The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต<br>3. แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก พ.ศ. 2563 – 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

15 Clusters: (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก

แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต<br>3. แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก พ.ศ. 2563 – 2565

Keywords: แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต,เขตพัฒนาการท่องเที่ยว

ACTIVE BEACH

'°u;TLLNCUtJ ffflfl1'54N�CU1fl1'5 e>'1L !J1

t111!1 CUL!J(Plfica,�CU1f11'5flI el'1Lfdl!J1Hn4'1fl:La,t:1ca,CUe>e>fl

cri.A.2563 - 2565



คาํ นํา

“แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕” น้ี จัดทําข้ึนโดยสาํ นักงานการทองเท่ยี วและกฬี าจังหวดั ชลบุรี ในฐานะศูนย
ปฏิบัติการเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก อันประกอบไปดวยจังหวัดชลบุรี ระยอง
จันทบุรี และตราด รวมกับคณะการจัดการการทองเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
ซึ่งไดรับความไววางใจใหเปนท่ีปรึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา รวบรวม และวิเคราะหแนวโนม
สถานการณการทองเท่ียวภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก ตลอดจนทิศทาง
การพัฒนาการทองเท่ียวที่สอดคลองกับกรอบแผนยุทธศาสตรชาติและแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ในระดับตางๆ เพ่ือนาํ ไปกําหนดเปนยุทธศาสตรการพฒั นาในบรบิ ทของพ้ืนที่ และจดั ทําแผนปฏิบัติการ
พัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕
ท่ีสอดรับกับแผนยุทธศาสตรชาติและแผนยุทธศาสตรดานการทองเที่ยวที่เกี่ยวของ

“แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕” ประกอบไปดวยเน้อื หาดงั นี้

 หลักการ แนวคิด และกระบวนการจัดทําแผน
 สถานการณและทิศทางการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
 ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา ไดแก วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย ตัวชี้วัด

และประเดน็ การพฒั นา
 แผนงานและโครงการที่เกี่ยวของ
 แนวทางการบริหารและขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการ
 ภาคผนวก
ศนู ยปฏบิ ตั ิการเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวนั ออก ในฐานะผูจ ดั ทํา หวงั เปน อยางย่งิ วา
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ฉบับนี้ จะกอใหเกิดประโยชนตอหนวยงานภาคีเครือขายทั้งภาครัฐและ
ภาคเอกชนไดใชเปนกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนและผลักดันใหเกิดการพัฒนาการทองเที่ยว
ไดอยางเปนรูปธรรมสาํ เร็จตามความมุงหวังของแผนฉบับนี้ตอไป

ศูนยปฏบิ ัติการเขตพฒั นาการทอ งเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก
กันยายน ๒๕๖๒

สารบญั

หนา
คํานาํ

บทที่ ๑ หลกั การ แนวคิด และกระบวนการจัดทําแผนปฏิบตั ิการ ๑
1.1 หลกั การและเหตุผล ๑
1.2 กระบวนการจดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ าร 2

บทที่ ๒ สถานการณและทิศทางการทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก 6
2.1 สถานการณด า นการทองเทีย่ วของเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวันออก 6
2.2 การวิเคราะหสภาพแวดลอมดานการทองเทยี่ วของเขตพัฒนาการทองเที่ยว 10
ฝง ทะเลตะวันออก
2.3 การประเมนิ ปจจัยแวดลอมทางธุรกิจของเขตพัฒนาการทอ งเที่ยวฝงทะเลตะวันออก ๑1
2.4 ประเดน็ สาํ คญั (Critical Issue) เพอ่ื การพฒั นาขดี ความสามารถในการแขง ขนั 17
ของเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวันออก
2.5 การวางตาํ แหนงทางการทอ งเท่ยี วของจังหวัดในเขตพัฒนาการทองเท่ียว 19
ฝงทะเลตะวันออก
2.6 ขอ เสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาการทองเท่ยี วของเขตพฒั นาการทองเทยี่ ว 21
ฝง ทะเลตะวนั ออก

บทท่ี ๓ ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา ๒3
3.1 วสิ ยั ทัศน ๒3
3.2 พนั ธกจิ ๒3
3.3 เปา หมายหลัก ๒4
3.4 ตัวชวี้ ดั หลัก ๒4
3.5 ประเดน็ การพัฒนา ๒5

บทท่ี ๔ แผนงานและโครงการ 29
แผนงานและโครงการที่จําเปน 30

บทท่ี ๕ แนวทางการบรหิ ารและขบั เคล่อื นแผนปฏิบัติการ 57
5.1 การจดั โครงสรา งองคกรเพ่อื ประสานนโยบายและบรู ณาการการดําเนินงาน 57
5.2 กระบวนการทํางานเพ่ือการบรู ณาการ 59

บรรณานุกรม 61

ภาคผนวก 62

สารบัญตาราง

ตาราง หนา
๒.๑ สถิตริ ายไดจ ากการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออกป ๒๕๖๑ 7
๒.๒ สถติ ริ ะยะเวลาพาํ นักเฉล่ยี ของนกั ทองเท่ยี วและคาใชจายเฉลยี่ ของนกั ทอ งเทีย่ ว
ของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออกป ๒๕๖๐ 8
๒.๓ สถติ ิจํานวนนกั ทองเท่ยี วของเขตพฒั นาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออกป ๒๕๖๑ 8
๒.๔ การวิเคราะหเพ่ือวางตาํ แหนง ทางการทองเทย่ี วของจงั หวดั ในเขตพฒั นาการทองเทยี่ ว
ฝง ทะเลตะวันออก 19
๒.๕ ประเด็นสาํ คัญและขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการพฒั นาการทองเที่ยวของ
เขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวันออก ๒1
๔.๑ แผนงานและโครงการทจ่ี าํ เปนของแผนปฏิบตั ิการพัฒนาการทองเทยี่ ว
ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ยทุ ธศาสตรท ี่ ๑ พฒั นาและเพม่ิ คุณคาและมลู คาใหกับทรัพยากร สนิ คา ผลติ ภัณฑ
และกิจกรรมทางการทองเที่ยวในเขตพฒั นาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
อยางสรา งสรรค 31
๔.2 แผนงานและโครงการที่จาํ เปนของแผนปฏิบัติการพฒั นาการทองเทย่ี ว
ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ยุทธศาสตรที่ ๒ พัฒนาและสงเสรมิ การตลาดดจิ ิทัลเพื่อเพ่ิมนกั ทองเทยี่ วคุณภาพ
ทงั้ ในและตา งประเทศ 42
๔.3 แผนงานและโครงการท่จี าํ เปนของแผนปฏิบัติการพฒั นาการทอ งเท่ียว
ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ยุทธศาสตรที่ ๓ พฒั นาอตุ สาหกรรมการทองเทีย่ วใหเ ปน มิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม
และเขาสมู าตรฐานสากล 45
๔.4 แผนงานและโครงการทจ่ี ําเปนของแผนปฏบิ ตั ิการพฒั นาการทองเท่ียว
ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ยุทธศาสตรท่ี ๔ ยกระดับและขับเคลือ่ นมาตรการดา นความปลอดภัย
และสรา งความเชื่อมนั่ ทางการทอ งเทย่ี ว 49
๔.5 แผนงานและโครงการที่จาํ เปนของแผนปฏิบตั ิการพฒั นาการทองเทย่ี ว
ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ยทุ ธศาสตรที่ ๕ พฒั นาการทองเทีย่ วเชือ่ มโยงภมู ภิ าค ประเทศเพ่ือนบา น
และนานาชาติ 53

