ทั้งนี้ หากคาดการณ์ตามค่าเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห ่งชาติฉบับที่ 13 โดยกำหนดให้ค่าใช้จ่ายเฉลี่ ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเพิ่มข ึ้นร้อยละ10ต่อปีและใช้ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ ย ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติปี2562 ซ ึ่งเป็นปีสถานการณ์ปกติเป็นปีฐาน ดังตารางและแผนภูมิด้านล่าง ตารางคาใชจายเฉลี่ยของนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ป 2558 - 2570 ป คาใชจายเฉลี่ย (บาท/วัน) อัตราการเติบโต (%YoY) 2558 5,142.18 6.93 2559 5,252.69 2.15 2560 5,404.10 2.88 1.47 2561 5,289.72 -2.12 2562 5,172.29 -2.22 อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอป (%) 2566 5,689.52 10.00 2567 6,258.47 10.00 2568 6,884.32 10.00 10.00 2569 7,572.75 10.00 2570 8,330.02 10.00 2563-2565 ชวงปวิกฤตโควิด-19 แผนภูมิแสดงคาใชจายโดยเฉลี่ย อัตราการเติบโต และอัตราการ เติบโตเฉลี่ยของนักทองเที่ยว ชาวตางชาติ ป 2558 - 2570 คาใชจายเฉลี่ยของนักทองเที่ยว ชาวตางชาติ (บาท/วัน) อัตราการเติบโต (%YoY) อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอป (%) 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 2558 2559 2560 2561 2562 2566 2567 2568 2569 2570 1.47 1.47 10.00 10.00 6.93 2.15 2.88 -2.12 -2.22 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 5,142.18 5,252.69 5,404.10 5,289.72 5,172.29 5,689.52 6,258.47 6,884.32 7,572.75 8,330.02 จากตารางและแผนภูมิดังกล ่าวจะเห็นได้ว ่า หากกำหนดให้ค ่าใช้จ ่ายโดยเฉลี่ ยของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติเพิ่มข ึ้นร้อยละ 10 ต่อปีในปี2570 ซ ึ่งเป็นปีสุดท้ายของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3ค่าใช้จ่ายโดยเฉลยข ี่ องนักทอ่งเที่ยวชาวต่างชาติจะอยที่ ู่ 8,330.02 บาท/วัน โดยเพิมข่นจากปี ึ้ 2562 ซ ึ่งเป็นปีฐานถึงร้อยละ 61.05 จะเห็นได้ว่า การกำหนดค่าเป้าหมายค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ ยของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติเพิ่มข ึ้นร้อยละ 10 ต่อปีในช่วงระยะเวลาปี2566 - 2570 อาจไม่สอดคล้องกับพฤติกรรม การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในช่วงระยะ 5 ปีที่ผ่านมา รวมถึงเป็นการเติบโตแบบก้าวกระโดด ซ ึ่งไม่สอดคล้องกับแนวโน้มการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปของการท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลก 151
ที่มา : ข้อมูลสถิติด้านการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ข้อมูลเบื้องต้นบัญชีประชาชาติด้านการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา UNWTO World Tourism Barometer, January 2022, United Nations World Tourism Organization ผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน ครั้งที่ 2/2565, วันที่ 30 มีนาคม 2565, ธนาคารแห่งประเทศไทย (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13, ตุลาคม 2564, สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3. บทสรุป จากข้้อมููลสถิิติิด้้านการท่่องเที่่�ยว แนวโน้้มการฟื้้�นตััวของเศรษฐกิิจและการท่่องเที่่�ยวทั้้�งภายนอกและภายใน ประเทศรวมถึึงปััจจััยต่่างๆ ที่่�ได้้กล่่าวมาแล้้วข้้างต้้น แผนพััฒนาการท่่องเที่่�ยวแห่่งชาติิฉบัับที่ ่�3(พ.