The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

THE NATIONAL TOURISM POLICY COMMITTEE ANNUAL REPORT 2020-2021

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

THE NATIONAL TOURISM POLICY COMMITTEE ANNUAL REPORT 2020-2021

THE NATIONAL TOURISM POLICY COMMITTEE ANNUAL REPORT 2020-2021

ผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ | 51
ประจ�ำ ปี 2563-2564

ประเด็นพฒั นาท่ี 2

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
และปรับปรุงปัจจัยเอ้ือ ให้สนับสนุนต่อการฟื้นตัว
และเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว

1. การจัดท�ำแนวทางความร่วมมือ 4) ด้านมาตรการจูงใจของการเดินทาง
ในการส่งเสริมการเดินทางท่องเที่ยว ชว่ งนอกฤดกู าลทอ่ งเทย่ี ว ได้รบั ความรว่ มมอื
ในเมอื งรองในดา้ นตา่ ง ๆ โดยบรู ณาการ จาก

ความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อจัดท�ำ • การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยได้จัด
แนวทางความรว่ มมอื ในการสง่ เสรมิ การเดนิ ทาง โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวในวันธรรมดา
ทอ่ งเทย่ี วในเมอื งรองและการเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว ร่วมจัด Promotion กับกลุ่มธุรกิจท่องเที่ยว
ในวันธรรมดา ซึ่งมีแนวทางความร่วมมือ Consumer Fair Corporate/SME Start up
โดยสรปุ ตามประเด็นความรว่ มมอื ดังตอ่ ไปนี้ ในช่วงวนั ธรรมดา

1) ด้านมาตรการดูแลรักษาความ 5) ดา้ นความสะดวกในการคมนาคม ไดร้ บั
ปลอดภัย ไดร้ ับความร่วมมือจาก ความร่วมมอื จาก

• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ • กระทรวงคมนาคม แผนพัฒนาโครงขา่ ย
สง่ิ แวดลอ้ ม : กำ� หนดมาตรการความปลอดภยั คมนาคม เช่ือมโยงเส้นทางท่องเที่ยวแบบ
ของนักทอ่ งเที่ยว ไร้รอยตอ่ (ทางบก-ทางอากาศ-ทางน้ำ� )

• การคมนาคมทางบก : กำ� หนดมาตรการ 2. การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
ปฏิบัติตัวในแหล่งท่องเท่ียว การคมนาคม การพัฒนาพื้นท่ีพิเศษมรดกโลก
ทางนำ้� : จดั เจา้ หนา้ ท่ี เฝา้ ระวงั ควบคมุ การทำ� สโุ ขทัย - ศรสี ัชนาลยั – กำ� แพงเพชร
กจิ กรรม สำ� รวจ ซอ่ มแซมวสั ดใุ หพ้ รอ้ มใชง้ าน (พ.ศ. 2566 – 2570) โดยสรุปสาระ

2) ดา้ นมาตรการดแู ลรกั ษาธรรมชาติ และ สำ� คญั ดังน้ี
สิ่งแวดล้อม การจ�ำกัดจ�ำนวนนักท่องเท่ียว 1) วสิ ยั ทศั น์ “เมอื งมรดกโลกทสี่ รา้ งสรรค์
ในเชงิ พน้ื ท่แี ละเวลา ได้รบั ความร่วมมือจาก
การท่องเที่ยวด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ผสมผสานวฒั นธรรมแห่งวิถีชีวิตอย่างย่ังยืน”
สง่ิ แวดลอ้ ม กำ� หนดมาตรการจำ� กดั นกั ทอ่ งเทย่ี ว
และประชาสัมพันธ์ รณรงค์ เรื่องผลกระทบ 2) พนั ธกจิ
ตอ่ สิ่งแวดล้อม • การบริหารจัดการท่องเที่ยวพ้ืนที่พิเศษ
สคู่ วามยั่งยนื แบบบรู ณาการทุกภาคสว่ น
• กระทรวงวฒั นธรรม ได้ก�ำหนดขอบเขต • ส่งเสริมและสนับสนุนการท�ำงาน
และผังบริเวณพ้ืนท่ีและก�ำหนดจ�ำนวน เชิงประสานและบูรณาการการท�ำงานร่วมกับ
การรองรับนกั ท่องเที่ยว ทุกภาคี
• พั ฒ น า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ด ้ า น
• กระทรวงอตุ สาหกรรม ไดพ้ ฒั นาหมบู่ า้ น การทอ่ งเที่ยวให้มีประสทิ ธิภาพตามมาตรฐาน
อตุ สาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ 3) เปา้ หมายการพัฒนา
• ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์
3) ด้านการบริหารจัดการข้อมูล และ โบราณสถาน ให้ได้รับการคุ้มครองอนุรักษ์
คาดการณพ์ ฤตกิ รรมนกั ทอ่ งเทย่ี ว การเดนิ ทาง อย่างต่อเนื่อง เพื่อคงคุณค่าในการเรียนรู้
และใชจ้ า่ ยเงนิ ได้รบั ความรว่ มมอื จาก ส�ำหรับการท่องเที่ยวในแหล่งมรดกโลก
อยา่ งยงั่ ยืน
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ก�ำหนดรูปแบบการจองตั๋วผ่าน
แอปพลเิ คชนั QueQ และเวบ็ ไซต์ eventpop.me

52 | CH.04 สรุปผลการดำ� เนนิ งาน ท่สี อดคลอ้ งกับแผนพัฒนา
การท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