สารบญั ภาพ

ภาพ หนา
๑.๑ แนวคิดและความเปนมาของการจัดทาํ แผนปฏิบัติการ ๑
๑.๒ กระบวนการจดั ทําแผนปฏบิ ัติการ 3
๑.๓ กรอบการดาํ เนนิ งาน 4
๒.๑ จาํ นวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติในเขตพัฒนาการทองเทยี่ วฝงทะเลตะวนั ออกป ๒๕๖๑ 6
๒.๒ สรปุ การวิเคราะหศกั ยภาพของเขตพฒั นาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
ตามแบบ Diamond Model ๑6
๕.๑ การขับเคลื่อนการพัฒนาเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวนั ออก 56
๕.๒ กลไกการประสานนโยบายและบรู ณาการการดําเนนิ งาน 57



บทที่ ๑
หลักการ แนวคิด และกระบวนการจดั ทําแผนปฏิบตั ิการ

๑.๑ หลักการและเหตผุ ล
ตามที่พระราชบัญญัตินโยบายการทองเท่ียวแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๙ กําหนดให

คณะกรรมการพัฒนาการทองเที่ยว ประจําเขตพัฒนาการทองเที่ยว ดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ
ทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพ่ือใหหนวยงานของรัฐ
ที่อยูภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว ดําเนินการพัฒนาการทองเที่ยวในสวนที่รับผิดชอบของหนวยงาน
ใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ในการน้ี แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว
ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) จํานวน ๕ เขต ไดแก เขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝงทะเลตะวันตก เขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก เขตพัฒนาการทองเที่ยวอันดามัน
เขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมลา นนา และเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต ท่ีไดประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๕๘ จะมีผลสิ้นสุดในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนา
การทองเที่ยว พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ใหสอดคลองกับกรอบระยะเวลาของยุทธศาสตรชาติ
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) โดยสรุปแนวคิดการจัดทาํ แผนดังแผนภาพ ดังนี้

แนวคิดและความเปน มาของการจดั ทําแผนปฏิบตั กิ าร

แผนยทุ ธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรช าติท่ี 2 ภาย(ใพนพฝ.เศัฒขแง .ทนตผแพภท2พาะฉนผาอัฒั5กเยบัฒปนงลน5าเใับฏปตนทรนา9ทิะบฏทาย่ีกเวข่ีิกัตบอว-า2นัตาิกรงัต2อรเาิกท5ทอราีย่6กอรวง3เ)ท่ยี ว
20 ป การสรา ง

(พ.ศ. 2561 - 2580) ความสามารถ
ในการแขง ขัน

 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
 โครงการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
 แผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออก (พ.ศ. 2559 - 2563) ฉบบั ท่ี 1
 แผนปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาการทองเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวันออก (พ.ศ. 2559 - 2563) ฉบบั ที่ 2

ภาพ ๑.๑ แนวคดิ และความเปนมาของการจดั ทําแผนปฏบิ ัตกิ าร
จากหลักการและเหตุผลดังกลาว เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียวภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว ใหสอดคลองกับนโยบาย
ของรัฐบาล แผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ และใชเปนแนวทางในการกําหนดกรอบการจัดทํา พัฒนา
และปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียวภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว ใหสอดคลองกับ

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการพัฒนาการทอ งเทยี่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



สถานการณดานการทองเท่ียว จึงตองมีการทบทวนแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียวภายใน
เขตพัฒนาการทองเที่ยว (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) ซึ่งจะมีผลสิ้นสุดในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
และเพื่อใหการพัฒนาการทองเที่ยวทันกับสถานการณและแนวโนมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว
ซึ ่ง อ า จ ส ร า ง โ อ ก า ส แ ล ะ ภ ัย ค ุก ค า ม ที ่เ ก ิด จ า ก ก า ร แ ข ง ข ัน ข อ ง อ ุต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ท อ ง เ ที ่ย ว ไ ท ย
ดังน้ัน สาํ นักงานการทอ งเที่ยวและกีฬาจังหวัดชลบุรี ในฐานะศนู ยป ฏิบตั ิการของเขตพัฒนาการทองเท่ียว
ฝงทะเลตะวันออก จึงไดจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ข้ึน

๑.2 กระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕
สํานักงานการทองเท่ียวและกีฬาจังหวัดชลบุรี ในฐานะศูนยปฏิบัติการเขตพัฒนาการทองเที่ยว

ฝงทะเลตะวันออก รวมกับคณะการจัดการการทองเท่ียว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ดําเนินการ
จัดทาํ แผนปฏิบตั ิการฯ ตามรายละเอียดดงั นี้

๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะหแนวโนมสถานการณการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนา
การทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก ตลอดจนทิศทางการพัฒนาการทองเท่ียวท่ีสอดคลองกับกรอบ
แผนยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป และแผนยุทธศาสตรตางๆ ที่เกี่ยวของ ตลอดจนทบทวนและบูรณาการ
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓)

2) คณะที่ปรึกษาจากคณะการจัดการการทองเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ลงพื้นท่ี
เก็บขอ มลู เบื้องตน

3) จัดประชุมกลุมยอย (Focus Group) เพ่ือระดมความคิดเห็นของหนวยงานที่เก่ียวของ ระหวาง
วันท่ี 23 – 25 เมษายน 2562 ณ โรงแรมนวิ ทราเวล ลอรด จังหวัดจนั ทบุรี

4) จัดประชุมนําเสนอ (ราง) แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพัฒนา
การทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ตอ หนวยงานทเ่ี กี่ยวของ เพื่อพจิ ารณาใหความเห็น
และขอ เสนอแนะตอ (รา ง) แผนปฏิบัตกิ ารฯ เมื่อวันจนั ทรที่ 27 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรมโกลเดน ซิตี้
จงั หวดั ระยอง

5) จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาการทองเที่ยวประจําเขตพัฒนาการทองเท่ียวฯ
ครั้งท่ี 1/2562 เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ (ราง) แผนปฏิบัติการฯ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
เมอ่ื วันองั คารท่ี 11 มถิ นุ ายน 2562 ณ มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแหงชาติ วทิ ยาเขตชลบุรี

6) ประกาศแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเล
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ในราชกิจจานุเบกษา

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการพัฒนาการทอ งเทยี่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



