ
ลงบนของใช้ต่างๆ น้ัน คือ เปลือกหอยทะเลชนิดที่มีประกาย แวววาว ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด เชน่
หอยดูด หอยนมสาว หอยงวงช้าง หอยจอบ และหอยสองฝา ชนิดท่ีให้ไข่มุก เป็นต้น แต่หอยที่นามา
ประดับในผลงานช้ิน เยี่ยมๆ ของไทยเรานั้น ศาสตราจารย์หลวงศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปัทมจินดา)
(2525) ผ้เู ช่ยี วชาญ ทางดา้ นศิลปะไทยและสถาปตั ยกรรมไทย กล่าวว่าสว่ นใหญใ่ ชห้ อยอดู ท้ังสิ้น หอย
อดู ตัวกลมๆ คล้าย หอยโข่ง เมื่อนาเอามาขัดแล้วจะให้สีเป็นประกายรุ้งเลื่อมลายแพรวพราว เรียกกัน
ตามภาษาพื้นบ้าน ว่า “มุกไฟ” มีอยู่มากในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณเกาะภูเก็ต อ่าวไทยก็มีอยู่
เหมือนกัน แต่ปัจจุบันหา ได้ยากแล้ว จะเห็นได้ว่า วัสดุท่ีใช้นั้นเป็นส่ิงที่ได้มาจากธรรมชาติทั้งสิ้น แต่
จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของมนุษย์ท่ีนามาเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้โดยไม่คานึงถึงความพอดี
ทาให้เปลือกหอยมุกมีจานวน ลดน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ส่งผลถึงงานประดับมุกท่ีจะขาดแคลนวัสดุ
หลกั ในการทางาน รวมทั้งใน ปัจจุบันนยี้ ังขาดช่างที่มีทักษะการท างานทีต่ ้องอาศยั ความละเอยี ดอ่อน
และมีขั้นตอนยุ่งยากเช่นนี้ได้ ยากเต็มทีจึงทาให้ขาดการสืบทอดและอาจสูญหาย และเพื่อจะให้งาน
อันทรง คุณค่าแขนงน้ีดารงอยู่ เราจึงต้องคิดหาหนทางแก้ปัญหาเพื่อที่จะชะลอการสูญเสียทรัพยากร
ธรรม ชาติที่สาคัญจึงจาเป็น จะต้องศึกษาหาวัสดุท่ีสามารถนามาใช้ทนแทนเปลือกหอยมุกในงาน
ประดับมุกได้และที่สาคัญก็คือ วัสดุท่ีนามาใช้นั้นจะต้องมีคุณภาพและคุณสมบัติท่ีเหมือนกันหรือมี
คล้ายคลึงกนั กับเปลอื กหอยมุกให้ ได้มากทสี่ ุด การวิจยั ครัง้ นีม้ ีวัตถุประสงคค์ อื
1)เพือ่ ศึกษาคณุ สมบัตขิ องอีพอ็ กซ่เี รซน่ิ
2)เพ่อื ออกแบบและพัฒนารปู แบบเคร่ืองประดับสตรปี ระเภทกาไล
ท่ที าจากเงินโดยใช้วัสดปุ ระเภทพลาสตกิ เหลว ได้แก่ อีพอ็ กซีเ่ รซน่ิ ซึ่งใช้วิธกี ารวิจยั เชิงปรมิ าณผมู้ วี ิจัย
เลือกวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและมีกรอบ แนวคิดของการออกแบบและพัฒนา
ประกอบด้วย กระบวนการออกแบบและพัฒนาท่ีสาคัญ 5 ข้ันตอน คือ เร่ิมจากข้ันตอนแรก เป็น
การศึกษาวัสดุประเภทพลาสติกเหลว ข้ันตอนที่2 เป็นการ ออกแบบเคร่ืองประดับสตรีประเภทกาไล

- 14 -

โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ เครื่องประดับสตรปี ระเภท กาไล ที่ทาจากพลอยสเี ขียว พลอยหลาก
สี และพลอยสีดา ข้ันตอนท่ี3 เป็นการประเมินความพึงพอใจ ของผู้บริโภคเครอ่ื งประดับสตรีประเภท
กาไลที่มีต่อการรูปแบบเครื่องประดับ ด้วยการใช้แบบสอบถาม ขั้นตอนท่ี4เป็นการสร้างผลิตภัณฑ์
เครื่องประดับสตรีประเภทกาไล โดยใช้วัสดุอีพ็อกซี่เรซิ่น และ ขั้นตอนที่5 เป็นการประเมินผล
ผลิตภัณฑ์เคร่อื งประดบั สตรีประเภทกาไลโดยผบู้ ริโภค ดว้ ยการใช้ แบบสอบถาม ผลการวจิ ัยคร้ังน้ีทา
ให้เคร่ืองประดับสตรีประเภทกาไล ท่ีทาจากเงิน โดยใช้วัสดุ ประเภทพลาสติกเหลว ได้แก่ อีพ็อกซี่เร
ซ่ิน ที่มีคุณสมบัติแวววาว ความสวยงาม และความคงทนได้ ดีกว่าเปลือกหอยมุก ธรรมชาติและ
สามารถนามาทาเคร่ืองประดับเงินประเภทกาไลได้และเป็นที่พึง พอใจของผู้ท่ีใช้งานสามารถนาผล
วิจัยคร้ังน้ีไปพัฒนารูปแบบเครื่องประดับชนิดต่างๆ และสร้างองค์ ความรู้ใหม่ด้านนวัตกรรมการ
ออกแบบได้อีก 1 องค์ความรู้ จาก สภาพปญั หาดงั กล่าว ผวู้ จิ ัยจึงมีความเห็นว่า การหาวตั ถทุ ่สี ามารถ
นามาทดแทนเป็นเปลือกหอยมุกได้ เป็นส่ิงจาเป็น ซึ่งจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันน้ีความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีก้าวไกลไปมาก ทาให้มีการผลิต คิดค้นวัสดุใหม่ๆ ท่ีสังเคราะห์ขึ้นมา เพื่อทดแทนส่ิงของ
หลายๆ อย่างและวัสดุแต่ละตัวน้ันต่างก็มี คุณสมบัติเด่นเฉพาะตัวท่ีแตกต่างกันไป จากการศึกษาตัว
วัสดุและความเป็นไปได้ในการนามาใช้ เบื้องต้นแล้ว วัสดุอย่างหนึ่งที่น่าสนใจนามาศึกษาและพัฒนา
เพ่ือทดแทนเปลือกหอยมุก น่ันก็คือ พลาสติกเหลวที่เรียกว่า อีพ็อกซ่ีเรซ่ิน ซึ่งเป็นวัสดุท่ีทนต่อความ
ร้อน กรดด่าง กันรอยขีดข่วน มักใช้ กันในงานเคลือบสีรถยนต์เป็นหลัก โดยนามาทดลองและพัฒนา
ให้ได้พลาสติกเหลวที่มีสีสัน ความแวววาว และคุณสมบัติท่ีใกล้เคียงกับเปลือกหอยมุกให้ได้มากที่สุด
และเป็นการลดต้นทุนการผลิตและยัง ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วรรณรัตน์ ตั้งเจริญ (2537:13)
ได้กล่าวไว้ ผ้ทู จ่ี ะสรา้ งสรรค์สงิ่ ตา่ งๆ ได้ดีนนั้ ต้องมีความคดิ และเข้าใจรูปแบบเปน็ อยา่ งดี จะตอ้ งรู้จัก
และเข้าใจคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดด้วยว่ามีความเหนียว แน่น มีความทนทานมีการหดตัว
ขยายตัวมากน้อยเพียงใด สามารถสร้างสรรค์เป็นรูปทรงได้อย่างไร และยังควรเข้าใจวิธีการ
เปล่ียนแปลงรูปแบบของวัสดุน้ันด้วยผู้วจิ ัยจึงเห็นความสาคัญของพลาสติกพ็อกซ่ีเรซ่ินเพ่ือท่ีจะนามา
ทดแทนเปลือกหอยมุก โดยการทดลองผสมสีด้วยส่วนผสมต่างๆ ในอัตราส่วนที่ต่างกัน และทาการ
บันทึกเก็บข้อมูล เพื่อนามาใช้ ทดแทนเปลือกหอยมุกในสายตาของผู้บริโภคมาก ท่ีสุด โดยมีเกณฑ์ใน
เรื่องของความแวววาวสีสัน และความคงทนเป็นหลักสาคัญโดยนามาออกแบบร่วมกับงาน
เคร่ืองประดับ เพ่ือให้ได้เคร่ืองประดับ เพื่อให้ได้เคร่ืองประดับท่ีมีความเป็นไทย คงความ เป็น
เอกลกั ษณ์ ความงาม ทันต่อกระแสสังคมในด้านการอนุรักษ์ โดยใช้เครอ่ื งประดับเป็นเหมือน ตวั แทน
ในการบอกเล่าเรอื่ งราวของภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ จากข้อมลู ขา้ งต้นจึงเป็นแนวทาง
ให้ผู้วิจัยจะทาการศึกษาและพัฒนาสว่ นผสมของพลาสติก เหลวอีพ็อกซี่เรซ่ิน ให้มีคุณสมบัติใกล้เคียง
กบั เปลอื กหอยมกุ มากทส่ี ดุ ทง้ั สี และความแวววาว เพื่อให้ กลายเป็นวัสดุทดแทนที่มบี ทบาทสาคัญใน
การลดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อสร้าง นวัตกรรมใหม่ให้มีประโยชน์ต่อสังคม และ