• ยกระดับแหล่งท่องเที่ยว เพิ่มมูลค่า 4. การด�ำเนินโครงการเปิดรับ
สินค้าและการบริการท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษ นักท่องเท่ียวต่างชาติท่ีได้รับการ
ให้ได้มาตรฐานสากล ด้วยความโดดเด่นของ ฉีดวัคซีนแล้ว (Phuket Sandbox)
การทอ่ งเท่ียวด้านประวัติศาสตรว์ ัฒนธรรม (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2564)
• พัฒนาศักยภาพโครงข่ายการคมนาคม ศูนย์บริหารสถานการณ์เศรษฐกิจจาก
และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเพื่อเช่ือมโยง ผลกระทบการระบาดของโรคโควดิ -19 (ศบศ.)
การท่องเที่ยว รวมทั้งยกระดับมาตรฐาน เห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม
ความปลอดภัย และเพิ่มขีดความสามารถ 2564 ท่ีจะอนุญาตให้นักท่องเท่ียวต่างชาติ
ในการแขง่ ขนั ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ที่ได้รับการฉีดวัคซีนที่ได้รับการยอมรับแล้ว
• เสริมสร้างภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน และมผี ลการตรวจโควดิ -19เปน็ ลบสามารถเดนิ ทาง
ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาและบริหารจัดการ เข้าจังหวัดภูเก็ต และท่องเท่ียวในจังหวัด
การทอ่ งเท่ียวแบบมสี ่วนร่วม ภูเก็ตได้โดยไม่ต้องกักตัว โดยมีรายละเอียด
ทั้งน้ี ยังช่วยส่งเสริมพื้นที่พิเศษให้เป็น และเงอื่ นไข ดงั นี้
พ้ืนท่ีต้นแบบการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน 1) ไตรมาสที่ 3 วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564
และแหลง่ เรยี นรสู้ ำ� หรบั การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยงั่ ยนื ในพ้ืนที่ภูเก็ตรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ได้รับ
ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ CBT Thailand วัคซีนครบโดสและมีผลการตรวจโรคโควิด-19
เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็นลบ บินตรงผ่านเคร่ืองบินและตรวจเชื้อ
และวัฒนธรรมในพื้นที่พิเศษเพิ่มขึ้น อนุรักษ์ เมื่อเดินทางมาถึง โดยไม่ต้องกักตัว และต้อง
และฟื้นฟูคุณค่าแหล่งท่องเท่ียวมรดกโลก อยู่ในภูเกต็ หรอื พ้ืนทีน่ �ำรอ่ ง (Sealed Route)
สืบสานวฒั นธรรม อตั ลกั ษณ์พืน้ ถน่ิ ยกระดับ อย่างน้อย 7 คืน ก่อนออกเดินทางไปยังพ้ืนที่
โครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อนื่ ๆ ขณะเดยี วกนั จะมมี าตรการปอ้ งกนั อนื่ ๆ
เพ่ือการท่องเที่ยว ช่วยเพ่ิมขีดความสามารถ ควบคู่ด้วย เช่น Vaccine Certificate หรือ
ในการแข่งขันการท่องเท่ียวด้วยเทคโนโลยี แอปพลเิ คชนั แจง้ เตอื น เปน็ ตน้ สว่ นพน้ื ทนี่ ำ� รอ่ ง
ดิจทิ ัลและนวัตกรรมครบวงจร และขบั เคล่อื น อน่ื ๆจะตอ้ งมกี ารกกั ตวั ในโรงแรมเปน็ เวลา7คนื
กลไกการมสี ่วนรว่ มทกุ ภาคส่วนในการบรหิ าร โดยสามารถออกนอกห้องพักและออกไป
จดั การทอ่ งเท่ียวอย่างย่งั ยืน ท�ำกิจกรรมในพ้ืนท่ีน�ำร่อง (Sealed Route)
3. การดำ� เนนิ งานตามแผนการฟน้ื ฟู ได้ ภายหลังการกักตัวจึงสามารถเดินทาง
เศรษฐกิจและสังคม จากผลกระทบ ออกนอกพื้นท่ีได้
โรคโควิด-19 ไดแ้ ก่ 2) ไตรมาสที่ 4 วันที่ 1 ตุลาคม 2564
(ข้อมูล ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2564) เรมิ่ ดำ� เนนิ การในพนื้ ทนี่ ำ� รอ่ ง ไดแ้ ก่ สมยุ กระบี่
• โครงการมาตรฐานความปลอดภัย พังงา พัทยา และเชียงใหม่ จะเร่ิมเปิดรับ
ดา้ นสขุ อนามยั (Amazing Thailand Safety and นักท่องเท่ียวต่างชาติที่ได้รับวัคซีนครบโดส
Health Administration (SHA)) เพ่ือสร้าง และมผี ลการตรวจโรคโควดิ -19 เปน็ ลบ บนิ ตรง
ภาพลักษณ์ ความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ผา่ นเครอื่ งบนิ โดยไมต่ อ้ งกกั ตวั และมมี าตรการ
แก่นักทอ่ งเที่ยวชาวไทยและชาวตา่ งประเทศ ป้องกนั เชน่ เดยี วกบั ภูเกต็
• โครงการเราเท่ียวด้วยกัน กระตุ้นให้ ซ่ึงคาดการณ์ว่าในไตรมาส 3 จะสามารถ
ประชาชนเกิดการใช้จ่ายผ่านการท่องเท่ียว สร้างรายได้การท่องเท่ียวจาก Phuket
ภายในประเทศ ทั้งยังช่วยเพ่ิมสภาพคล่อง Sandbox ได้กวา่ 1.1 หมื่นลา้ นบาท จ�ำนวน
ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการธรุ กจิ โรงแรมและธรุ กจิ อน่ื ๆ นักท่องเที่ยวเข้าประเทศไทย 129,000 คน
ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ภายใต้เงื่อนไขความส�ำเร็จที่สามารถควบคุม
• โครงการทวั รเ์ ท่ยี วไทย สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การระบาดระลอกใหม่ได้ แผนการฉีดวัคซีน
การเดินทางท่องเที่ยวในวันธรรมดา โดยกลุ่ม ที่ส�ำเร็จตามเป้าหมายและการยอมรับวัคซีน
เปา้ หมายจะเปน็ กลมุ่ ทมี่ อี ายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี นึ้ ไป รวมถึงนโยบายการเดินทางออกนอกประเทศ
และเดินทางท่องเท่ียวกับบริษัทน�ำเท่ียว (Outgoing Policy) และการกักกันตัว
ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ของประเทศต้นทาง