กระบวนการจัดทาํ แผนปฏิบตั ิการ

ศึกษา คณะที่ปรกึ ษา จดั ประชมุ จดั ประชมุ จดั ประชมุ ประกาศ
ทบทวน และ ลงพนื้ ท่เี กบ็ กลมุ ยอ ย นําเสนอ คณะกรรมการ แผนปฏบิ ัติการ
ขอ มูลเบอื้ งตน (Focus (ราง) แผน ในราชกิจจา-
วิเคราะห Group) ปฏบิ ัติการ พฒั นา
ขอมูล การทองเทย่ี วฯ นเุ บกษา

ครงั้ ที่
1/2562

ภาพ ๑.๒ กระบวนการจัดทําแผนปฏบิ ตั ิการ

“โครงการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทองเทีย่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



กรอบการดาํ เนนิ งาน

1.เกบ็ ขอ มูล

- ศึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวขอ ง 2.วิเคราะหขอ มูล 3.วิเคราะหเ ชงิ ยุทธศาสตร
- จดั ประชมุ ระดมความคดิ เห็น
ผลการดาํ เนินงานทผ่ี า นมา - ขอ จาํ กัด ปญหา - สภาพแวดลอมการแขง ขนั 4. ยกรางแผนยทุ ธศาสตร
ปจจบุ นั และแนวโนมในอนาคต - โซอ ุปทานของอตุ สาหกรรม
การทองเท่ยี วภายในเขตฯ
- ผูมสี ว นไดส วนเสียหลกั - ขดี ความสามารถในการแขง ขนั - วิสัยทัศน
- ขีดความความสามารถ
ในการสรา งคุณคา - วัตถปุ ระสงค
- SWOT - เปาหมาย
- ประเดน็ ยุทธศาสตร

- แนวทางการพฒั นา

ภาพ ๑.๓ กรอบการดาํ เนินงาน
จากกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการฯ และกรอบแนวคิดการดําเนินงานท่ีแสดงในขางตน
การจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ไดเนนกระบวนการมีสวนรวมในการดําเนินงาน โดยมีกระบวนการสราง
ความเห็นพองตองกันในเปาประสงค วิสัยทัศน ประเด็นการพัฒนา และแผนงาน/โครงการตางๆ
ที่บรรจุอยูในแผนปฏิบัติการ เปาหมายของการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว
ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว คือ การบูรณาการและขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ใหนําไปสูการปฏิบัติ
อยางเปนรูปธรรมใหไดมากที่สุดในลักษณะองครวม โดยตองมุงสะทอนใหผูมีสวนรวมในการทํางาน
ของแผนปฏบิ ตั กิ ารเห็นความสําคัญในประเดน็ ตางๆ ดงั นี้
๑) แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ตองสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป
และแผนยุทธศาสตรตางๆ ที่เก่ียวของ ไดแก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
ตลอดจนทบทวนและบูรณาการแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว
(พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓)
๒) แนวคิดการพัฒนาของเขตพัฒนาการทองเที่ยว ควรอยูบนพ้ืนฐานศักยภาพของพื้นท่ี
ความโดดเดนเปนเอกลักษณของแหลงทองเท่ียวและความตองการของชุมชน โดยใชแนวคิด
เ ข ต พั ฒ น า ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว เ ป น ก ร อ บ ใ น ก า ร กํ า ห น ด ทิ ศ ท า ง แ ล ะ เ ป า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ร ว ม กั น
มีแนวทางการพัฒนาเมืองทองเท่ียวหลัก เมืองทองเที่ยวรอง และการเช่ือมโยงเสนทางทองเท่ียว
ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียว การสรางความรวมมือในการผลิตสินคาและสงเสริมกิจกรรมทองเที่ยว
รวมกันในพ้นื ที่ ตลอดจนการแลกเปลยี่ นขอมูลขา วสาร องคความรู และทรพั ยากรระหวา งกนั

“โครงการจัดทําแผนปฏิบตั ิการพฒั นาการทองเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”


๓) ขั้นตอนการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ตองใหความสําคัญกับการมีสวนรวม
ของภาคีการพัฒนาในเขตพัฒนาการทองเท่ียว ทั้งหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน เครือขาย
ชมุ ชน สถาบนั การศึกษาและนักวิชาการในพนื้ ท่ี
๔) กาํ หนดระยะเวลาการดําเนนิ งานของแผนปฏบิ ัตกิ ารฯ ๓ ป

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการพฒั นาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



บทท่ี ๒
สถานการณและทศิ ทางการทองเทีย่ วของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก

๒.๑ สถานการณด า นการทองเทยี่ วของเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวนั ออก
เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก ประกอบดวย จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด

เปนเขตพื้นท่ีทอ งเทย่ี วหลักสําคัญอันดับตนๆ ของประเทศไทย มีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางประเทศ
มาเยือนเปน จํานวนมาก โดยมแี หลงทองเทีย่ วหลักทมี่ ชี ่ือเสียงในระดับนานาชาติ ไดแก เมืองพัทยา เกาะชาง
เกาะเสมด็ เปนตน และยงั เปน จดุ หมายปลายทางของนักทองเท่ียวชาวไทยจากทุกภูมภิ าค ทงั้ นี้เนอื่ งจากมี
ความหลากหลายของทรพั ยากรการทองเที่ยวท้ังทางธรรมชาติและวฒั นธรรม นอกจากนี้ ในพื้นที่ดังกลา ว
ยังเปนจุดหมายปลายทางของนักทองเท่ียวชาวตางชาติ โดยพบวาในป พ.ศ. ๒๕๖๑ มีนักทองเท่ียว
ชาวตางชาติจํานวน ๑๐,๙๔๖,๖๓๕ คน โดยจังหวัดชลบุรีมีจํานวนนักทองเท่ียวชาวตางชาติมากที่สุด
จํานวน ๙,๗๖๕,๘๓๖ คน รองลงมาคือ จังหวัดระยอง จํานวน ๕๕๖,๗๐๐ คน จังหวัดตราด จํานวน ๒๘,๘๑๑ คน
และจังหวัดจันทบรุ ี จาํ นวน ๙๕,๒๘๘ คน ตามลาํ ดับ (กระทรวงการทอ งเท่ียวและกีฬา, ๒๕๖๒)

จํานวนนกั ทอ งเท่ียวเที่ยวชาวตา งชาติ

จาํ นวนนกั ทองเทยี่ ว

9,765,836

556,700 95,288 528,811

ชลบรุ ี ระยอง จันทบุรี ตราด

ภาพ ๒.๑ จาํ นวนนกั ทอ งเท่ียวชาวตา งชาตใิ นเขตพัฒนาการทอ งเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก ป พ.ศ. ๒๕๖๑
ทม่ี า: กระทรวงการทองเทยี่ วและกีฬา และจากการคํานวณสรปุ สถานการณการทองเท่ียว ป พ.ศ. ๒๕๖๑