- 15 -

ส่ิงแวดล้อม เพ่ือที่จะแสดงให้เห็นว่าพลาสติกเหลวอีพ็อกซ่ีเรว่ิน สามารถนามาใช้เป็นวัสดุทดแทน
แทนหอยมุกในการใช้งานประดับมุก ท่ีมีความคงทนและ สวยงามกว่าวัสดุธรรมชาติมาใช้และนาไปสู่
การช่วยลดปริมาณการสูญเสยี ของหอยมุกในธรรมชาติ โย การวิจัยครั้งน้ถี ึงแมจ้ ะเป็นเร่ืองเล็กๆ ทีค่ น
มองข้ามไป ผลที่ได้ไม่ใช่เพียงแค่ในเร่ืองการมอง ปัญหาไป ลึกถึงรากฐานทางวัฒนธรรม และ
พฤติกรรมของผู้บริโภคเพื่อนาข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาผลิตเป็น เครื่องประดับที่ร่วมสมัย มีกลิ่นของ
วัฒนธรรมของความเป็นไทยเข้าไปด้วย ซึ่งควบคู่ไปด้วยกันกับ ความสวยงาม และในอนาคตข้างหนา้
กอ็ าจมกี ารพฒั นาต่อยอดในการสร้างวสั ดุทดแทนวัสดธุ รรมชาติ มีการบูรณาการองค์ความรู้อย่างเป็น
ระบบ และเป็นรูปธรรมกันมากข้ึนของนักออกแบบรุ่นใหม่ให้ได้ เป็นองค์ความรู้และในขณะเดียวกัน
เป็นนวัตกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติโดยใช้ แบบสอบถาม แบบลิเคิร์ท ( Likert
Scale ) จากนนั้ ไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean)

1. สรุปผลการประเมินการออกแบบจากผู้เช่ยี วชาญภาพรวมทุกด้านมีความเหมาะสมดี ( ̅=4.12) ซง่ึ
จาแนกเปน็ รายดา้ น ดังนี้

ดา้ นท1ี่ ความมเี อกลกั ษณม์ คี วามเหมาะสมดี ( ̅=4.34)
ดา้ นท2่ี ความสวยงามมีความเหมาะสมดี ( ̅=3.98)
ด้านท3ี่ ความสะดวกในการใชง้ านมีความเหมาะสมดี ( ̅=4.14)
ดา้ นท4ี่ ความปลอดภยั มคี วามเหมาะสมดี ( ̅=4.03)

2. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อผลิตภัณฑ์ภาพรวมทุกด้านมีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมาก ( ̅=3.91) ซึ่งจาแนกเป็นรายด้าน ดังนี้ ด้านท่ี1 ความมีเอกลักษณ์มีความ
พึง พอใจอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.24) ด้านท่ี2 ความสวยงามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
( ̅=3.62) ด้านที่3 ความสะดวกในการใชง้ านมีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก ( ̅=3.94) และดา้ น
ท่ี4 ความ ปลอดภัยมีความพึงพอใจอยู่ระดับ ( ̅=3.85) ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะของ
ผลิตภณั ฑ์ มีความ เหมาะสมกบั การผลิตเปน็ ผลติ ภัณฑ์ของชมุ ชนได้เป็นอยา่ งดี
(ท่มี า: file:///C:/Users/Admin_ 2019/ Downloads/Sayombhu_P.pdf)

บทท่3ี
วธิ ีการดาเนินการจัดทาโครงการ

การศกึ ษาความพึงพอใจของกลุ่มตวั อยา่ งท่มี ีต่อผลิตภัณฑจ์ านรองแกว้ จากเรซ่นิ แผนก
วชิ าการบัญชี วิทยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน ได้ดาเนนิ การตามลาดับขนั้ ตอน ดังน้ี

3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง
3.2 เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ
3.3 การสรา้ งและหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู
3.6 สถติ ใิ นการใช้วเิ คราะหข์ ้อมูล
3.7 คานวณตน้ ทนุ สนิ ค้าและจดุ คุ้มทุน

3.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

3.1.1 ขอบเขตดา้ นเนอื้ หาการประเมินในคร้งั น้ี ไดแ้ ก่ประชาชนในเขตพนื้ ที่ บ้านหนองชาด
หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง จานวน ประชากร 798 ชาย 422 หญงิ 376
(ที่มา: นาย วริ ะ เกษมราช :ผ้ใู หญ่บ้าน บ้านหนองชาด วันที่ 10 ธนั วาคม 2564)

3.1.2 กลุ่มตัวอย่างได้จากการตอบแบบสอบถามกลุ่มเป้าหมายโดยกาหนดขนาดกลุ่ม
ตวั อยา่ งแบบส่มุ ตามสะดวก จานวน 50 คน หญงิ จานวน 25 คน ชาย จานวน 25 คน

- 17 -

3.2 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในในคร้ังนี้ เป็นแบบสอบถาม ท่ีนักเรียนได้สร้างขึ้น
จากการศึกษา เอกสารท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งมีลักษณะเป็นคาถามแบบปลายปิดปลายเปิด แบ่งออกเป็น 3
ส่วน ดังน้ี

ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามที่เก่ียวข้องกับสถานภาพ คือ เพศ อายุ อาชีพส่วนที่ 2 แบบสอบถาม
เกยี่ วกบั ความพึงพอใจของประชากรทมี่ ตี ่อผลติ ภณั ฑ์จานรองแกว้ จาก
เรซ่ิน ของนกั เรยี นแผนกวิชาการบัญชี วทิ ยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน ซง่ึ มีลกั ษณะเปน็ แบบมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ลาดบั ตามวธิ ีของ ลเิ คริ ท์ เคล โดยค่าแตล่ ะระดบั มีความหมายดังนี้ หาคา่ (Mean: ̅̅)
และส่วนที่เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: SD) แล้วนาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์แปล
ความหมายโดยกาหนดน้าหนกั ค่าถัวเฉลย่ี 5 ระดับ ตามวธิ ขี อง ลิเคริ ท์ เคล ดงั น้ี

1 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ยที่สุด
2 หมายถงึ ความพึงพอใจน้อย
3 หมายถงึ ความพงึ พอใจปานกลาง
4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
5 หมายถงึ ความพึงพอใจมากท่สี ุด
ส่วนท่ี 3 วิเคราะห์เกี่ยวกับข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการดาเนินงานโดย
วเิ คราะห์ความถแ่ี ละวเิ คราะห์เชิงพรรณนา

3.3 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

การสร้างเครือ่ งมือ นักเรียนไดม้ ีขน้ั ตอนในการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลใน
การประเมนิ ดงั นี้

3.3.1 ศึกษาทฤษฎตี ่างๆจากเอกสารที่เก่ยี วกับความพึงพอใจรวมทั้งงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง
3.3.2 ผู้จัดทาสร้างแบบสอบถามโดยวิเคราะห์จากนิยามศัพท์เฉพาะท่ีผู้จัดต้ังข้ึนเพื่อใช้ใน
การประเมนิ ครงั้ น้ี
3.3.3 จดั พิมพ์แบบสอบถามเพ่ือนาไปเก็บกลุ่มตวั อย่าง

- 18 -

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ผู้จัดทาดาเนินการแจกแบบสอบถามใหก้ ับผตู้ อบแบบสอบถาม จานวนทงั้ หมด 50 คน
และเก็บรวบรวมแบบสอบถามคืน และทาการตรวจสอบความถูกต้องของการตอบแบบสอบถามใน
การเก็บรวบรวมข้อมูลจานวน 50 ชุด รับคืน 50 ชุด ชุดตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ได้จานวน 50
ชุด คดิ เปน็ ร้อยละ 90 ของแบบสอบถามท้งั หมด

3.5 การวิเคราะห์

ผู้จัดทานาแบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปมี
ขนั้ ตอนการวิเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี

3.5.1 วเิ คราะห์สถานภาพเกยี่ วกบั เพศ อายุ อาชพี ของผูต้ อบแบบสอบถามโดยใช้
การแจกแจงความถี่ (Frequency) และรอ้ ยละ (Percentage)

3.5.2 วิเคราะหร์ ะดบั ความพงึ พอใจของผู้ตอบแบบสอบถามโดยหาค่าเฉลี่ย (Mean: ̅̅)
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: S.D.) และนาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์แปล
ความหมายโดยกาหนดน้าหนกั ของค่าเฉลยี่ 5 ระดบั ตามวธิ ขี อง ลเิ คริ ์ท เคล ดังน้ี

คะแนนเฉลย่ี 1.00 - 1.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อยท่สี ุด
คะแนนเฉลีย่ 1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย
คะแนนเฉลยี่ 2.50 – 2.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลยี่ 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพงึ พอใจมากทส่ี ุด
3.5.3 วิเคราะห์เก่ียวกับข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการดาเนินงานโดย
วิเคราะห์ความถแ่ี ละวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณนา

- 19 -

3.6 สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล

สถติ ิพื้นฐาน ได้แก่
3.6.1 ความถี่ (Frequedncy)
3.6.2 คา่ รอ้ ยละ (Percentage)
3.6.3 คา่ เฉลยี่ (Mean: ̅)̅
3.6.4 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation: S.D.)

3.7 คานวณหาต้นทนุ สนิ คา้ และจดุ คุม้ ทนุ

3.7.1 ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์

ลาดบั ท่ี รายการ จานวน ราคาตอ่ หน่วย ราคารวม
(บาท)
นบั (บาท) 289
100
1 น้ายาเรซิ่น 2 ชดุ 143 55
90
2 แบบพมิ พจ์ านรองแก้ว 4 ชน้ิ 25 200
10
3 สอี ะคริลิค 1 กล่อง 55 741

4 ผลไมอ้ บแหง้ 2 ชุด 45

5 ไมส้ ัก 1 ทอ่ น 200

6 กระดาษ 10 แผน่ 1

รวม - -

ตัวอกั ษร (เจด็ ร้อยส่สี บิ เอ็ดบาท)

ตารางที่ 3 แสดงตน้ ทนุ ผลิต

3.7.2 ราคา

ต้นทนุ 741 บาท 741/15 = 49

ค่าแรง 15% 49*15% = 7.35

กาไร 20% 49*20% = 9.80

ราคาขาย = 66.15

ส่วนต่าง = 12.85

ราคาขายจรงิ = 79

- 20 -

3.7.3 จดุ ค้มุ ทุน

จานวน ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ค่าแรง 15% กาไร 20% ส่วนต่าง ราคาขาย
(บาท) (บาท)
(ช้ิน) (บาท) (บาท) (บาท) 12.85 79
25.70 158
1 49 7.35 9.80 38.55 237
51.13 316
2 98 14.70 19.60 63.98 395
76.83 474
3 147 22.05 29.40 89.68 553
102.53 632
4 196 29.40 39.20 115.38 711
128.23 790
5 245 36.75 49 141.08 869
153.93 948
6 294 44.10 58.80 166.78 1,027
179.63 1,106
7 343 51.45 68.60 192.48 1,185
205.33 1,264
8 392 58.80 78.40

9 441 66.15 88.20

10 490 73.50 98

11 539 80.85 107.80

12 588 88.20 117.60

13 637 95.55 127.40

14 686 102.90 137.20

15 735 110.25 147

16 784 117.60 156.80

ตารางที่ 4 แสดงจุดค้มุ ทุน

หมายเหตุ ต้องขาย 10 ชน้ิ จงึ จะคมุ้ ทุน



บทท4ี่
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

จากการศึกษาความพึงพอใจในสนิ ค้าของผซู้ ื้อสินค้าและผู้ตอบแบบสอบถามที่มตี ่อการจัดทา
จานรองแก้วจากเรซ่ินของนักศึกษาแผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน ผู้จัดทาได้ทา
การวิเคราะห์ข้อมลู ตามลาดับดังนี้

4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกับสถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.2 ผลวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของประชากรในเขตพ้ืนที่พื้นที่บ้านหนองชาด
หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดนิ อาเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ทม่ี ีตอ่ ผลิตภณั ฑ์จานรองแก้วจาก
เรซน่ิ
4.3 ผลการวเิ คราะหเ์ น้อื หา จากแบบสอบถามปลายเปดิ เปน็ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ของผตู้ อบแบบสอบถาม

4.1ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เกยี่ วกับสถานภาพสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจ

สอบรายการ (Check List) มีจานวน 3 ขอ้

4.1.1 สถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียว

กับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศแสดงจานวนและค่าร้อยล่ะปรากฏ ดัง

ตารางท่ี 4.1 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้าน

เพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

1.ชาย 25 50

2.หญิง 25 50

รวม 50 100

จากตารางที่ 4.1 พบว่า เพศของผู้ตอบแบบสอบถามมากท่สี ดุ ไดแ้ ก่ เพศหญิงจานวน 25 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 50 และเพศชายจานวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 50