ผลการด�ำ เนินงานของคณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ | 53
ประจ�ำ ปี 2563-2564

ประเดน็ พฒั นาที่ 3

การพัฒนาบุคลากรท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อเตรียมพร้อม
ส�ำหรับการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ

การด�ำเนินโครงการอาสาสมัคร ซ่ึง “อาสาสมัคร” สามารถเข้ามาช่วย
ท่องเที่ยวไทย แกป้ ญั หาดงั กลา่ วได้และทผ่ี า่ นมาพบวา่ อาสาสมคั ร
กลมุ่ ตา่ ง ๆ มบี ทบาทอยา่ งมากในการชว่ ยเหลอื
จากข้อมูลดัชนีความสามารถในการ งานส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ
แขง่ ขนั ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว (Travel & Tourism ทงั้ กลมุ่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ และอาสาสมคั ร
Competitiveness Index: TTCI) ที่ได้รับ สิ่งแวดล้อม แต่ยังขาดองค์กรกลางในการ
การจดั อนั ดบั โดย World Economic Forum เชื่อมประสานการทํางานของอาสาสมัคร
ในปีพ.ศ. 2562 พบว่า ประเทศไทยจัดอยู่ ท่ี เ ก่ี ย ว ข ้ อ ง กั บ ง า น ด ้ า น ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว
ในอันดับท่ี 31 จากทั้งหมด 140 ประเทศ โดยตรง และขาดระบบการคดั กรองอาสาสมคั ร
อยา่ งไรกต็ าม ภาคการทอ่ งเทยี่ วของไทยยงั พบ ทอ่ งเทยี่ วทเ่ี หมาะสมและถกู ตอ้ ง และมแี นวทาง
จดุ ออ่ นในหลายดา้ น เชน่ ปญั หาการขาดแคลน การพัฒนาองค์กรกลาง ในการเชื่อมประสาน
กําลังแรงงานและงบประมาณในการดูแล ง า น อ า ส า ส มั ค ร ท า ง ก า ร ท ่ อ ง เ ท่ี ย ว ไ ท ย
ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ท า ง ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ท้ั ง ใ น ร ะ ดั บ ท ้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ
ความยั่งยืนของส่ิงแวดล้อมยังไม่เพียงพอและ โดยสามารถแบ่งอาสาสมัครการท่องเท่ียว
ไมท่ ว่ั ถงึ ทกุ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ซงึ่ สง่ ผลตอ่ ตวั ชว้ี ดั (อาสาสมคั รการทอ่ งเทย่ี วหมายถงึ บคุ คล กลมุ่ คน
ท่ีประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ค่อนข้างต่�ำ หน่วยงาน องค์กรท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน
คอื ตวั ชว้ี ดั ดา้ นความปลอดภยั และความมน่ั คง ภาคประชาสงั คม ภาคประชาชน ทม่ี จี ติ อาสา
(Safety & Security) ประเทศไทยอยู่อันดับ ช่วยเหลืองานในภาคส่วนต่าง ๆ ของ
ที่ 111 จากทง้ั หมด 140 ประเทศ และตวั ชวี้ ัด การท่องเที่ยว ซ่ึงอาจจะได้รับหรือไม่ได้รับ
ดา้ นความยงั่ ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม (Environmental คา่ ตอบแทน) ออกไดเ้ ปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่
Sustainability) ซึ่งประเทศไทยอยู่อันดับ
ท่ี 130 จาก 140 ประเทศ

54 | CH.04 สรปุ ผลการด�ำเนินงาน ทส่ี อดคลอ้ งกับแผนพัฒนา
การทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