ศ.2566-2570) จึึงได้กำ้ำหนดค่่าเป้้าหมายตััวชี้้วั�ัดหลัักที่ ่�3 ค่่าใช้จ่้่ายโดยเฉลี่่�ยของนัักท่่องเที่่�ยวชาวไทยและต่่างชาติิเพิ่่�มขึ้้�นในอััตราร้อ้ยละ 7และร้อยละ5ต่อปีตามลำดับ เพื่อให้สอดคล้องกับการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปของการทอ่งเที่ยวและเพื่อการพัฒนา การเติบโตอย่างยั่งยืนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 152
ภาคผนวก ค ตารางดัชนี TTDI ของประเทศไทย ปี 2564 ประเทศไทย ด้าน/ปัจจัยที่ ดัชนี อันดับที่ 36 จาก 117 ทั่วโลก อันดับ TTCI ปี 2560 อันดับ TTCI ปี 2562 อัันดัับ TTDI* ปีี 2564 ดัชนีชี้วัดหลักของประเทศไทย (Key Indicators) ด้านที่ 1) ปัจจัยเอื้อด้านสิ่งแวดล้อม (Enabling Environment) ด้านที่ 2) นโยบายและเงื่อนไขการเดินทางและการท่องเที่ยว (T&T Policy & Conditions) ด้านที่ 3) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของอุตสาหกรรมการเดินทางและการท่องเที่ยว (T&T Industry GDP) สััดส่่วนของอุุตสาหกรรมการเดิินทางและการท่่องเที่่�ยวต่่อ GDP ประเทศ (ปีี2564) จำนวนการจ้างงานในอุตสาหกรรมการเดินทางและการท่องเที่ยว สัดส่วนการจ้างงานภาคการท่องเที่ยวต่อผู้มีงานทำของประเทศ การใช้จ่ายของนักทอ่งเที่ยวชาวไทยต่อการใช้จ่ายเพื่อการเดินทางและการทอ่งเที่ยวในประเทศ ทั้งหมด สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ความปลอดภัยและความมั่นคง สุขภาพและอนามัย ทรัพยากรมนุษย์และตลาดแรงงาน ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ การให้ความสำคัญกับการเดินทางและท่องเที่ยว การเปิดรับนานาชาติ การแข่งขันด้านราคา โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางอากาศ โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกและทางน้ำ โครงสร้างพื้นฐานบริการด้านการท่องเที่ยว • ปัจจัยที่ 1 • ปัจจัยที่ 2 • ปัจจัยที่ 3 • ปัจจัยที่ 4 • ปัจจัยที่ 5 • ปัจจัยที่ 6 • ปัจจัยที่ 7 • ปัจจัยที่ 8 • ปัจจัยที่ 9 • ปัจจัยที่ 10 • ปัจจัยที่ 11 6,702,000 คน 14,197.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 18,393.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ร้อยละ 3.7 4.05 ล้านคน ร้อยละ 10.8 ร้อยละ 56.9 58 92 74 53 50 88 57 39 13 48 32 37 111 88 27 49 27 45 25 22 72 14 45 118 90 40 58 34 52 18 20 72 16 อันดับ TTDI ของประเทศไทยจ�ำแนกตาม 17 ปัจจัย 153
ด้าน/ปัจจัยที่ ดัชนี อันดับ TTCI ปี 2560 อันดับ TTCI ปี 2562 อัันดัับ TTDI* ปี 2564 ด้านที่ 4) ปัจจัยขับเคลื่อนความต้องการการเดินทางและการท่องเที่ยว (T&T Demand Drivers) ด้านที่ 5) ความยั่งยืนด้านการเดินทางและการท่องเที่ยว (T&T Sustainability) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรทางด้านวัฒนธรรม ทรัพยากรที่ไม่ใช่เพื่อการพักผ่อน ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ความยืดหยุ่นและเงื่อนไขด้านเศรษฐกิจและสังคม ความต้องการและความกดดัน และผลกระทบการเดินทาง และการท่องเที่ยว • ปัจจัยที่ 12 • ปัจจัยที่ 13 • ปัจจัยที่ 14 * • ปัจจัยที่ 15 • ปัจจัยที่ 16* • ปัจจัยที่ 17* 14 32 16 97 55 37 10 35 - 130 - - 7 37 - 122 - - ที่มา : Travel & Tourism Development Index 2021 : Rebuilding for