- 22 -

4.1.2 สถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอายุ

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเกยี่ วกบั สถานภาพสว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านอายุแสดง

จานวนและค่ารอ้ ยละ

ปรากฏดังตารางที่ 4.2 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบคุ คลผู้ท่ีตอบแบบสอบถาม

ในดา้ นอายุ

อายุ จานวน รอ้ ยละ

1.อายุตา่ กวา่ 20 ปี 12 24

2.อายุ 21-25 ปี 12 24

3.อายุ 26-30 ปี 8 16

4.อายุ 31 ปขี นึ้ ไป 18 36

รวม 50 100

จากตารางที่ 4.2 พบว่าอายุของผู้ตอบแบบสอบถามมากท่ีสุดได้แก่ อายุ 31 ปีขึ้นไป

จานวน 18 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 36 รองลงมาคือ อายตุ า่ กว่า 20 ปี จานวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 24

อายุ 21-25 ปี จานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 24 ลาดับต่อไปคือ อายุ 26-30 ปี จานวน 8 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16

4.1.3 สถานภาพส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอาชีพ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในดา้ นอาชพี ผล

ปรากฎ ดังตารางที่ 4.3 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของสถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ทตี่ อบแบบสอบ

ถามในอาชีพ

อาชพี จานวน รอ้ ยละ

1.นักเรยี น/นกั ศึกษา 19 38

2.หน่วยงานราชการ 2 4

3.เกษตรกร 24 48

4.อน่ื ๆ 4 8

รวม 50 100

จากตารางที่ 4.3 พบว่าอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถามมากท่ีสุด ได้แก่อาชีพเกษตรกร จานวน 24
คน คิดเป็นร้อยละ 24 รองลงมาคือ นักเรียน/นักศึกษา จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 38 อื่นๆ
จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8 ลาดับตอ่ ไปคือ หน่วยงานราชการ จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4

- 23 -

4.1.4 สถานภาพสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถามในด้านการศึกษา

ผลวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ที่ตอบแบบสอบถามในด้านการศึกษา

ผลปรากฎ

ดังตารางที่ 4.4 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ที่ตอบแบบสอบ ถามใน

ดา้ นการศึกษา

การศึกษา จานวน ร้อยละ

1.ต่ากว่า ม.3 29 58

2.ม.6/ปวช. 15 30

3.ปวส.เทียบเท่า 7 14

4.ปริญญาตรขี น้ึ ไป 4 8

รวม 50 100

จากตารางท่ี 4.4 พบว่าการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามมากท่ีสุด ได้แก่ ต่ากว่า ม. 3
จานวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 58 ม.6/ปวช. จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30 ปวส./เทียบเท่า
จานวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14 ปรญิ ญาตรขี ึ้นไป จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8

- 24 -

4.2 ผลวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลิตภัณฑ์
จานรองแกว้ จากเรซิน่

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลิตภัณฑ์จานรองแก้ว

จากเรซ่ินเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 4 ด้าน จานวน 15 ข้อ

ดังนี้

ผลวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของประชากรท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ จานรองแก้ว

จากเรซ่ินนีแ้ สดงคา่ เฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรตราฐานความพึงพอใจของประชากรที่ทตี ่อผลิตภัณฑ์

จานรองแก้วจากเรซ่นิ จาแนกเปน็ รายขอ้

ความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ̅ S.D. แปลผล อันดับที่

จานรองแกว้ จากเรซิ่น

1. ผลิตภณั ฑ์มีความสวยงาม 4.58 0.61 มากที่สุด 2

2. ความคดิ สร้างสรรค์ของการจดั ทาผลิตภณั ฑ์ 4.16 0.79 มาก 6

3. ผลติ ภณั ฑ์มเี อกลักษณ์เฉพาะตวั 4.06 0.77 มาก 7

4. ผลิตภณั ฑ์ตรงกบั ความต้องการ 4.00 0.90 มาก 10

5. ผลิตภัณฑ์มีการออกแบบลวดลายจากวัสดุ

ธรรมชาติ 4.28 0.88 มาก 5

6. แสดงป้ายราคาผลติ ภณั ฑ์ทีช่ ัดเจน 4.48 0.65 มาก 3

7. คณุ ภาพของผลิตภัณฑ์เหมาะสมกบั ราคา 3.90 0.81 มาก 12

8. กาหนดราคาที่สามารถลดได้ต่อรองได้ 3.82 0.87 มาก 13

9. ราคาเหมาะสมกบั คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ 3.74 0.66 มาก 14

10. บรรจภุ ณั ฑม์ รี ปู แบบสวยงาม 4.40 0.67 มาก 8

11. แสดงปา้ ยราคาและชอื่ ผลติ ภัณฑ์ชดั เจน 4.40 0.49 มาก 9

12. การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์เหมาะสมกับสนิ ค้า 3.94 0.71 มาก 11

13. ผลิตภัณฑ์สามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 4.68 0.51 มากท่สี ุด 1

14. ผลิตภณั ฑ์สามารถสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับตวั เอง 4.38 0.64 มาก 4

15. ผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรบั สกู่ ารผลิตเชงิ พาณิชย์ 3.66 0.80 มาก 15

จากตารางท่ี 4.5 พบว่าระดับความพึงพอใจของประชากรที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์จานรองแก้ว
จากเรซน่ิ จาแนกเป็นรายข้อ

- 25 -

จากตาราง4.5 ในระดับความพึงพอใจของประชากรท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซิ่น

ในเขตพื้นท่ีบ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

เม่อื จาแนกเปน็ รายข้อข้อที่ได้รบั ความพึงพอใจ อนั ดับท่ี 1 คือข้อท่ี 13 ผลติ ภณั ฑส์ ามารถนาไปใช้ใน

ชีวิตประจาวันได้ ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68 อันดับที่ 2 คือข้อที่ 1

ผลิตภัณฑ์มีความสวยงาม ระดับความพึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 อันดับที่ 3 คือข้อท่ี 6

แสดงป้ายราคาผลิตภัณฑ์ท่ีชดั เจน ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.48 อันดับท่ี 4 คือข้อ

ที่ 14 ผลิตภัณฑ์สามารถสร้างรายได้ให้กับตัวเอง ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.38

อนั ดบั ท่นี อ้ ยที่สดุ คอื ขอ้ ที่ 5 ผลติ ภัณฑม์ กี ารออกแบบลวดลายจากวสั ดธุ รรมชาติ ระดบั ความพงึ พอใจ

มาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28

จากการทีว่ เิ คราะห์ข้อมูลท่ไี ดเ้ ก่ยี วกับระดับความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลติ ภัณฑ์จาน

รองแก้วจากเรซ่ิน จาแนกตามรวมและรายด้าน แสดงค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึง

พอใจของประชากรทีม่ ตี อ่ ผลติ ภณั ฑ์จานรองแก้วจากเรซนิ่

ความพึงพอใจของประชากรท่มี ีต่อ ̅ S.D. แปลผล อนั ดบั ที่

ผลิตภณั ฑ์จานรองแก้วจากเรซ่นิ

1.ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ 4.22 0.82 มาก 2

2.ด้านราคา 4.00 0.80 มาก 3

3.ด้านบรรจุภณั ฑ์ 4.22 0.82 มาก 2

4.ด้านประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์ 4.24 0.78 มาก 1

ความพึงพอใจผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ 4.17 0.78 มาก
ผลิตภณั ฑจ์ านรองแกว้ จากเรซน่ิ ภาพรวม