• อาสาสมัครท่องเที่ยวไทยในภาวะปกติ โดยการบริหารจัดการองค์กรอาสาสมัคร
ประกอบด้วย กลุ่มของผู้ประกอบการต่าง ๆ การท่องเท่ียวไทยเพ่ือความยั่งยืนในระดับ
ในอุตสาหกรรมท่องเทยี่ วไทย เชน่ มคั คุเทศก์ นโยบายน้ัน กระทรวงการท่องเท่ียวและ
กลุ่มผู้ให้บริการท่องเท่ียว และเครือข่าย กีฬาจะเป็นหน่วยงานรับรองสถานภาพของ
การท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน องคก์ รอาสาสมคั รการทอ่ งเทยี่ วไทย สนบั สนนุ
• อาสาสมคั รทอ่ งเทยี่ วไทยในภาวะฉกุ เฉนิ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา
ประกอบด้วย กลุ่มมูลนิธิ สมาคมกู้ชีพ กู้ภัย การทอ่ งเทยี่ ว ผา่ นความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั
หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองท้องถ่ิน ภาคเอกชนและชุมชน โดยเน้นการพัฒนา
ท่ีมีความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน ในการ ศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวท้ังระบบ
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในเหตุภาวะฉกุ เฉินตา่ ง ๆ ผ่านการเข้าร่วมอบรมและการร่วมพัฒนา
• อาสาสมคั รทอ่ งเทย่ี วไทยในรายกจิ กรรม หลักสูตรอบรมทักษะด้านต่าง ๆ ให้สามารถ
ประกอบด้วย บุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร ปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การสนบั สนนุ
หนว่ ยงาน ทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว กําลังคนอาสาสมัครท่องเที่ยวและกีฬา
แต่มีความรู้ความสามารถต่าง ๆ และสนใจ แก่หน่วยงานกับบริบทของพ้ืนท่ีด้าน
เขา้ รว่ มในงานอาสาสมคั รทอ่ งเท่ียวไทย การทอ่ งเทยี่ วและกฬี าทรี่ อ้ งขอการประชาสมั พนั ธ์
กิจกรรมอาสาสมัครท่องเท่ียวและกีฬา
จดั กจิ กรรมสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ย
ภาคการท่องเท่ยี วและกฬี าในประเทศ

ผลการด�ำ เนินงานของคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ | 55
ประจำ�ปี 2563-2564

ประเด็นพัฒนาท่ี 4

การปรับภาพลักษณ์การท่องเที่ยวไทย
เพ่ือรองรับนักท่องเที่ยวคุณภาพผ่านการตลาด

1.การยกระดบั มาตรฐานการทอ่ งเทย่ี ว 1) ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ได้แก่
ไทย ด้วยการสร้างแบรนด์การท่องเท่ียวไทย สาธารณรฐั ประชาชนจีน ไตห้ วนั เขตบรหิ าร
(Country Brand) และส่งเสริมและพัฒนา พเิ ศษฮอ่ งกง และญ่ีปุ่น
การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนอจั ฉรยิ ะ (Smart Tourism 2) ภูมิภาคอาเซียน เอเชียใต้ และ
Village) โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี แปซฟิ กิ ใต้ ได้แก่ สงิ คโปร์ บรูไน มาเลเซีย
ดจิ ทิ ลั มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพและ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์
บริบทของพ้ืนที่ เพ่ือตอบสนองความต้องการ 3 ) ภู มิ ภ า ค ยุ โ ร ป แ อ ฟ ริ ก า แ ล ะ
ในการทอ่ งเทยี่ ววถิ ใี หม่ มอี งคป์ ระกอบ 6 ดา้ น ตะวันออกกลาง ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ ฝรง่ั เศส
ไดแ้ ก่ Smart Culture (การน�ำอัตลักษณแ์ ละ เบลเยียม และนักท่องเทีย่ วกลุ่มสแกนดเิ นเวีย
วฒั นธรรมประเพณดี ง้ั เดมิ ของชมุ ชนมาพฒั นา และเชงเกน
ภาพลักษณ์และสภาพแวดล้อมในชุมชน) 4) ภูมิภาคอเมริกา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา
Smart Experience (สร้างประสบการณ์ และแคนาดา
ใหม่ผ่านกิจกรรมการท่องเท่ียวสร้างสรรค์) 3.การผลักดันการฉีดวัคซีนป้องกัน
Smart Facilities (อ�ำนวยความสะดวก การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน) Smart Environment ให้แก่บุคลากรในอุตสาหกรรม
(จัดการระบบนิเวศในชุมชนให้เป็นมิตรกับ ท่องเทยี่ วไทย
สง่ิ แวดล้อม) Smart Safety (เสริมสรา้ งชุมชน (ข้อมูล ณ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2564)
ใหม้ คี วามปลอดภยั ) และ Smart Partnership เพื่อเป็นการสร้างความเช่ือม่ันให้กับ
(บูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่จะเดินทางเข้ามา
ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการร่วมกัน และประชาชนคนไทยในช่วงที่จะเปิดรับ
พฒั นาการท่องเทีย่ วชมุ ชน) นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้ามาทั้งในประเทศ
2.การเปิดรับนักท่องเท่ียวประเภท และต่างประเทศ โดยให้สอดคล้องกับ
พเิ ศษ Special Tourist Visa (STV) ช่วงเวลาในการเปิดประเทศ ซ่ึงจะเร่ิม
(ขอ้ มลู ณ วันท่ี 14 มกราคม 2564) ด�ำเนินการ Phuket Sandbox ต้ังแต่วันที่
โดยเป็นการน�ำนักท่องเที่ยวคุณภาพจาก 1 กรกฎาคม 2564 เป็นต้นไป และเพม่ิ เติมอีก
ประเทศที่อยู่ในกลุ่มเส่ียงของการแพร่ระบาด 9 จังหวัด ต้ังแต่ 1 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป
ของโรคโควิด-19 เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศ จึงได้ผลักดันการฉีดวัคซีนป้องกันการแพร่
อย่างเป็นข้ันตอน ด้วยความระมัดระวัง และ ระบาดของโรคโควิด-19 ให้แก่บุคลากร
ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของคนไทยเป็นส�ำคัญ ในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเพื่อรองรับนโยบาย
โดยให้โควตานักท่องเท่ียววีซ่า STV วันละ เปิดประเทศ
1,200 คน ซึ่งจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติท่ี
เดินทางเข้ามา ต้ังแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2563
– 4 มกราคม 2564 แบ่งเป็น 4 ภูมิภาค ดังน้ี