a Sustainable and Resilient โดยสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum - WEF) ปัจจัยที่ได้คะแนนน่าพึงพอใจ 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) ปัจจัยที่ 9 โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางอากาศ อันดับที่ 13 2) ปัจจัยที่ 12 ทรัพยากรธรรมชาติ อันดับที่ 14 และ 3) ปัจจัยที่ 14 ทรัพยากรที่ไม่ใช่เพื่อการพักผ่อน อันดับที่ 16 หมายเหตุ : *สภาเศรษฐกิจโลก (WEF) จัดทำดัชนี TTDI ในปี2564 เพื่อทดแทนดัชนี TTCI โดยเพิ่มปัจจัยใหม่ จำนวน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัจจัยที่ 14 ทรัพยากรที่ไม ่ใช ่เพื่อการพักผ ่อน 2) ปัจจัยที่ 16 ความยืดหยุ ่นและเงื่อนไขด้านเศรษฐกิจและสังคม และ 3) ปัจจัยที่ 17 ความต้องการและความกดดัน และผลกระทบการเดินทางและการท่องเที่ยว แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 154
ภาคผนวก ง อภิธานศัพท์ การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และวัฒนธรรม การท่องเที่ยวที่รับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม (Responsible Tourism) การท่องเที่ยวภายในประเทศ (Domestic Tourism) การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ (International Tourism) การท่องเที่ยวที่ส ่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ การจัดงานแสดงสินค้า การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเป็นรางวัล การจัดการแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติ การท่่องเที่่�ยวเชิิงกีีฬา รวมถึึงการพัักผ่่อนระหว่่างหรืือหลัังการประกอบธุุรกิิจ หรืือ การทำำกิิจกรรมต่่างๆ อัันเป็็นการดึึงดููดกลุ่่มนัักเดิินทางเพื่ ่� อธุุรกิิจและนัักท่่องเที่่�ยว ที่มีีคุ่� ุณภาพ อีีกทั้้�งส่่งเสริิมให้้การจััดงานธุุรกิิจและกิิจกรรมต่่างๆเป็็นการสนัับสนุุน การพััฒนากลุ่่มอุุตสาหกรรมเป้้าหมายของประเทศ เป็็นเวทีีแลกเปลี่่�ยนองค์์ความรู้้ และเทคโนโลยีีที่นำ ่� ำ ไปสู่การส่ร้้างสรรค์์นวััตกรรม รวมถึงการสึร้้างเวทีี เจรจาการค้้า และการลงทุุนของธุุรกิิจที่่�เกี่่�ยวเนื่อ ่� งกัับอุุตสาหกรรมเป้้าหมาย คือ การท่องเที่ยวที่เน้นการสร้างสรรค์คุณค ่าสินค้าและบริการการท่องเที่ยว มุ่งเน้นการใช้องค์ความรู้และนวัตกรรม ส่งเสริมจุดแข็งในด้านความหลากหลาย ทางทรััพยากรธรรมชาติิ วััฒนธรรม และวิิถีีชีีวิิต เพื่ ่� อสร้้างคุุณค่่าให้้กัับสิินค้้าและ บริิการด้้านการท่่องเที่่�ยว ที่่�ตอบสนองพฤติิกรรม ความต้้องการนัักท่่องเที่่�ยว และ สร้้างทางเลืือกของประสบการณ์์ใหม่่ๆ ให้้กัับนัักท่่องเที่่�ยว การทอ่งเที่ยวอย่างรับผิดชอบ เป็นหนงในแนวคิด ึ่ ทอ่งเที่ยววิถีใหม่ (New Normal) มุ่งเน้นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และอัตลักษณ์ ท้องถิ่น มีการจัดการที่ยั่งยืนครอบคลุมไปถึงการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการ สิ่งแวดล้อม การป้องกันและกำจัดมลพิษ และควบคุมการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างมีขอบเขต ผู้พำนักอาศัยที่มีถิ่นพำนักอยู่ในประเทศ และเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ ประกอบด้วยการท่องเที่ยวขาเข้า (Internal Tourism) และการท่องเที่ยวขาออก (Outbound Tourism) 155