จากตารางที่ 4.6 ระดับความพึงพอใจของประชากรท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซน่ิ
ในเขตพื้นที่บ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร จาแนก
เป็นรายด้านและภาพรวมในระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.17 ด้านที่ได้รับ
ความพึงพอใจมากท่ีสุด คือด้านท่ี 4 ด้านประโยชน์เชิงพาณิชย์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ซ่ึงค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 รองลงมาคือด้านที่ 1 ด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.22 และด้านที่ 3 ด้านบรรจุภัณฑ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.22 ดา้ นที่ 4 ดา้ นราคาความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมากคา่ เฉล่ียเทา่ กับ 4.00

- 26 -

4.3 ผลการวิเคราะหเ์ นื้อหาจากแบบสอบถามปลายเปดิ เปน็ ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ

การวิเคราะห์เน้ือหาจากแบบสอบถามปลายเปิด เป็นข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ของ

ประชากรทมี่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซ่ินในเขตพ้ืนท่ีบ้านหนองชาด หมู่ 10ตาบลสวา่ งแดนดิน

อาเภอสวา่ งแดนดิน จงั หวดั สกลนคร ปรากฏผลดังต่อไปนี้

ลาดับท่ี ขอ้ เสนอแนะผู้ตอบแบบสอบถาม ความถี่

1 ควรมีลวดลายมากขน้ึ 5

2 ขนาดเลก็ เกินไป 4

3 ราคาสูงเกินไป 4

4 มีอากาศในชน้ิ งาน 2

5 ยังไมต่ รงกบั ความต้องการ 2

6 ควรมหี ลากหลายสมี ากกว่าน้ี 2

7 ควรมลี ายธรรมชาติมากกวา่ น้ี 1

8 ควรตกแต่งให้มากกว่านี้ 1

9 ควรมีลายดอกไม้ 1



บทท่ี 5

สรุปผลอภิปรายข้อเสนอแนะ

จากการประเมินในคร้ังน้ีได้ศึกษาถึงความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของผู้ซ้ือสินค้าและผู้ตอบ
แบบสอบถามในชมุ ชนบา้ นหนองชาดหมู่ 10 ตาบลสวา่ งแดนดนิ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวดั สกลนคร
สรปุ ผลการศกึ ษาตามลาดับดงั น้ี

5.1 สรุปผลการจดั ทาโครงการ

5.2 อภิปราย

5.3 ขอ้ เสนอแนะ

5.1สรปุ ผลการจัดทาโครงการ

จากการวิเคราะหข์ ้อมลู ระดับความพงึ พอใจในสินค้าของผซู้ ้ือสนิ คา้ และผู้ตอบแบบสอบถามท่ี
มีตอ่ การจดั ทาโครงการจานรองแกว้ จากเรซิ่นของนักเรียนแผนกวชิ าการบัญชี
วิทยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน สรุปผลการศึกษาได้ดงั นี้

5.1.1 ผู้ตอบแบบสอบถามมีเพศชาย 25 คน เพศหญิง 25 คนส่วนใหญ่มีอายุ 31 ปีข้ึนไป
อาชพี เกษตรกร

5.1.2 ด้านของความพึงพอใจของผู้ซื้อผลิตภณั ฑ์และผตู้ อบแบบสอบถามท่มี ีตอ่ โครงจานรอง
แก้วจากเรซ่ิน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อันดับท่ี 1 คือข้อท่ี 13
ผลิตภัณฑ์สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.68
อันดับที่ 2 คือข้อที่ 1 ผลิตภัณฑ์มีความสวยงาม ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58
อันดับท่ี 3 คือข้อท่ี 6 แสดงป้ายราคาผลิตภัณฑ์ท่ีชัดเจน ระดับความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.48 อันดับที่ 4 คือข้อที่ 14 ผลิตภัณฑ์สามารถสร้างรายได้ให้กับตัวเอง ระดับความพึงพอใจมาก
ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.38 อันดับท่ีน้อยที่สุด คือข้อท่ี 5 ผลิตภัณฑ์มีการออกแบบลวดลายจากวัสดุ
ธรรมชาติ ระดบั ความพึงพอใจมาก ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.28

- 28 -

5.1.3 จากการศึกษาความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อเสนอแนะอ่ืนๆ
มีดังนี้ อันดับที่ 1 คือมีลวดลายมากข้ึน อันดับท่ี 2 คือขนาดเล็กเกินไป อันดับท่ี 3 คือราคาสูงเกินไป
อันดับท่ี 4 คือมีอากาศในชิ้นงาน อันดับที่ 5 คือ ยังไม่ตรงกับความต้องการ อันดับท่ี 6 คือควร มี
หลากหลายสีมากกว่านี้ อันดับท่ี 7 คือควรมีลายธรรมชาติมากกว่าน้ี อันดับท่ี 8 ควรตกแต่งให้
มากกวา่ น้ี และอนั ดบั สุดทา้ ย ไดแ้ ก่ควรมีลายดอกไม้

5.2 อภปิ รายผล

จากการศกึ ษาถึงความจากการศึกษาระดบั ความพึงพอใจของผ้ตู อบแบบสอบถามในเขตพื้นที่
บา้ นหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พบว่ามรี ะดับความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อจานรองแก้วจากเรซิ่น
คณะผจู้ ดั ทาพบประเด็นทน่ี า่ สนใจบางประเดน็ จงึ นามาอภิปรายผลดงั น้ี

5.2.1 ด้านประโยชน์เชิงพาณิชย์การศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ที่ตอบแบบสอบถามใน
เขตชุมชนบ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เรื่องท่ี
ไดร้ บั ความพึงพอใจมากคอื ผลติ ภัณฑ์สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ มีค่าเฉลีย่ เทา่ กบั 4.68

5.2.2 ดา้ นผลิตภณั ฑจ์ ากการศกึ ษาระดบั ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามในเขตชุมชน
บา้ นหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวัดสกลนคร เร่ืองท่ีได้รบั ความพึง
พอใจมากที่สุดคอื ผลิตภัณฑม์ คี วามสวยงาม มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.58

5.2.3 ด้านบรรจุภณั ฑจ์ ากการศกึ ษาระดับความพงึ พอใจของผู้ตอบแบบสอบถามในเขตพื้นที่
บ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสวา่ งแดนดนิ อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เรื่องที่ได้รบั ความพึง
พอใจมากที่สดุ คอื บรรจภุ ัณฑ์มีรูปแบบสวยงาม มคี า่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.40

5.2.4 ด้านราคาการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามในเขตชุมชน
บ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พบว่าเรื่องท่ีได้รับ
ความพึงพอใจมากคอื แสดงปา้ ยราคาผลติ ภณั ฑ์ท่ีชดั เจน มีค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 4.48

ส รุ ป ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ผู้ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ใ น เ ข ต ชุ ม ช น
บ้านหนองชาด หมู่ 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ลาดับท่ี 1 คือข้อที่
13 ผลิตภัณฑส์ ามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ และผตู้ อบแบบสอบถามสูงสุด รองลงมาลาดบั ท่ี 2