56 | CH.04 สรุปผลการด�ำเนินงาน ที่สอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นา
การท่องเท่ียวแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

4.การด�ำเนินการตามแนวทางการ 2) โครงการ Samui Plus Model
เปิดประเทศ เพ่ือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การดำ� เนนิ การโครงการ Samui Plus Model
การทอ่ งเที่ยว จากโครงการ Phuket ครอบคลุมพื้นที่เกาะสมุย เกาะพะงัน และ
Sandbox และ Samui Plus Model เกาะเต่า โดยเร่ิมด�ำเนินการมาต้ังแต่วันท่ี 15
(ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2564) กรกฎาคม 2564 มจี ำ� นวนนกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาติ
1) โครงการ Phuket Sandbox สะสมตั้งแต่วันท่ี 15 กรกฎาคม 2564 – วันท่ี
โครงการ Phuket Sandbox ท่เี รม่ิ ด�ำเนิน 29 สิงหาคม 2564 รวม 498 คน ในจำ� นวนน้ี
โครงการต้ังแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 มี 39 คน เดนิ ทางตอ่ ไปเกาะพะงนั และ 21 คน
เป็นตน้ มา ซงึ่ ผลการดำ� เนินงานในมติ ทิ างด้าน เดนิ ทางตอ่ ไปเกาะเตา่ ซงึ่ มนี กั ทอ่ งเทยี่ วเดนิ ทาง
สาธารณสุขและเศรษฐกจิ มีดังนี้ เขา้ มาทเ่ี กาะสมยุ โดยตรงเฉลยี่ ประมาณวนั ละ
มติ ทิ างดา้ นสาธารณสขุ พบวา่ จากจำ� นวน 10-15 คน และปัจจุบันมีเพียงสายการบิน
นักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้ามา 25,866 คน Bangkok Airways สายการบินเดียวที่ให้
พบผ้ตู ดิ เช้ือรวมทัง้ สนิ้ 80 คน บริการเที่ยวบินเข้าสู่เกาะสมุย และจะเริ่มมี
มิติทางด้านเศรษฐกิจ มียอดการจอง เที่ยวบินจากจังหวัดภูเก็ตวันละ 1 เที่ยวบิน
ท่ีพักล่วงหน้า 450,806 คืน ซ่ึงเป็นโรงแรม ตัง้ แตว่ ันท่ี 1 กันยายน 2564
ที่ได้รับมาตรฐาน SHA+ แบ่งเป็นยอดจอง โดยมีนกั ท่องเที่ยวที่เดนิ ทางเข้ามาจำ� นวน
ในเดอื นกรกฎาคม 190,843 คนื เดอื นสงิ หาคม สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ฝร่ังเศส เยอรมนี
176,365 คืน และเดอื นกนั ยายน 83,598 คืน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และอิตาลี ซึ่งโดยปกติ
ซึ่ ง ช ่ ว ง ที่ ส� ำ คั ญ แ ล ะ ไ ด ้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม เกาะสมยุ เกาะพะงนั และเกาะเต่า เป็นพนื้ ท่ี
ในการเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต คือ ทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มในหมนู่ กั ทอ่ งเทยี่ วตลาดยโุ รป
ไตรมาสที่4ดงั นน้ั ในการดำ� เนนิ การครง้ั นี้จงึ เปน็ อยู่แล้ว และมีระยะการพ�ำนักค่อนข้างยาว
การเตรยี มความพรอ้ มในชว่ งฤดกู าลทอ่ งเทยี่ ว ประมาณ 14 วนั ข้ึนไป
High Season ท่ีจะมาถึงในช่วงเดือนตุลาคม
2564 นี้

ผลการด�ำ เนนิ งานของคณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ | 57
ประจำ�ปี 2563-2564