การสร้้างเนื้้อ�หาหรืือ Content ที่่�เกิิดจากผู้้ใช้้หรืือผู้้ติิดตาม มาไว้้บนพื้้�นที่่�ของแบรนด์์ หรืือที่่�ใด ๆ ก็็ตาม โดยเนื้้�อหาอาจจะมีีส่่วนเกี่่�ยวข้อ้งกัับแบรนด์์หรืือไม่่ก็็ได้้แต่่โดย ส่วนใหญ่ก็เพื่อประโยชน์ของแบรนด์ซึ่ งเก ี่ยวข้องอย่างหลีกเล ี่ยงไม่ได้ด้วยรูปแบบ ที่ใช้เป็นภาพถ่าย, คลิปวิดีโอ รวมไปถึงการเขียนบล็อกที่พูดถึงแบรนด์ไปด้วย เทคโนโลยีีบล็็อกเชน (Blockchain Technology) คืือ เทคโนโลยีีที่่�มาจััดการ ด้้านธุุรกรรมออนไลน์์เป็็นลัักษณะของโครงสร้้างการเก็็บข้้อมููลเชิิงสถิิติิเพื่ ่� อนำำมา วิิเคราะห์์ข้้อมููล ยืืนยัันการมีีตััวตนโดยไม่่มีีตััวกลาง ปกติิแล้้วผู้้ที่่�จะเป็็นตััวกลาง ในการพิสููิจน์ข้์อมูู้ลจะเป็็นหน่่วยงานต่่างๆเช่่น ถ้้าเป็็นด้้านการเงิิน ก็็จะเป็็นธนาคาร หรืือสถาบัันการเงิิน การที่ ่�มีี blockchainTechnology เข้้ามาช่่วยจะทำำ ให้้ต้้นทุุน ในการดำำเนิินงานต่ำ ำ� ลง บุุคคลที่่�เดิินทางจากถิ่่�นพำำนัักถาวรของตนไปค้้างคืืนยัังอีีกสถานที่่�หนึ่่�ง อย่่างน้้อย 1 คืืน แต่่ไม่่เกิิน 90 วััน เพื่ ่� อกิิจกรรมต่่าง ๆ แต่่ต้้องไม่่ก่่อให้้เกิิดค่่าจ้้างค่่าตอบแทน จากสถานที่่�ตนไปเยืือน นักท่องเที่ยวคุณภาพสูง คือ นักท่องเที่ยวทั้งจากต่างประเทศและภายในประเทศ ของตนเอง ซ ึ่งเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวสูง เลือกซื้อสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ พำนักระยะยาว รวมถึงเดินทางท่องเที่ยว อย่างรับผิดชอบ ไม่สร้างผลกระทบทางลบให้กับแหล่งท่องเที่ยว คือ บุคคลเดินทางออกจากถิ่นที่ตนพำนักอยู่จากจังหวัดหนึ่งไปยังอีกจังหวัดหนึ่ ง โดยมีวัตถุประสงค์ในการเดินทางเพื่อกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ ง เช ่นเดียวกับ นักทอ่งเที่ยวระหว่างประเทศแต่มิใช่เพื่อไปหางานทำหรือหารายได้ ทงนั้ ี้ ได้จำแนก นักท่องเที่ยวไว้2 ประเภทคือ 1) นักท่องเที่ยวประเภทค้างแรม 2) นักท่องเที่ยว ประเภทเช้าไป-เย็นกลับ ประกอบด้วย • คนไทย (Thai National) • คนต่างชาติที่อยู่ภายในประเทศไทย (Thailand Residence) นักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศที่เข้ามาเยือนประเทศไทยแล้วเดินทางทอ่งเที่ยวภายในประเทศไทย เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Technology) นักท่องเที่ยว (Tourist) นักท่องเที่ยวคุณภาพสูง นักท่องเที่ยวภายในประเทศ การสร้างเนื้อหาที่เกิดจากผู้ใช้ (User-Generated Content : UGC) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 156
ชาวต่่างประเทศที่่�เดิินทางเข้้ามาในประเทศไทยและพำำนัักอยู่่ในประเทศไทย ครั้้�งหนึ่่�ง ๆ ไม่่น้้อยกว่่า 24 ชั่่�วโมง และไม่่เกิิน 90 วััน และชาวต่่างประเทศเหล่่านี้้� จะต้้องเดิินทางเข้้ามา เพื่ ่� อวััตถุุประสงค์์อย่่างใดอย่่างหนึ่่�งดัังนี้้� คืือ เดิินทางเข้้ามา เพื่อท่องเที่ยว เย ี่ยมญาติหรือเพื่อน การศาสนา การกีฬา การประชุมสัมมนา การทูต การเดินทางเข้าเพื่อประสงค์ติดต่อทางธุรกิจหรือการค้าขาย เดินทางเข้ามา และออกไปกับเรือเดินสมุทรลำเดียวกันที่แวะจอด ณ ท่าเรือและข ึ้นมาค้างคืน บนบก สำำหรัับนัักท่่องเที่่�ยวที่่�เดิินทางออกจากประเทศไทยแล้้ว และเดิินทางกลัับ เข้้ามาใหม่่ในครั้้�งที่ ่� 2 หรืือครั้้�งต่่อ ๆ ไป หากแต่่ละครั้้�งพำำนัักอยู่่ในประเทศไทย เกิินกว่่า 24 ชั่่�วโมง ก็็จะถููกนัับรวมเข้้าเป็็นนัักท่่องเที่่�ยวอีีกครั้้�งหนึ่่�งตามหลัักเกณฑ์์ ที่ทุกประเทศปฏิบัติกัน