- 29 -

คือขอ้ ท่ี 1 เร่ืองผลิตภณั ฑม์ ีความสวยงามอย่ใู นระดับมาก ซ่งึ สอดคลอ้ งกับการศึกษากล่าวว่า ความ
พึงพอใจเปน็ ความรสู้ ึกภายในแตล่ ะคนเปรียบเทยี บระหว่างความคดิ เห็นต่อสภาพการณ์ทอี่ ยากให้เป็น
หรือความคาดหวังหรือรู้สึกว่าสมควรจะได้รับ ผลท่ีได้จะเป็นความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจเป็นการ
ตัดสนิ ของแตล่ ะบคุ คลซ่ึงมคี วามสอดคล้องกบั งานวิจยั ของไพฑูรย์ พรไพบูลยพ์ งษ์ ( 2557 ) การวจิ ยั
เร่ืองการศกึ ษาเพ่อื การออกแบบเคร่ืองประดับสตรปี ระเภทกาไลโดยใชว้ ตั ถุ ประเภทพลาสตกิ เหลว

ท่ามกลางความเจริญของสังคมมนุษย์ในปัจจุบันนี้ ทาให้เกิดการแข่งขันกันอย่างรุนแรง และ
ไม่หยุดย้ังในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเทคโนโลยี หรือด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ภาคอุตสาหกรรม การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมนี้เองท่ีทาให้เกิดของเสียจากกระบวนการผลิต
ออกมาปนเป้ือนกับส่ิงแวดล้อมและทาให้ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ท่ีอยู่ในทะเลซึ่งเป็นลาดับสุดท้ายท่ีของเสีย
เหล่านนั้ จะไปรวมตัวกันอยู่ ได้รับผลกระทบอย่างรนุ แรงส่งผลใหจ้ านวนทรัพยากรใต้ทะเลมจี านวนลด
น้อยลงไปจนถึงขน้ั วกิ ฤติ หอยมกุ จัดเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ ตท้ อ้ งทะเลทีม่ ีความสาคัญอย่างยง่ิ และ
เป็นสิ่งมีชีวิตอีก ประเภทหนึ่งที่ได้รับผลกระทบดังกล่าวอย่างรุนแรงจนอาจจะถึงขั้นสูญพันธุ์ได้ใน
ระยะเวลาอันสั้นน้ี เปลือกของหอยหยก ซ่ึงถูกนามาใช้เป็นวัสดุหลักในการประดับมุก โดยในงาน
ประดบั มุกนั้นจาเปน็ ต้อง ใชเ้ ปลอื กทมี่ ขี นาดใหญ่ แต่ในปัจจุบันน้ีเปลอื กหอยมกุ ที่มีขนาดใหญ่นั้นก็หา
ได้ยากขึ้น ประกอบกัน การขาดการอนุรักษ์อย่างจริงจัง จึงส่งผลให้จานวนหอยมุกท่ีมีขนาดใหญ่ลด
จานวนลงอย่างรวดเร็ว จนอาจถึงขั้นสูญพันธ์ุได้ในอนาคตอันใกล้นี้ เนื่องด้วยสภาพดังกล่าวน้ีหากไม่
สามารถหาวัสดุอย่างอ่ืน มาทดแทนหอยมุกได้ ทรัพยากรอันทรงคุณค่าน้ีก็จะสูญไปจากธรรมชาติ
อยา่ งไม่ตอ้ งสงสัย วสั ดุจากธรรมชาตทิ จ่ี ะสามารถนามาใช้ทดแทนเปลือกหอยมุกได้นน้ั กย็ ังเป็นปัญหา
ใหญ่ที่ไม่สามารถแก้ให้ สาเร็จได้ เนื่องจากคุณสมบัติของเปลือกหอยมุกนั้นมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวท่ี
สาคัญ กองหัตถศิลป์ กรมศลิ ปากร (2525: 45) ไดอ้ ธิบายเก่ียวกับหอยมุกไว้วา่ มุกทเ่ี ราเอามาประดับ
ลงบนของใช้ต่างๆ น้ัน คือ เปลือกหอยทะเลชนิดที่มีประกาย แวววาว ซ่ึงมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด เชน่
หอยดูด หอยนมสาว หอยงวงช้าง หอยจอบ และหอยสองฝา ชนิดท่ีให้ไข่มุก เป็นต้น แต่หอยท่ีนามา
ประดับในผลงานช้ิน เยี่ยมๆ ของไทยเราน้ัน ศาสตราจารย์หลวงศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปัทมจินดา)
(2525) ผูเ้ ชย่ี วชาญ ทางด้านศิลปะไทยและสถาปัตยกรรมไทย กล่าวว่าสว่ นใหญ่ใช้หอยอูดท้ังส้นิ หอย
อดู ตวั กลมๆ คล้าย หอยโข่ง เม่อื นาเอามาขัดแล้วจะใหส้ ีเปน็ ประกายรงุ้ เลื่อมลายแพรวพราว เรยี กกัน
ตามภาษาพื้นบ้าน ว่า “มุกไฟ” มีอยู่มากในมหาสมุทรอินเดีย บริเวณเกาะภูเก็ต อ่าวไทยก็มีอยู่
เหมือนกัน แต่ปัจจุบันหา ได้ยากแล้ว จะเห็นได้ว่า วัสดุท่ีใช้นั้นเป็นสิ่งที่ได้มาจากธรรมชาติท้ังส้ิน แต่
จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ของมนุษย์ท่ีนามาเอาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้โดยไม่คานึงถึงความพอดี
ทาให้เปลือกหอยมุกมีจานวน ลดน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ส่งผลถึงงานประดับมุกที่จะขาดแคลนวัสดุ