จากสถิติดานการทองเท่ียวป พ.ศ. ๒๕๖๐ พบวา เขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก
มีรายไดจากการทองเที่ยวเพิ่มจากเดิมเปนจํานวน ๓๗,๕๐๖.๔ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๒.๕๒
จากป พ.ศ. 2560 โดยมีรายไดจากการทองเท่ียวในป พ.ศ. ๒๕๖๑ เปนจํานวน ๓๓๗,๐๕๕.๕ ลานบาท
โดยจังหวัดชลบุรีมีอัตราการเปล่ียนแปลงรายไดจากการทองเท่ียวเพิ่มขึ้นสูงสุด คิดเปนรอยละ ๑๓.๒๓
รองลงมา คือ จังหวัดจันทบุรี รอยละ ๑๑.๐๒ จังหวัดระยอง รอยละ ๙.๕ และจังหวัดตราด รอยละ ๙.๓
ตามลําดับ

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาการทองเทยี่ ว ภายในเขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



ตาราง ๒.๑ สถิติรายไดจากการทอ งเท่ียวของเขตพฒั นาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวนั ออกป พ.ศ. ๒๕๖๑

รายได (ลานบาท) การเปลี่ยนแปลงโดยเฉลยี่

จังหวดั ๒๕๖๑ ๒๕๖๐ ลานบาท อัตรารอ ยละ
ชลบุรี
ระยอง ๒๗๒,๔๓๕.๘ ๒๔๐,๖๑๐.๕ ๓๑,๘๒๕.๓ +๑๓.๒๓
จนั ทบรุ ี
ตราด ๓๗,๐๒๔.๐ ๓๓,๘๑๑.๔ ๓,๒๑๒.๖ +๙.๕๐
รวมทั้งหมด
๘,๔๖๙.๕ ๗,๖๒๘.๕ ๘๔๑ +๑๑.๐๒

๑๙,๑๒๖.๒ ๑๗,๔๙๘.๗ ๑,๖๒๗.๕ +๙.๓๐

๓๓๗,๐๕๕.๕ ๒๙๙,๕๔๙.๑ ๓๗,๕๐๖.๔ +๑๒.๕๒

ท่ีมา: กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา และจากการคาํ นวณสรปุ สถานการณการทองเท่ยี วป พ.ศ. ๒๕๖๑
นอกจากน้ัน สถานการณการทองเที่ยวภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก

ในเรื่องของระยะเวลาพํานักเฉล่ียของนักทองเท่ียวตอวัน และคาใชจายเฉล่ียตอคนตอวัน ในป พ.ศ. ๒๕๖๐
พบวา จังหวัดที่นักทองเที่ยวใชเวลาพํานักเฉลี่ยนานที่สุด คือ จังหวัดชลบุรี โดยนักทองเที่ยวไดใช
เวลาพํานักเฉลี่ย ๓.๔๓ วัน รองลงมา คือ จังหวัดตราด นักทองเท่ียวไดใชเวลาพํานักเฉลี่ย ๓.๐๙ วัน
จังหวัดระยอง นักทองเท่ียวไดใชเวลาพํานักเฉลี่ย ๒.๓๗ วัน และจังหวัดจันทบุรี นักทองเท่ียวไดใชเวลา
พาํ นักเฉล่ีย ๒.๑๕ วัน ตามลําดับ เหตทุ ่ผี ลปรากฏเชน นี้ อาจเน่ืองจากวา จังหวัดชลบุรเี ปนเมืองทองเท่ียวหลัก
และมีศักยภาพดานการทองเที่ยว ท้ังส่ิงดึงดูดใจทางการทองเที่ยว การคมนาคม ส่ิงอํานวยความสะดวก
ตลอดจนท่ีพักแรมท่ีมีคุณภาพและกิจกรรมการทองเท่ียวที่หลากหลาย ทําใหนักทองเท่ียวใชเวลา
ในการทองเที่ยวในจังหวัดชลบุรีมากข้ึน สอดคลองกับคาใชจายตอคนตอวันสําหรับการทองเท่ียว
ของนักทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกในป พ.ศ. ๒๕๖๐ พบวา ในภาพรวม
นักทอ งเท่ียวใชจายเฉล่ียมากทสี่ ุด คอื จงั หวดั ชลบรุ ี โดยนกั ทองเท่ียวไดใชจ ายเฉล่ีย ๔,๖๓๙.๙๓ บาท/คน/วัน
รองลงมา คือ จังหวัดตราด นักทองเท่ียวไดใชจายเฉล่ีย ๒,๘๒๘.๓๙ บาท/คน/วัน จังหวัดระยอง
นักทองเที่ยวไดใชจายเฉลี่ย ๒,๗๐๔.๐๕ บาท/คน/วัน และจังหวัดจันทบุรี นักทองเที่ยวไดใชจายเฉลี่ย
๑,๘๕๔.๙๖ บาท/คน/วัน ตามลาํ ดับ

ดังน้ัน จะเห็นไดวาในการวางแผนการพัฒนาการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเล
ตะวันออก ควรเรงเพ่ิมคาใชจายเฉลี่ยของนักทองเท่ียวโดยผานกิจกรรมการทองเท่ียวตางๆ ของจังหวัด
ในเขตพัฒนาการทองเท่ยี วใหต อบสนองตอความตองการของนักทอ งเท่ยี ว โดยคํานงึ ถึงการจดั การการทองเท่ียว
อยางย่ังยืนท้ังมิติของชุมชน แหลงทองเท่ียว นักทองเที่ยวผูมาเยือน และกลไกการจัดการการทองเท่ียว
เปน สาํ คัญ

“โครงการจดั ทําแผนปฏิบตั กิ ารพฒั นาการทองเท่ยี ว ภายในเขตพฒั นาการทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



ตาราง ๒.๒ สถิติระยะเวลาพํานักเฉลี่ยของนักทองเที่ยวและคาใชจายเฉล่ียของนักทองเที่ยวของเขต
พัฒนาการทองเทยี่ วฝง ทะเลตะวันออก ป พ.ศ. ๒๕๖๐

รายการ นักทองเท่ยี ว ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรี ตราด
ระยะเวลาพํานกั เฉลีย่ ของนกั ทอ งเท่ยี ว (วนั ) Thai ๒.๓๗ ๒.๒๖ ๒.๑๕ ๒.๖๕
Foreigner ๔.๑๑ ๓.๔๒ ๒.๑๗ ๔.๔๘
คาใชจ ายเฉลีย่ (บาท/คน/วัน) รวม (เฉลยี่ ) ๓.๔๓ ๒.๓๗ ๒.๑๕ ๓.๐๙
Thai ๓,๓๓๔.๖๔ ๒,๖๔๓.๑๖ ๑,๘๐๕.๗๙ ๒,๕๓๘.๘๔
Foreigner ๕,๑๑๙.๕๙ ๓,๑๐๘.๙๔ ๓,๐๕๖.๕๐ ๓,๓๗๓.๓๐
รวม (เฉลีย่ ) ๔,๖๓๙.๙๓ ๒,๗๐๔.๐๕ ๑,๘๕๔.๙๖ ๒,๘๒๘.๓๙