ประเดน็ พฒั นาท่ี 5

การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืน

1.การจัดท�ำแผนกลยุทธ์เพ่ือการ 2. การกำ� หนดแนวทางการดำ� เนนิ งาน
ขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้ ก ร ะ ตุ ้ น ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ภ า ย ใ น
โมเดลเศรษฐกจิ BCG ประกอบด้วย ประเทศไทยภายใต้การขับเคลื่อน
1) หลักคิด แผนกลยุทธ์ฉบับน้ีพัฒนาข้ึน เศรษฐกิจไทยด้วยแนวคิด BCG
ภายใต้กรอบแนวคิดสำ� คญั 3 ประการ ได้แก่ Model
(1) เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนแห่ง ส�ำหรับการด�ำเนินวิถีชีวิตใหม่หลัง
องค์การสหประชาชาติ (2) หลักปรัชญา การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (Post COVID-19
เศรษฐกิจพอเพียง และ (3) โมเดลเศรษฐกิจ Strategy) โดย ททท. ได้ก�ำหนดแนวทาง
BCG การดำ� เนนิ งานกระตนุ้ การทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศ
2) วิสัยทัศน์และพันธกิจ ให้ “ภาค ตามยทุ ธศาสตรท์ อ่ งเทย่ี วไทยในอนาคต ภายใต้
การท่องเที่ยวมีบทบาทน�ำในการขับเคล่ือน การขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยด้วยแนวคิด
การพฒั นาประเทศดว้ ยโมเดลเศรษฐกจิ BCG” BCG Model ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์
โดยมีพันธกิจ 3 ประการ ไดแ้ ก่ ได้แก่ ปลุกกระแสให้คนไทยเป็นเจ้าภาพสร้าง
• มีบทบาทอย่างเข้มแข็งในการส่งเสริม ความเข้มแข็งและยั่งยืน ต่อยอดความม่ันใจ
ผู้ประกอบการและแหล่งท่องเท่ียวให้ปฏิบัติ ในมาตรฐาน SHA และ Thailand Tourism
ตามแนวทางการท่องเท่ียวสีขาวเพื่อส่งเสริม Awards (TTA) ส่ือสารให้ประเทศไทยเป็น
การท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน Trusted Destination ของทุกคน ต่อยอด
• เปน็ ผนู้ ำ� ในการสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารลดของเสยี และขยายการใช้ประโยชน์ Platform
ในภาคการทอ่ งเทยี่ วดว้ ยโมเดลเศรษฐกจิ BCG และ Travel Tech และกระตุ้นนักท่องเที่ยว
• สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนตระหนักรู้ ตา่ งประเทศ กลมุ่ ความสนใจพเิ ศษ ดว้ ยแนวคดิ
ในการทอ่ งเท่ยี วยง่ั ยืน City Marketing
3) ประเด็นพัฒนาและตัวชี้วัด ประกอบ 3. การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์
ด้วย 6 เป้าประสงค์ 10 กลยุทธ์ 10 ตัวช้ีวัด การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ
และ 43 กจิ กรรมสำ� คญั โดยมปี ระเดน็ ขบั เคลอื่ น เพ่ือการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนเลย
5 ประเด็น ได้แก่ การสร้างความร่วมมือเพ่ือ (พ.ศ. 2563 – 2570) โดยสรุปสาระ
การขบั เคลอื่ นการทอ่ งเทยี่ วสขี าวสคู่ วามยงั่ ยนื ส�ำคัญ ดังนี้
ตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่างเป็นรูปธรรม 1) วสิ ยั ทศั น์ : “เมอื งนา่ พกั ผอ่ นและเรยี นรู้
การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ ประสบการณ์ท่องเท่ียวเชิงนิเวศ เอกลักษณ์
ทางการท่องเที่ยวเพ่ือตอบสนองกระแสนิยม วัฒนธรรมท้องถิ่น การพัฒนท่ีย่ังยืนสู่คุณภาพ
การทอ่ งเทยี่ วย่งั ยนื การลดคารบ์ อนฟุตพรน้ิ ท์ ระดับสากล”
ทเี่ กดิ จากภาคการทอ่ งเทย่ี ว การลดการใช้ 2) ยทุ ธศาสตร์ : 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบ
ทรัพยากรและของเหลือทิ้ง และการรับมือกับ ด้วย 14 กลยุทธ์ 21 แผนงน และมีตัวช้ีวัด
การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ท่ีเก่ียวขอ้ งทง้ั สน้ิ 38 ตวั ช้วี ัด

58 | CH.04 สรปุ ผลการด�ำเนินงาน ทีส่ อดคลอ้ งกบั แผนพัฒนา
การท่องเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

3) จำ� นวนโครงการ : 229 โครงการ ตงั้ เปา้ 5) มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมและอตั รา
รายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี วไวท้ ี่ 35,500 ลา้ นบาท ผลตอบแทนทางสงั คม (Social Returns on
ใน พ.ศ. 2570 สว่ นเป้าหมายรอง คือ จำ� นวน Investment : SROI) จะมคี า่ เท่ากบั 1:11.35
นักท่องเที่ยวเพ่ิมข้ึนร้อยละ 5.96 ต่อปี ซ่ึงหมายความว่า เงินงบประมาณโครงการ
จ�ำนวนวันพักเฉล่ียเพ่ิมขึ้น 3.53 วันต่อคน 1 บาท จะให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและ
และรายได้จากการท่องเท่ียวขยายตัวร้อยละ สังคมเท่ากับ 11.35 บาท ส่งผลให้เศรษฐกิจ
35.6 ต่อปี ของจังหวัดเลยขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณ
ร้อยละ 12.54 ตอ่ ป ี
4) แผนที่น�ำทาง (Road Map) วางไว้ 3
ช่วงเวลา ไดแ้ ก่ 6) กระบวนการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ
- ช่วงท่ี 1 พ.ศ. 2563 – 2565 จ�ำนวน การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งยงั่ ยนื (อพท.) ไดบ้ รู ณาการ
นักท่องเที่ยวคุณภาพเพ่ิมข้ึน แหล่งท่องเที่ยว ด�ำเนินการกับหน่วยงานและองค์กรตาม
มีบุคลากร และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แผนแม่บท ร่วมกับองค์กรส่วนท้องถ่ิน
มาตรฐานสากล ภาคเอกชน และชุมชน

- ชว่ งที่ 2 พ.ศ. 2566 – 2568 จังหวดั เลย 7) การจัดท�ำและเสนอนโยบายและ
ได้รับการยอมรับในฐานะแหล่งท่องเที่ยว แผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่
ยั่งยืนในระดับสากลและเป็นที่รู้จักในระดับ พิเศษเพ่อื การท่องเทยี่ วอยา่ งยัง่ ยนื
นานาชาติ

- ชว่ งท่ี 3 พ.ศ. 2569 – 2570 รายไดร้ วม
จากการท่องเท่ียวไม่น้อยกว่า 35,505.56
ลา้ นบาท ในปีพ.ศ.2570และกลายเปน็ ตน้ แบบ
แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ท่ีสามารถ
น�ำเอาแนวทางของ GSTC มาเป็นส่วนหน่ึง
ของวถิ ชี วี ิตไดอ้ ย่างเหมาะสม