- 30 -

หลักในการทางาน รวมท้ังใน ปัจจุบันน้ียังขาดชา่ งท่ีมีทักษะการทางานท่ีต้องอาศัยความละเอียดอ่อน
และมีข้ันตอนยุ่งยากเช่นนี้ได้ ยากเต็มทีจึงทาให้ขาดการสืบทอดและอาจสูญหาย และเพื่อจะให้งาน
อันทรง คุณค่าแขนงน้ีดารงอยู่ เราจึงต้องคิดหาหนทางแก้ปัญหาเพื่อที่จะชะลอการสูญเสียทรัพยากร
ธรรม ชาติที่สาคัญจึงจาเป็น จะต้องศึกษาหาวัสดุที่สามารถนามาใช้ทนแทนเปลือกหอยมุกในงาน
ประดับมุกได้และที่สาคัญก็คือ วัสดุที่นามาใช้น้ันจะต้องมีคุณภาพและคุณสมบัติที่เหมือนกันหรือมี
คลา้ ยคลงึ กนั กับเปลอื กหอยมุกให้ ไดม้ ากทีส่ ดุ การวจิ ัยครั้งน้ีมีวตั ถปุ ระสงคค์ อื
1)เพ่ือศกึ ษาคุณสมบตั ขิ องอีพ็อกซเ่ี รซิ่น
2)เพอ่ื ออกแบบและพฒั นารูปแบบเคร่ืองประดับสตรปี ระเภทกาไล
ท่ที าจากเงินโดยใชว้ ัสดปุ ระเภทพลาสตกิ เหลว ไดแ้ ก่ อีพอ็ กซ่ีเรซ่นิ ซ่งึ ใชว้ ธิ ีการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณผู้มีวิจัย
เลือกวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและมีกรอบ แนวคิดของการออกแบบและพัฒนา
ประกอบด้วย กระบวนการออกแบบและพัฒนาที่สาคัญ 5 ข้ันตอน คือ เริ่มจากข้ันตอนแรก เป็น
การศึกษาวัสดุประเภทพลาสติกเหลว ขั้นตอนที่2 เป็นการ ออกแบบเคร่ืองประดับสตรีประเภทกาไล
โดยแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คอื เคร่ืองประดับสตรีประเภท กาไล ท่ที าจากพลอยสีเขยี ว พลอยหลาก
สี และพลอยสีดา ขั้นตอนท่ี3 เป็นการประเมินความพึงพอใจ ของผู้บริโภคเคร่ืองประดับสตรีประเภท
กาไลที่มีต่อการรูปแบบเคร่ืองประดับ ด้วยการใช้แบบสอบถาม ขั้นตอนที่4เป็นการสร้างผลิตภัณฑ์
เคร่ืองประดับสตรีประเภทกาไล โดยใช้วัสดุอีพ็อกซ่ีเรซิ่น และ ข้ันตอนท่ี5 เป็นการประเมินผล
ผลิตภัณฑ์เครื่องประดบั สตรีประเภทกาไลโดยผ้บู ริโภค ด้วยการใช้ แบบสอบถาม ผลการวจิ ยั คร้งั นี้ทา
ให้เครื่องประดับสตรีประเภทกาไล ที่ทาจากเงิน โดยใช้วัสดุ ประเภทพลาสติกเหลว ได้แก่ อีพ็อกซี่เร
ซ่ิน ที่มีคุณสมบัติแวววาว ความสวยงาม และความคงทนได้ ดีกว่าเปลือกหอยมุก ธรรมชาติและ
สามารถนามาทาเครื่องประดับเงินประเภทกาไลได้และเป็นที่พึง พอใจของผู้ท่ีใช้งานสามารถนาผล
วิจัยคร้ังนี้ไปพัฒนารูปแบบเคร่ืองประดับชนิดต่างๆ และสร้างองค์ ความรู้ใหม่ด้านนวัตกรรมการ
ออกแบบได้อีก 1 องคค์ วามรู้ จาก สภาพปญั หาดงั กล่าว ผ้วู จิ ยั จงึ มคี วามเห็นว่า การหาวัตถุทีส่ ามารถ
นามาทดแทนเป็นเปลือกหอยมุกได้ เป็นส่ิงจาเป็น ซ่ึงจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันน้ีความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีก้าวไกลไปมาก ทาให้มีการผลิต คิดค้นวัสดุใหม่ๆ ท่ีสังเคราะห์ข้ึนมา เพ่ือทดแทนสิ่งของ
หลายๆ อย่างและวัสดุแต่ละตัวน้ันต่างก็มี คุณสมบัติเด่นเฉพาะตัวท่ีแตกต่างกันไป จากการศึกษาตัว
วัสดุและความเป็นไปได้ในการนามาใช้ เบ้ือง ต้นแล้ว วัสดุอย่างหนงึ่ ที่นา่ สนใจนามาศึกษาและพัฒนา
เพื่อทดแทนเปลือกหอยมุก นั่นก็คือ พลาสติกเหลวที่เรียกว่า อีพ็อกซ่ีเรซิ่น ซ่ึงเป็นวัสดุท่ีทนต่อความ
ร้อน กรดด่าง กันรอยขีดข่วน มักใช้ กันในงานเคลือบสีรถยนต์เป็นหลัก โดยนามาทดลองและพัฒนา
ให้ได้พลาสติกเหลวที่มีสีสัน ความแวววาว และคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับเปลือกหอยมุกให้ได้มากท่ีสุด

- 31 -

และเป็นการลดต้นทุนการผลิตและยัง ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วรรณรัตน์ ต้ังเจริญ (2537:13)
ไดก้ ล่าวไว้ ผูท้ ่จี ะสร้างสรรคส์ ิ่งตา่ งๆ ไดด้ ีน้นั ตอ้ งมคี วามคิด และเขา้ ใจรูปแบบเปน็ อย่างดี จะตอ้ งรู้จัก
และเข้าใจคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิดด้วยว่ามีความเหนียว แน่น มีความทนทานมีการหดตัว
ขยายตัวมากน้อยเพียงใด สามารถสร้างสรรค์เป็นรูปทรงได้อย่างไร และยังควรเข้าใจวิธีการ
เปล่ียนแปลงรูปแบบของวัสดุนั้นด้วยผวู้ ิจัยจงึ เห็นความสาคัญของพลาสติกพ็อกซ่ีเรซิ่นเพื่อท่ีจะนามา
ทดแทนเปลือกหอยมุก โดยการทดลองผสมสีด้วยส่วนผสมต่างๆ ในอัตราส่วนที่ต่างกัน และทาการ
บันทึกเก็บข้อมูล เพ่ือนามาใช้ ทดแทนเปลือกหอยมุกในสายตาของผู้บริโภคมาก ท่ีสุด โดยมีเกณฑ์ใน
เร่ืองของความแวววาวสีสัน และความคงทนเป็นหลักสาคัญโดยนามาออกแบบร่วมกับงาน
เคร่ืองประดับ เพื่อให้ได้เคร่ืองประดับ เพ่ือให้ได้เครื่องประดับที่มีความเป็นไทย คงความ เป็น
เอกลกั ษณ์ ความงาม ทนั ตอ่ กระแสสังคมในดา้ นการอนุรักษ์ โดยใชเ้ คร่อื งประดับเป็นเหมือน ตัวแทน
ในการบอกเล่าเร่ืองราวของภูมิปัญญาไทยทีส่ ืบทอดกนั มาแต่โบราณ จากขอ้ มูลขา้ งต้นจงึ เป็นแนวทาง
ให้ผู้วิจัยจะทาการศึกษาและพัฒนาส่วนผสมของพลาสติก เหลวอีพ็อกซ่ีเรซิ่น ให้มีคุณสมบัติใกล้เคียง
กับเปลือกหอยมกุ มากทีส่ ุด ทง้ั สี และความแวววาว เพ่อื ให้ กลายเปน็ วสั ดทุ ดแทนที่มีบทบาทสาคัญใน
การลดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อสร้าง นวัตกรรมใหม่ให้มีประโยชน์ต่อสังคม และ
ส่ิงแวดล้อม เพื่อท่ีจะแสดงให้เห็นว่าพลาสติกเหลวอีพ็อกซ่ีเรวิ่น สามารถนามาใช้เป็นวัสดุทดแทน
แทนหอยมุกในการใช้งานประดับมุก ท่ีมีความคงทนและ สวยงามกว่าวัสดุธรรมชาติมาใช้และนาไปสู่
การชว่ ยลดปรมิ าณการสูญเสยี ของหอยมุกในธรรมชาติ โย การวจิ ยั คร้ังน้ถี งึ แมจ้ ะเปน็ เร่ืองเล็กๆ ทค่ี น
มองข้ามไป ผลท่ีได้ไม่ใช่เพียงแค่ในเร่ืองการมอง ปัญหาไป ลึกถึงรากฐานทางวัฒนธรรม และ
พฤติกรรมของผู้บริโภคเพ่ือนาข้อมูลพื้นฐานท่ีได้มาผลิตเป็น เคร่ืองประดับท่ีร่วมสมัย มีกลิ่นของ
วัฒนธรรมของความเป็นไทยเข้าไปด้วย ซ่ึงควบคู่ไปด้วยกันกับ ความสวยงาม และในอนาคตข้างหน้า
กอ็ าจมีการพฒั นาต่อยอดในการสร้างวัสดุทดแทนวัสดุธรรมชาติ มกี ารบูรณาการองคค์ วามรู้อย่างเป็น
ระบบ และเป็นรูปธรรมกันมากข้ึนของนักออกแบบรุ่นใหม่ให้ได้ เป็นองค์ความรู้และในขณะเดียวกัน
เป็นนวัตกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติโดยใช้ แบบสอบถาม แบบลิเคิร์ท ( Likert
Scale ) จากน้ันได้วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้ค่าเฉลย่ี (Mean)