ท่มี า: สํานักงานสถิติแหง ชาติ (๒๕๖๒)

ในภาพรวมสามารถสรุปไดว า จาํ นวนนักทอ งเทยี่ วทงั้ ชาวไทยและชาวตางชาติทีเ่ ดนิ ทางทองเท่ียว
ในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก ป พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจํานวน ๓๐,๖๗๘,๘๘๐ คน เพ่ิมข้ึน
จากป พ.ศ. ๒๕๖๐ คิดเปนรอยละ 5.16 โดยจังหวัดที่มีนักทองเที่ยวเดินทางมาทองเท่ียวมากท่ีสุด
คือ จังหวัดชลบุรี จํานวน ๑๘,๓๕๔,๒๒๗ คน รองลงมา คือ จังหวัดระยอง จํานวน ๗,๖๗๒,๐๑๒ คน
จงั หวดั จนั ทบุรี จํานวน ๒,๔๘๖,๔๖๕ คน และจงั หวดั ตราด จํานวน ๒,๑๖๖,๑๗๖ คน ตามลาํ ดับ

ตาราง ๒.๓ สถติ ิจาํ นวนนักทองเท่ียวของเขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวันออกป ๒๕๖๑

จังหวดั จาํ นวนนกั ทองเที่ยว (คน) การเปลี่ยนแปลงโดยเฉลยี่ ตอป ประเภท
๒๕๖๑ ๒๕๖๐ จํานวน (คน) อัตรารอ ยละ
ชลบุรี ๑๘,๓๕๔,๒๒๗ ๑๗,๔๐๓,๑๖๑ ๙๕๑,๐๖๖ +๕.๔๖ เมอื งหลัก
ระยอง ๗,๖๗๒,๐๑๒ ๗,๓๑๙,๐๔๘ ๓๐๗,๙๖๔ +๔.๘๑ เมืองหลกั
จนั ทบุรี เมืองรอง
ตราด ๒,๔๘๖,๔๖๕ ๒,๓๖๐,๒๘๖ ๑๒๖,๑๗๙ +๕.๓๕ เมืองรอง
รวมทั้งหมด ๒,๑๖๖,๑๗๖ ๒,๐๘๙,๑๒๕ ๗๗,๐๕๑ +๓.๖๙
๓๐,๖๗๘,๘๘๐ ๒๙,๑๗๑,๖๒๐ ๑,๕๐๗,๒๖๐ +๕.๑๖

ทมี่ า: กระทรวงการทองเท่ยี วและกีฬา และจากการคํานวณสรปุ สถานการณการทองเท่ยี วป พ.ศ. ๒๕๖๑

“โครงการจดั ทําแผนปฏิบตั กิ ารพัฒนาการทองเทีย่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”



ปญหาของอุตสาหกรรมทองเทยี่ วของเขตพัฒนาการทอ งเท่ยี วฝงทะเลตะวันออกในปจ จบุ ัน

จากการศึกษาขอมูลสถานการณการทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
และการระดมความคิดเห็นจากการจัดประชุมกลุมยอยเพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการฯ คร้ังนี้ พบวาสามารถ
แบงระดับของการพัฒนาการทองเท่ียวไดเปน ๒ กลุม ไดแก กลุมที่เปนเมืองหลักทางการทองเท่ียว
ซึ่งมีนักทองเท่ียวรูจักและมาเยือนจํานวนมาก คือ จังหวัดชลบุรี เมืองพัทยา และจังหวัดระยอง และกลุมเมือง
ทองเที่ยวรอง คือ จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ทําใหปญหาในแตละพ้ืนท่ีของท้ังสองกลุมเมืองทองเที่ยว
มีท้งั คลายกันและแตกตา งกนั สามารถสรุปไดด งั นี้

๑) ปญหาเก่ียวกับการจัดการทรัพยากรการทองเท่ียวและการยกระดับคุณคาและมูลคาใหกับ
ทรัพยากรการทองเท่ียวท้ังทางธรรมชาติ วฒั นธรรม ตลอดจนการรกั ษาทรัพยากรการทองเที่ยวเพ่ือใหเกิด
การพฒั นาท่ยี ่งั ยนื

๒) ปญหาการจัดการเมืองทองเท่ียวเพ่ือการรองรับการทองเที่ยวทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
ไดแก ความปลอดภัย การจดั การน้าํ ขยะ และสภาพแวดลอ มของเมอื ง

๓) ปญหาดานบุคลากรทางการทองเทยี่ วทีย่ ังขาดทักษะและคุณภาพการใหบริการทางการทองเท่ียว
การสื่อสารขามวัฒนธรรม การเปนเจาบานที่ดี จริยธรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
จํานวนแรงงานท่ีสําคัญในการเปนเมืองบริการทางการทองเที่ยว ตลอดจนปญหาแรงงานตางดาวและธุรกิจ
ท่ชี าวตา งชาตเิ ขามาประกอบการในพน้ื ที่

๔) ปญหาเร่ืองการจัดการเชิงพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่ขาดความสมดุลระหวางเจาบาน คนในทองถิ่น
กับนักทองเที่ยว เนื่องจากการพัฒนาการทองเที่ยวท่ีเติบโตขึ้น บางพื้นที่ของจังหวัดเปนตลาดรองรับ
นักทองเที่ยวกลุมใหญหรือนักทองเที่ยวมวลชน (Mass Tourist) กระทบตอการดําเนินชีวิตของคนในทองถิ่น
ทาํ ใหค นทองถน่ิ ไดร บั การดแู ลนอ ยลงและขาดความสุขในการดํารงชวี ิต

๕) ปญหาดานการจัดการตลาดทองเท่ียวสมัยใหม รวมถึงปญหาดานส่ิงอํานวยความสะดวก
ในการเปนเมืองทองเที่ยวระดับโลก เชน สนามบิน เสนทางคมนาคมทางบก นํ้า และอากาศ ระบบโลจิสติกส
ขนถา ยนักทองเทย่ี วอยา งเปนระบบ และระบบขนสง สาธารณะทองถ่ิน

๖) ปญหาดานการบริหารจัดการของภาครัฐเกี่ยวกับการสงเสริมนโยบายดานการทองเท่ียว
ใหมีการบูรณาการการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน ชุมชนแหลงทองเที่ยว
ทุกภาคสวนควรจะตองมีการปรับตัวเพ่ือใหสามารถรองรับกับนโยบายในการพัฒนา สงเสริม และแกปญหา
การทอ งเที่ยวในพืน้ ท่ี

๒.๒ การวิเคราะหส ภาพแวดลอมดา นการทอ งเทยี่ วของเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวนั ออก

“โครงการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารพฒั นาการทองเที่ยว ภายในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๐