ผลการด�ำ เนินงานของคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ | 59
ประจำ�ปี 2563-2564

4 . ก า ร จั ด ท� ำ แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ • พัฒนาศักยภาพโครงข่ายการคมนาคม
การพัฒนาพ้ืนที่พิเศษมรดกโลก และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเพ่ือเช่ือมโยง
สโุ ขทยั - ศรสี ชั นาลยั – กำ� แพงเพชร การท่องเท่ียว รวมท้ังยกระดับมาตรฐาน
(พ.ศ. 2566 - 2570) ความปลอดภัย และเพ่ิมขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
โดยสรุปสาระส�ำคญั ดงั น้ี
1) วสิ ยั ทศั น์ “เมอื งมรดกโลกทส่ี รา้ งสรรค์ • เสริมสร้างภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
การท่องเท่ียวด้วยคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ท่ีเกี่ยวข้องในการพัฒนาและบริหารจัดการ
ผสมผสานวัฒนธรรมแหง่ วถิ ีชีวติ อยา่ งยั่งยนื ” การทอ่ งเทย่ี วแบบมีสว่ นรว่ ม
2) พนั ธกจิ
• การบริหารจัดการท่องเท่ียวพ้ืนท่ีพิเศษ ท้ังนี้ เพ่ือส่งเสริมพื้นท่ีพิเศษให้เป็นพื้นท่ี
สู่ความย่งั ยืนแบบบูรณาการทกุ ภาคส่วน ต้นแบบการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน และแหล่ง
•สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การทำ� งานเชงิ ประสาน เรียนรู้ส�ำหรับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้รับ
และบูรณาการการทำ� งานรว่ มกับทกุ ภาคี การพฒั นาตามเกณฑ์CBTThailandเพมิ่ รายได้
• พฒั นาขดี ความสามารถดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว จากการทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละวฒั นธรรม
ให้มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน ในพนื้ ทพ่ี เิ ศษเพิ่มขึน้ อนรุ ักษ์และฟ้นื ฟูคุณคา่
3) เปา้ หมายการพฒั นา แหล่งท่องเที่ยวมรดกโลก สืบสานวัฒนธรรม
• ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์พื้นถ่ิน ยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน
โบราณสถาน ให้ได้รับการคุ้มครองอนุรักษ์ และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกเพ่ือการท่องเที่ยว
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื คงคณุ คา่ ในการเรยี นรสู้ ำ� หรบั ช่วยเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน
การทอ่ งเท่ียวในแหล่งมรดกโลกอย่างย่งั ยนื การท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและ
• ยกระดับแหล่งท่องเที่ยวเพิ่มมูลค่า นวัตกรรมครบวงจร และขับเคล่ือนกลไก
สินค้าและการบริการท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีพิเศษ การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการบริหาร
ให้ได้มาตรฐานสากล ด้วยความโดดเด่นของ จัดการทอ่ งเที่ยวอยา่ งย่งั ยนื
การท่องเท่ยี วด้านประวตั ศิ าสตรว์ ัฒนธรรม

60 | CH.05 มาตรการชว่ ยเหลือผู้ประกอบการท่ีไดร้ ับผลกระทบ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19 (COVID - 19)

CChh..0055
กมทาา่ีมไไดดตรา้ดร้แรตพับำกร�เผรากนร่รลาินะชกรกบ่วทราายะีก่รดทเรชหขบะว่ลอทจยอืงราเโผหกวรู้ปงลสคกรอืถโคาะผากรวน้ปู อทิดกรบ่อ-าะ1กงกรเ9าอณทร(บี่ยC์ กวOแาลVระIกDฬี -า19)
ท่ีไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์
การแพร่โรคโควิด-19 (COVID - 19)

ผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ | 61
ประจำ�ปี 2563-2564

สถานการณ์การแพร่ระบาดของ 2. มาตรการช่วยเหลือเยียวยา
โรคโควิด-19 (COVID–19) ได้ส่งผลกระทบ ผูป้ ระกอบการทอ่ งเท่ยี วโดยรฐั บาล
โดยตรงต่อภาคอุตสาหกรรมท่องเท่ียว
และเศรษฐกิจในประเทศไทยเป็นอย่างมาก ประกอบด้วย 3 มาตรการหลกั ได้แก่
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ 1.มาตรการทางภาษี ด�ำเนินการโดย
ใ น ฐ า น ะ ห น ่ ว ย ง า น ห ลั ก ใ น ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม กรมสรรพากร เช่น การลดอัตราภาษีเงินได้
และสนบั สนนุ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วของไทย ภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย การลดภาระดอกเบี้ยจ่าย
ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คญั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ของผปู้ ระกอบการ การสง่ เสรมิ เสถยี รภาพของ
เยียวยาผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว การจา้ งงาน การเลอ่ื นเวลาการชำ� ระภาษเี งนิ ได้
เ พื่ อ ใ ห ้ ส า ม า ร ถ รั ก ษ า ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ บคุ คลธรรมดา มาตรการขยายเวลาการยน่ื แบบ
ในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทยให้ ร า ย ก า ร ภ า ษี พ ร ้ อ ม กั บ ช� ำ ร ะ ภ า ษี
คงอยู่ และมีความพร้อมในการขับเคล่ือน ข อ ง ก า ร ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ส ถ า น บ ริ ก า ร
เศรษฐกิจของไทยภายหลังสถานการณ์ ที่จัดเป็นบริการตามบัญชีพิกัดอัตราภาษี
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 คลี่คลาย สรรพสามิต เปน็ ตน้
โดยมาตรการในการช่วยเหลือเยียวยา 2 . ม า ต ร ก า ร ล ด ภ า ร ะ ท า ง ก า ร เ งิ น
ผปู้ ระกอบการดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว แบง่ ออกเปน็ มีการด�ำเนินการโดยส�ำนักงานประกันสังคม
2 ส่วน ได้แก่ การไฟฟา้ นครหลวง และการประปานครหลวง
เป็นต้น
1. มาตรการช่วยเหลือเยียวยา 3.มาตรการเสริมสภาพคล่อง มีการ
ผปู้ ระกอบการทอ่ งเทยี่ วโดยกระทรวง ด�ำเนินการโดยธนาคารแห่งประเทศไทย
การทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และธนาคาร
ออมสิน ซึ่งได้ด�ำเนินการช่วยเหลือด้วย
การลดภาระในการวางเงินหลักประกัน โครงการสินเชื่อดอกเบ้ียต่�ำ ดังน้ี โครงการ
ข อ ง ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ธุ ร กิ จ น� ำ เ ที่ ย ว ต า ม สินเชื่อฟื้นฟูท่องเท่ียวไทย โครงการสินเช่ือ
พระราชบัญญัติธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ ดอกเบี้ยต่�ำ SMEs ที่มีเงินส�ำหรับธุรกิจ
พ.ศ. 2551 โดยกรมการทอ่ งเทย่ี วไดด้ ำ� เนนิ การ การท่องเท่ียว และมาตรการสนิ เชื่ออิ่มใจ
ป ร ะ ส า น แ ล ะ คื น เ งิ น ห ลั ก ป ร ะ กั น ใ ห ้ กั บ
ผู้ประกอบธุรกิจน�ำเท่ียวแล้ว ระหว่างวันที่ 8
พฤษภาคม – 28 ธันวาคม 2563 วงเงนิ รวม
470,806,000 บาท ในส่วนของมาตรการ
ปล่อยสินเชื่อดอกเบ้ียต่�ำให้แก่ผู้ประกอบการ
ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ไดด้ ำ� เนนิ การปลอ่ ยสนิ เชอ่ื
แล้วท้ังส้ินจ�ำนวน 969 ราย วงเงิน 3,981
ลา้ นบาท

นอกจากนน้ั การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย
ยงั ไดด้ ำ� เนนิ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ ผา่ นโครงการ
เราเที่ยวด้วยกัน โครงการก�ำลังใจ โครงการ
ส่งเสริมการท่องเท่ียวกลุ่มผู้สูงอายุ มาตรการ
Workation Thailand กจิ กรรม ปน่ั ปลอดภยั
ไประยองฮิ ตลอดจนการขับเคลื่อนประเด็น
ด้านการน�ำนักท่องเท่ียวเข้ามาท่องเที่ยว
แบบพำ� นกั ระยะยาว (Long Stay) ผา่ นมาตรการ
การตรวจลงตราประเภทนกั ทอ่ งเทย่ี วประเภท
พเิ ศษ Special Tourist Visa (STV) เปน็ ตน้

62 | คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ

คณะกรรมการ
นโยบายการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ

1. นายกรฐั มนตรี (รองนายกรัฐมนตรที ่ีได้รับมอบหมาย) ประธานกรรมการ
2. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการท่องเทย่ี วและกฬี า รองประธานกรรมการ
3. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการเกษตรและสหกรณ ์
4. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม กรรมการ
5. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม กรรมการ
6. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย กรรมการ
7. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวฒั นธรรม กรรมการ
8. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ กรรมการ
9 ปลดั กระทรวงกลาโหม กรรมการ
10. ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ
11. ปลัดกระทรวงพาณชิ ย ์ กรรมการ
12. ปลดั กระทรวงแรงงาน กรรมการ
13. ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กรรมการ
14. เลขาธกิ ารสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ กรรมการ
15. ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักงบประมาณ กรรมการ
16. ผูบ้ ัญชาการต�ำรวจแห่งชาติ กรรมการ
17. ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร กรรมการ
18. นายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
19. นายกสมาคมสนั นบิ าตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
20. นายกสมาคมองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำบลแห่งประเทศไทย กรรมการ
21. ประธานสภาหอการค้าแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
22. ประธานสภาอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
23. นายวุฒชิ ัย ดวงรัตน ์ กรรมการ
24. นางสมทรง สัจจาภิมุข กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ
25. ร้อยต�ำรวจโท อาทิตย์ บญุ ญะโสภัต กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ
26. นายทวพี งษ์ วิชัยดิษฐ ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
27. นายอนันต์ ชูโชติ กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ
28. นายประดษิ ฐ์ วัชระดนัย กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
29. นายวัฒน เรงิ สมุทร กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ
30. ปลัดกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า กรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิ
31. อธบิ ดกี รมการทอ่ งเทยี่ ว กรรมการและเลขานุการ
32. ผวู้ ่าการการท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

“เขม้ แข็งจากภายใน ฟ้นื ตัว
อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบจดุ เชอื่ มโยง

การทอ่ งเที่ยวของภมู ิภาค”

(Strength from within -
responsible recovery, regional

tourism connectivity)

Strategy and Plan Division,
Ministry Of Tourism & Sports
4 Ratchadamnoen nok Road,
Watsomanas, Pom Prap Sattru Phai,
Bangkok 10100
Tel. 0 2283 1559


Click to View FlipBook Version