1. สรุปผลการประเมินการออกแบบจากผู้เชยี่ วชาญภาพรวมทุกด้านมีความเหมาะสมดี ( ̅=4.12) ซง่ึ
จาแนกเปน็ รายด้าน ดังนี้

ดา้ นท1่ี ความมเี อกลกั ษณ์มีความเหมาะสมดี ( ̅=4.34)
ด้านท2่ี ความสวยงามมคี วามเหมาะสมดี ( ̅=3.98)

- 32 -

ด้านท3่ี ความสะดวกในการใช้งานมีความเหมาะสมดี ( ̅=4.14)
ด้านท4ี่ ความปลอดภยั มคี วามเหมาะสมดี ( ̅=4.03)
2. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อผลิตภัณฑ์ภาพรวมทุกด้านมีความพึง
พอใจอยใู่ นระดับมาก ( ̅=3.91) ซ่งึ จาแนกเป็นรายด้าน ดังนี้ ด้านที่1 ความมีเอกลักษณ์มี
ความพึง พอใจอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.24) ด้านที่2 ความสวยงามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
( ̅=3.62) ด้านที่3 ความสะดวกในการใชง้ านมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ( ̅=3.94) และด้าน
ที่4 ความ ปลอดภัยมีความพึงพอใจอยู่ระดับ ( ̅=3.85) ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะของ
ผลติ ภัณฑ์ มีความ เหมาะสมกบั การผลติ เป็นผลิตภณั ฑ์ของชุมชนได้เปน็ อย่างดี
(ที่มา: file:///C:/Users/Admin_ 2019/ Downloads/Sayombhu_P.pdf)

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ข้อเสนอแนะในการจดั ทาโครงการตอ่ ไป
- ควรมลี วดลายมากขึน้
- ขนาดเลก็ เกนิ ไป
- ราคาสูงเกนิ ไป
- มีอากาศในช้นิ งาน
- ยังไมต่ รงกับความต้องการ
- ควรมหี ลากหลายสมี ากกว่านี้
- ควรมีลายธรรมชาติมากกว่าน้ี
- ควรตกแต่งใหม้ ากกว่านี้
- ควรมลี ายดอกไม้

- 33 -

5.3.2 ขอ้ เสนอแนะในการจัดทาโครงการตอ่ ไป
5.3.2.1 ควรใช้วิธีการจดั เกบ็ ขอ้ มูลการสมั ภาษณ์มาประกอบดว้ ย
5.3.2.2 ควรศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ซ้ือผลิตภัณฑ์และผู้ตอบแบบสอบ

ถามท่ีมตี ่อโครงการจานรองแกว้ จากเรซ่ิน

บรรณานกุ รม

กองหตั ถศิลป์ กรมศิลปากร (2525:45) คาอธิบายเก่ยี วกบั หอยมกุ (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ไดจ้ าก
www.m-cultre.go.th ค้นหาขอ้ มลู เม่อื วนั ท่ี 28 ธันวาคม 2564

ศาสตราจารย์หลวงวศาลศลิ ปกรรม (เชือ้ ปทั มจินดา) (2525) ผูเ้ ชีย่ วชาญทางดา้ นศลิ ปะไทย
และสถาปัตยกรรมไทย (ออนไลน์) เขา้ ถึงไดจ้ าก www.sure.su.ac.th ค้นหาขอ้ มลู เมอื่
วันที่ 28 ธันวาคม 2564

งานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง ข้อมูลหาไดจ้ าก (ออนไลน์)
(file:///C:/Users/Admin_2019/Downloads/ Sayombhu_P.pdf)
คน้ หาข้อมลู เม่ือวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2564

ความหมายของเรซน่ิ (ออนไลน)์ เข้าได้จาก
https://www.supersiliconeandresinart.com/ ความหมายของเรซนิ่ วนั ท่ีคน้ หาข้อมูล
4 มกราคม 2565

ความหมายของผลไม้อบแหง้ (ออนไลน)์ เข้าได้จาก 4
https://www.ptasia-group.com ความหมายของผลไม้อบแหง้ วนั ทีค่ น้ หาข้อมูล
มกราคม 2565

ความพงึ พอใจของลกู ค้า (ออนไลน์) เข้าได้ portal.weloveshopping.com/
เคลด็ ลับการสรา้ งความประทับใจให้กับลูกค้า วนั ทส่ี บื คน้ 6 มกราคม 2565

สุพจน์ ศรนารายณ์ (2548) แนวคิดเกี่ยวกับความพอใจดา้ นความรูส้ กึ (ออนไลน์) เข้าถงึ ได้
จาก https://dric.nrct.go.th/ คน้ หาขอ้ มลู เม่อื วันที่ 10 มกราคม 2565

วิรุฬ (2542) ความพึงพอใจเปน็ ความรสู้ กึ ภายในจิตใจของมนุษย์ที่ไมเ่ หมือนกัน (ออนไลน)์
เข้าถึงไดจ้ าก www.edu.nu.th คน้ หาข้อมลู เมอ่ื วันที่ 13 มกราคม 2565

วรรณรตั น์ ตง้ั เจรญิ (2537:13) คาอธบิ ายเกย่ี วกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน (ออนไลน)์ เข้าถงึ
ได้จาก www.lib.rmutk.ac.th คน้ หาข้อมลู เม่ือวันท่ี 13 มกราคม 2565

ภาคผนวก

ภาคผนวก : ก

แบบสอบถามเพื่อจัดทาโครงการ

แบบสอบถาม

การศกึ ษาความพงึ พอใจของประชากรท่ีมตี อ่ โครงการจานรองแก้วจากเรซิน่

ในเขตพื้นทีบ่ า้ นหนองชาด หมู่ที่ 10 ตาบลสวา่ งแดนดนิ อาเภอสว่างแดนดิน

จังหวดั สกลนคร

................................................................................................................................................................

คาช้ีแจง : แบบสอบถาม

1. แบบสอบถามศึกษาความพึงพอใจของประชากรท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์จานรองแก้วจากเรซิ่น

ภายในเขตชุมชนหมูบ่ า้ นหนองชาดหม่ทู ่ี 10 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสวา่ งแดนดิน จงั หวดั สกลนคร

วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน สานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา จังหวัดสกลนคร จึงได้ขอความ

กรุณาตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง ข้อมูลที่ได้รับจากแบบสอบถามฉบับน้ีใช้ในการประกอบ

การศึกษาเทา่ นั้น

2. แบบสอบถามแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน คอื

ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมลู ทั่วไป

ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลิตภัณฑ์จาน

รองแกว้ จากเรซ่ิน

สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ

ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมลู ท่ัวไป

คาช้ีแจง : โปรดทาเครอ่ื งหมาย √ ลงใน หน้าข้อความทตี่ รงกับคาตอบของท่านหรือเตมิ

ข้อความใหส้ มบรู ณ์

1. เพศ  ชาย  หญงิ

2. อายุ  อายุตา่ กวา่ 20 ปี  อายุ 21-25 ปี

 อายุ 26-30 ปี  อายุ 31 ปีขน้ึ ไป

3. การศึกษา  ต่ากว่า ม.3  ม.6/ปวช.

 ปวส.เทยี บเท่า  ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป

4. อาชีพ  นักเรียน/นกั ศกึ ษา  หน่วยงานราชการ

 เกษตรกร  อ่นื ๆ..........(โปรดระบุ)


Click to View FlipBook Version