ขอมลู การวเิ คราะหสภาพแวดลอมดานการทองเทย่ี วของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก
สามารถแบงหนวยการวิเคราะหไดเปน สภาพแวดลอมภายใน ไดแก จุดแข็ง จุดออน และสภาพแวดลอม
ภายนอก ไดแก โอกาส ซึ่งเปนปจจัยที่เขตพัฒนาการทองเที่ยวฯ สามารถหาประโยชนจากโอกาสที่เกิดข้ึนได
และอุปสรรคที่อาจสงผลเสียกระทบตอการพัฒนาของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฯ เพื่อเปนแนวทาง
ในการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฯ จึงไดทบทวนและ
สังเคราะหขอมูลจากแผนปฏิบัติการฯ ฉบับเดิม ประกอบกับการวิเคราะหเพิ่มเติมจากขอมูลที่ไดรับ
จากเวทรี ะดมความคดิ เหน็ โดยสามารถสรปุ ตามประเด็นท่ีเกย่ี วของกบั การทองเทยี่ วไดดงั ตอไปน้ี
 จุดแข็ง

๑. มแี หลง ทอ งเที่ยวและกิจกรรมทหี่ ลากหลาย
๒. มกี ารทองเทยี่ วชายแดนเช่ือมโยงสูประเทศเพอื่ นบาน
๓. เปนแหลง เพาะปลูกผลไมท ี่มีช่ือเสียงระดับประเทศ
๔. มีทาเรือน้ําลกึ เพื่อรองรับการทองเท่ียวทางนํา้
๕. มีความหลากหลายทางชาตพิ ันธุ
 จุดออน
๑. ขาดระบบสาธารณูปโภคที่มปี ระสิทธิภาพ
๒. ขาดระบบการจัดการมลพิษและขยะท่ีมีประสทิ ธภิ าพ
๓. ขาดแคลนบุคลากรผูใ หบริการทางการทองเทย่ี วในบางสาขา
๔. ขาดกิจกรรมทางการทองเที่ยวเชงิ สรางสรรค
 โอกาส
๑. มโี ครงการพฒั นาดา นทองเท่ยี วตามโครงการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (Eastern Economic

Corridor: EEC)
๒. มกี ารพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการทองเทยี่ วอยางรวดเร็ว
๓. มีนโยบายภาครัฐที่มุงสงเสริมการทองเที่ยว เชน ยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) และแผนปฏบิ ัตกิ าร
พฒั นาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓)
๔. มีแนวโนมความนิยมการทองเทีย่ วเพื่อแสวงหาประสบการณและเรียนรสู ง่ิ ใหมๆ เพ่ิมขน้ึ
๕. มกี ารผอนผนั การยกเวนคาธรรมเนยี มในการเดนิ ทางเขาราชอาณาจกั ร
 อปุ สรรค
๑. การเมืองภายในประเทศยังไมม ีเสถยี รภาพ
๒. ความเปล่ยี นแปลงทางลักษณะอากาศตามธรรมชาติและภาวะโลกรอน สงผลตอสถานการณ
การทอ งเทยี่ วของประเทศและเขตพฒั นาการทองเทยี่ วฝงทะเลตะวันออก
๓. กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ งกับการทอ งเท่ยี วมคี วามซับซอน
๔. เกิดโรคระบาด
๒.๓ การประเมนิ ปจจยั แวดลอมทางธรุ กจิ ของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวนั ออก

“โครงการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการพัฒนาการทองเทยี่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๑
๑) เง่ือนไขปจจยั การผลิต (Factor Conditions)

ดานปจจัยการผลิต เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก อันประกอบไปดวย
จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด ในภาพรวมมีปจจัยการผลิตท่ีมีศักยภาพในระดับสูง ศักยภาพ
ท่ีสําคญั และโดดเดน คือ แหลงทอ งเทีย่ วและกจิ กรรมการทองเท่ยี วทห่ี ลากหลาย โดยเฉพาะทรัพยากรทาง
ธรรมชาติ เชน เกาะที่อุดมสมบูรณและสวยงามติดอันดับโลก อาทิ เกาะเสม็ด เกาะชาง เกาะหวาย
เกาะกูด เกาะลาน ชายหาดที่มีชื่อเสียง อาทิ ชายหาดพัทยา ชายหาดแมพิมพ ชายหาดเจาหลาว
ชายหาดแหลมสิงห เปนตน นอกจากน้ันยังมีการทองเที่ยวชายแดนเชื่อมโยงสูประเทศเพื่อนบาน
ที่ดานชายแดนจังหวัดตราดและจังหวัดจันทบุรี มีศักยภาพสามารถเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยว
รวมกันได จากที่ตั้งลักษณะทางภูมิศาสตรของเขตพัฒนาการทองเที่ยวดังกลาวสงผลตอปจจัยการพัฒนา
ขีดความสามารถในการแขงขันดานการทองเที่ยวมีศักยภาพสูงที่จะรองรับการพัฒนาการทองเที่ยว
ตอไปอีกมาก ท้งั ยงั มีทา เรือนาํ้ ลึกเพื่อรองรับการทองเที่ยวทางนํ้า เปนแหลง เพาะปลูกผลไมระดบั ประเทศ
และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ มีทรัพยากรการทองเที่ยวที่บงบอกถึงเรื่องราว
ทางประวัติศาสตรของประเทศไทย อาทิ เกาะสีชัง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด รวมไปถึง
ความโดดเดนดานการเปนเหมืองพลอยที่มีชื่อเสียงระดับโลกของจังหวัดจันทบุรี วิถีชีวิตริมฝงแมน้ําจันทบูร
ทาํ ใหก ารทอ งเท่ียวของภูมิภาคนเี้ ปน ทส่ี นใจของนกั ทองเที่ยวทงั้ ชาวไทยและตางประเทศ

นอกจากนี้ เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกยังมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญเปนที่รูจัก
ท่วั โลก คือ เมืองพัทยา ซงึ่ เปนเมืองทองเท่ยี วหลักของเขตพฒั นาการทองเที่ยวน้ี เมอื งพทั ยาเปน เมืองทองเที่ยว
ท่ีมีศักยภาพในการรองรับนักทองเท่ียวในระดับนานาชาติ และรองรับนักทองเที่ยวไดหลากหลายระดับ
ทั้งนี้เน่ืองจากพัทยามีรูปแบบและกิจกรรมการทองเที่ยวท่ีหลากหลาย ท้ังกิจกรรมชายหาด ที่พักท่ีเงียบสงบ
เหมาะสมสําหรับนักทองเท่ียวท่ีตองการการพักผอน พรอมดวยสีสัน ความบันเทิง กิจกรรมการทองเที่ยว
ทางทะเล กิจกรรมการทองเที่ยวแบบก่ึงผจญภัย กิจกรรมและแหลงทองเที่ยวท่ีมนุษยสรางข้ึน อาทิ
พิพิธภัณฑ ตลาดน้ํา สวนน้ํา เปนตน และท่ีสําคัญเปนเมืองท่ีอยูใกลกับกรุงเทพมหานคร ทาอากาศยาน
นานาชาติสุวรรณภูมิ และทาอากาศยานนานาชาติอูตะเภา ทําใหนักทองเท่ียวเดินทางมาทองเที่ยวได
โดยสะดวก