ส่วนใหญ่ผู้โดยสารที่เดินทางผ่านหรือแวะต่อเครื่องบิน ณ ท่าอากาศยานนานาชาติจะไม่นับรวมเข้าเป็นนักท่องเที่ยวและผู้ที่อาศัยอยู่ติด เขตชายแดนไทย เช้ามาเย็นกลับ ก็ไม่นับเป็นนักท่องเที่ยวเช่นกัน บุุคคลที่่�เดิินทางจากถิ่่�นพำำนัักถาวรไปยัังอีีกสถานที่่�หนึ่่�งเพื่อ ่� ประกอบกิิจกรรมต่่างๆ โดยมิิได้้ค้้างคืืนและไม่่มีีรายได้้หรืือค่่าจ้้าง ค่่าตอบแทนในการไปเยืือนสถานที่นั้้่� �น บัญชีบริวาร (Satellite Account) ของบัญชีประชาชาติ(National Accounts) ที่แสดงข้อมูลด้านการท่องเที่ยวของประเทศ ทั้งที่เป็นรูปแบบที่เป็นตัวเงินและ ไม่ใช่ตัวเงินอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องกับบัญชีประชาชาติของประเทศ และเป็นเครื่องมือทางสถิติที่ใช้ในการวัดผลกระทบด้านการท่องเที่ยวที่มีผลต่อ ระบบเศรษฐกิจในภาพรวม ผู้มาเยือนแบ่งเป็น 2 ประเภท รวมไปถึง“นักท่องเที่ยว (Tourist)” หรือ ผู้มาเยือน แบบค้างคืน (Over-night Visitors) และ “นักทัศนาจร (Excursionist)” หรือผู้มาเยือนจากสถานที่นั้นไปภายในวันเดียวกัน (Same-day Visitors) คืือ ผู้้ให้้บริิการด้้านการจองที่ ่� พัักโรงแรม รวมถึึงบริิการด้้านการท่่องเที่่�ยวต่่าง ๆ โดยทำำหน้้าที่่�เป็็นตััวกลางในการให้้บริิการให้้สมาชิิกได้้เจอกัับผู้้ให้้บริิการที่ ่� พััก ตั๋๋วเครื่ ่� องบิิน บริิการท่่องเที่่�ยวต่่าง ๆ และจองตั๋๋วที่ ่� พัักโรงแรมให้้โดยนำำเสนอ สิทธิพิเศษ และราคาสุดพิเศษให้กับสมาชิก นักทัศนาจร (Excursionist หรือ Day-Visitors) บััญชีีประชาชาติด้ิ้านการท่่องเที่่ยว (Tourism Satellite Account : TSA) ผู้มาเยือน (Visitors) ผู้ให้บริการด้านการจองที่พัก (Online Travel Agency : OTA) นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ 157
ระบบคลาวด์์(Cloud หรืือ Cloud Computing) เป็็นระบบคอมพิิวเตอร์์ที่่�เกิิดขึ้้�น เพื่อ ่� รองรัับการทำำงานของผู้้ใช้้งานในทุุกด้้าน ทั้้�งด้้านระบบเครืือข่่าย ด้้านการจััดเก็็บ ข้อมูู้ล ด้้านการติิดตั้้�งฐานข้อมูู้ล หรืือการใช้้งานซอฟต์์แวร์์เฉพาะด้้านในธุุรกิิจต่่างๆ เป็็นต้้น โดยที่ ่�ผู้้ใช้้บริิการไม่่จำำเป็็นต้้องติิดตั้้�งระบบทั้้�งฮาร์์ดแวร์์และซอฟต์์แวร์์ไว้้ที่ ่� สำำนัักงานของตน แต่ผู้้ ่ ใช้้บริิการสามารถใช้้งานได้ด้้ ้วยการเชื่อ ่� มต่อกั่ ับระบบ Cloud Computing ผ่่านระบบอิินเทอร์์เน็็ต เป็นรปแบบการูทอ่งเที่ยวที่มความน่าสนใจและม ีความสามารีถทางการแข่งขันของ ประเทศ ตลอดจนมีแนวโน้มการเติบโตของตลาดสูง จึงเป็นรูปแบบการท่องเที่ยว ที่ควรได้รับการส่งเสริมให้เป็นทิศทางการท่องเที่ยวหลักของประเทศ เศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) รูปแบบเศรษฐกิจที่ไม่ได้เน้นการเติบโต แบบลุยเด ี่ ยว แต่ใช้พลังของการแบ่งปันและความร่วมมือ ทำให้เกิดรูปแบบสินค้า และบริการใหม่ที่ตอบรับความต้องการของผู้คนในวงกว้าง ความสามารถในการปฏิบัติงานโดยใช้ความร ทู้ักษะและเจตคติที่บรณาการกันูอย่าง แนบแน่นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ร้อยละของจำนวนห้องพักทั้งหมดที่มีการเข้าพัก ระบบคลาวด์์ (Cloud) รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ สูง (High-Potential Tourism) เศรษฐกิจแบ่งปัน (Sharing Economy) สมรรถนะ (Competency) อัตราการเข้าพัก (Occupancy Rate) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570) 158