อยางไรก็ตาม เม่ือพิจารณาถึงปจจัยที่เปนตนทุนการผลิตที่สําคัญท่ีขางตน อาจกลาวไดวา
ที่ผานมาบางพื้นท่ีแหลงทองเที่ยวไดมีการใชทรัพยากรทางการทองเท่ียวเกินขีดความสามารถในการรองรับได
ขาดการดูแลรักษาและประเมินความคุมคาของการใชทรัพยากรอยางจริงจัง ตลอดจนขาดการวางแผน
การจัดการเมืองทองเท่ียวท่ียั่งยืน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมืองทองเที่ยวหลักอยางพัทยา เกาะชาง และพ้ืนที่หลัก
ทางการทองเท่ียวอ่ืนๆ ในชว งฤดูกาลทองเท่ยี ว ทงั้ น้เี น่อื งจากในแตละปม ีนักทองเที่ยวมาเยือนเปนจาํ นวนมาก
แหลงทองเท่ียวบางแหงมีศักยภาพและความสวยงามท่ีจะดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวได แตยังขาด
การเพิ่มคุณคาและการสรางเอกลักษณใหกับแหลงทองเที่ยว ทําใหจุดเดนของแหลงทองเท่ียวลดลง
ตลอดจนขาดระบบการจัดการการทองเท่ียวท่ีสรางคุณคาและมูลคาใหกับแหลงทองเท่ียว ทาํ ใหน ักทองเที่ยว
มีวันพักเฉลี่ยไมสูงมากนัก และไมเกิดการกระจายตัวของนักทองเท่ียวไปยังทุกพื้นที่ในเขตพัฒนา
การทองเที่ยวฯ ดังนั้น หากมีการวางแผนการพัฒนาที่เชื่อมโยงการทองเที่ยวรวมกันในทุกระดับ
ของเขตพฒั นาการทอ งเท่ยี ว จะเปนการเพมิ่ รายไดใหก บั เขตพฒั นาการทองเที่ยวฯ ไดมากยง่ิ ข้ึน

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ ารพัฒนาการทองเท่ยี ว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๒

ดานบุคลากรทางการทองเท่ียวหรือแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เขตพัฒนา
การทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก มีศักยภาพในการรองรับนักทองเท่ียวระดับนานาชาติไดเฉพาะพื้นที่
ทอ งเท่ียวหลกั และยงั ประสบปญ หาแรงงานในบางสาขาของธุรกจิ การทองเทีย่ วขาดคุณภาพและจริยธรรม
ในการดําเนินธุรกิจ แรงงานจํานวนมากมาจากจังหวัดอ่ืนๆ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของประเทศไทย และแรงงานตางดาว ประกอบกับบุคลากรหรือแรงงานในอุตสาหกรรมทองเที่ยว
ในจังหวัดรอง คือ จันทบุรีและตราด ยังขาดความรู ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงานที่เปน
มืออาชีพดานการทองเที่ยว และขาดแผนการพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยวที่ตรงกับความตองการ
ที่แทจ ริงของผูป ระกอบการ

ดานความปลอดภัย พบวายังขาดมาตรฐานการดูแลความปลอดภัยใหกับนักทองเที่ยว
ท้ังทางบกและทางทะเล ซึง่ ความปลอดภัยเปนเรื่องทีน่ ักทองเทย่ี วใหความสาํ คัญมากเมื่อเดนิ ทางมาทองเที่ยว
ยังแหลงทองเที่ยวท่ีเปนทะเล และการเดินทางไปทองเที่ยวหรือทํากิจกรรมการทองเท่ียวทางทะเล เชน
เรือทองเท่ียว กิจกรรมการดําน้ํา รวมถึงการทองเที่ยวในแหลงชุมชนทองถิ่นซ่ึงอาจมีปญหาอาชญากรรม
กับนกั ทอ งเทีย่ วผูมาเยือน ถงึ แมจะมีหนว ยงานตํารวจทองเที่ยวคอยใหการดูแล แตมีกาํ ลังไมเพียงพอที่จะ
รองรบั จาํ นวนนักทองเที่ยวท่เี พิ่มมากขนึ้ ทุกป นอกจากนี้ปญหาเรื่องการจดั ระเบียบของธรุ กจิ สถานบันเทิง
ของเมืองทองเท่ียวหลักอยางพัทยาถือเปนสิ่งสาํ คัญท่ีตองเรงดําเนนิ การ เพอื่ รักษาภาพลักษณและปองกัน
ปญ หาทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ

ดานระบบสาธารณูปโภค ส่ิงอํานวยความสะดวกท้ังดานการคมนาคมขนสงมีใหเลือก
หลากหลาย มีความสะดวกในการเดินทางท้ังทางอากาศของเที่ยวบินตรงจากตางประเทศมายังสนามบิน
นานาชาติสุวรรณภูมิซ่ึงใกลกับเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก และสนามนานาชาติอูตะเภา
ซงึ่ อยูในพน้ื ที่เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก แตป ระเดน็ ปญหาท่ีพบในเมืองทองเที่ยวในเขตน้ี
คือ ระบบการคมนาคมขนสง สาธารณะภายในเมือง การเดินทางไปยงั แหลงทองเทีย่ ว การเดนิ ทางระหวาง
จังหวัดยงั ขาดการจัดการท่ีเปน ระบบ

ดานการรวมกลุมกันของการดําเนินธุรกิจดานโลจิสติกสทางการทองเท่ียว ทั้งธุรกิจ
ตนนํ้า กลางนา้ํ และปลายนํา้ จากขอ มลู พบวา ใน ๔ จงั หวัด คอื ชลบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี และตราด สามารถ
แ บ ง ร ะ ดั บ ข อ ง ก า ร ก ร ะ จุ ก ตั ว แ ล ะ ก า ร เ ช่ื อ ม โ ย ง ก า ร พั ฒ น า ใ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง เ ข ต พั ฒ น า
การทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกหรือเครือขายได ๒ กลุม คือ กลุมท่ีมีความกระจุกตัวและการเชื่อมโยง
ในระดับสูงแตย ังไมเขมแข็งและยง่ั ยืน คอื ชลบุรี สวนอกี กลมุ คือ จงั หวดั ระยอง จนั ทบุรี และตราด มจี ํานวน
ของตนนาํ้ กลางนา้ํ และปลายนํา้ ในบางธุรกิจหรือบางหนวยงานไมมากนัก อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณา
ในภาพรวมแลวนั้น พบวา การเช่ือมโยงกันของเครือขายธุรกิจดานโลจิสติกสในเขตน้ีจัดวาอยูในระดับกลาง
ดังน้ันแผนการพัฒนาเขตการทองเที่ยวนี้ จึงควรมุงและเรงสรางกลไกการเช่ือมโยงของระบบหวงโซอุปทาน
ของการทองเที่ยวใหมีความสมดุล ไมมุงพัฒนาหรือสงเสริมเฉพาะเครือขายตนนํ้า กลางนํ้า หรือปลายนํ้า
แบบแยกสวน แตควรคํานึงถึงการพัฒนาเชิงบูรณาการและการพัฒนาองคประกอบของระบบการจัดการ
ทองเท่ียวไปพรอมๆ กัน

“โครงการจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารพัฒนาการทอ งเทีย่ ว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๓

๒) เงือ่ นไขปจจยั อปุ สงค (Demand Conditions)
ดานปจจัยอุปสงค เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก มีปจจัยอุปสงคอยูในระดับสูง

เนื่องจากนักทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกที่มีทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ
มีพฤติกรรมการทองเที่ยวที่หลากหลาย สามารถแบงกลุมนักทองเที่ยวของเมืองทองเที่ยวหลักและ
เมืองทองเที่ยวรองไดดังน้ี

อปุ สงคข องเมืองทองเทยี่ วหลกั คือ จังหวัดชลบรุ ี และระยอง นักทอ งเทีย่ วทเ่ี ดินทางทองเที่ยว
ในพ้ืนที่ 2 จังหวัดดังกลาวสวนใหญเปนนักทองเท่ียวชาวไทยกลุมวัยเรียน กลุมวัยทํางาน กลุมครอบครัว
กลุมองคกร กลุมสัมมนา ฯลฯ และชาวตางประเทศโดยมากเดินทางมาจากประเทศจีน รัสเซีย อินเดีย
ตะวันออกกลาง และยุโรป รวมไปถึงนักทองเท่ียวจากกลุมประเทศอาเซียนที่ถึงแมจะยังมีจํานวนไมมาก
แตเ ปน แนวโนม ท่ีสําคัญทีเ่ ขตพัฒนาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออกควรเรงวางแผนดําเนินการดานการตลาด
เชิงรุกใหมากข้ึน อยางไรก็ตาม นักทองเท่ียวสวนใหญยังคงกระจุกตัวในดานของสถานท่ีและเวลา
โดยเฉพาะในชวงเทศกาล วันหยุดนักขัตฤกษ ชวงปดเทอม และฤดูกาลทองเที่ยว สําหรับนักทองเที่ยว
ชาวตา งชาติทเ่ี ดินทางมาทองเที่ยวยังเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกโดยมากจะนิยมการทองเที่ยว
ในแหลง ทอ งเทย่ี วและกิจกรรมการทองเที่ยวทางทะเล ชายหาด รวมไปถงึ กจิ กรรมเพื่อความบนั เทิง

สําหรับอุปสงคของเมืองทองเท่ียวรอง คือ จังหวัดจันทบุรี และตราด นักทองเที่ยวสวนใหญ
ที่เดินทางทองเท่ียวในเมืองทองเที่ยวรองเปนนักทองเที่ยวชาวไทยซ่ึงมาในลักษณะของกลุมครอบครัว
กลุมเพ่ือนรวมงาน กลุมศึกษาดูงาน และนักทองเที่ยวชาวตางชาติจากภูมิภาคยุโรป รัสเซีย และจีน
ตลอดจนกลุมนักทองเที่ยว Longstay ซ่ึงยังคงมีการกระจุกตัวในดานสถานที่และเวลาเชนเดียวกันกับ
เมอื งทอ งเทย่ี วหลกั

นอกจากน้ัน พฤติกรรมของนักทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก แบงออก
ไดเปน 4 กลุมใหญๆ คือ กลุมท่ีเดินทางมาทองเที่ยวเอง กลุมท่ีเดินทางมากับบริษัทนําเท่ียวโดยมีมัคคุเทศก
เปนผูนําการเดินทาง กลุมนักเรียนนักศึกษาที่มาทัศนศึกษา และกลุมศึกษาดูงานและประชุมสัมมนา
เนื่องจากระยะทางและเวลาท่ีใชในการเดินทางไมมาก ประกอบกับความหลากหลายของแหลงทองเท่ียว
และกิจกรรมการทองเท่ียว ในขณะเดียวกัน สามารถแบงรูปแบบการบริหารจัดการเมืองทองเที่ยว
ได 2 รูปแบบ คือ เมืองที่สามารถรองรับนักทองเที่ยวจํานวนมาก (Mass Tourism) ไดแก เมืองพัทยา บางแสน
จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และบางสวนของจังหวัดตราด เชน เกาะชาง และอีกรูปแบบหนึ่งคือ
เมืองที่เหมาะสําหรับนักทองเท่ียวนักทองเท่ียวกลุมเฉพาะที่ชื่นชอบธรรมชาติ การพักผอน และตองการ
สัมผัสกับวิถีชีวิตคนในทองถิ่น ไดแก จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ปจจัยท่ีนักทองเท่ียวทั้งชาวไทย
และตางประเทศใหความสาํ คัญเปนอันดับตนในการเดินทางมาทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝงทะเลตะวันออก คือ ความมั่นใจดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจนความตองการการบริการ
ดานการทอ งเทยี่ วทีม่ มี าตรฐาน

๓) เงอ่ื นไขปจ จัยบริบทกลยทุ ธการแขงขัน (Strategy, Structure, and Rivalry)
ในภาพรวม ปจจัยบริบทกลยุทธการแขงขันของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก

อยใู นระดบั สูง เน่ืองจากมีการจัดการเชิงกลยุทธท่หี ลากหลายตามสถานการณการทองเท่ียวที่เปลยี่ นแปลงไป
มีนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐรวมกับแนวทางการสงเสริม พัฒนา และยกระดับสินคาและบริการ
จากภาคเอกชน มีสถานประกอบการจํานวนมากที่เปนตัวเลือกดานราคาและระดับการใหบริการใหแก

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการพัฒนาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๔

นักทองเที่ยวไดใชบริการ มีการควบคุมคุณภาพและกําหนดมาตรฐานการบริการ แตก็ยังมีอุปสรรคในดาน
การบงั คับใชยังไมเขมงวดมากนักและยังไมครอบคลุมในทุกพ้ืนที่และทุกกิจกรรม ในดานการวางแผนกลยุทธ
ทางการตลาดในการสงเสริมการทองเที่ยว ยังไมไดมีการนําการจัดการตลาดการทองเที่ยวสมัยใหม
(Modern Marketing) มาใชมากเทาที่ควร นอกจากน้ีคุณภาพของภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว
ในเขตพฒั นาการทอ งเทยี่ วฝง ทะเลตะวนั ออก ไดแ ก ธุรกจิ ทพ่ี ัก ธรุ กจิ นาํ เทย่ี ว รา นอาหาร แหลงทองเที่ยว
และรานขายของท่ีระลึกมีความแตกตางกันสูงในแตละพ้ืนที่ บางพ้ืนที่เกิดการแขงขันอยางรุนแรง
โดยเฉพาะในเมืองทองเท่ยี วหลัก คอื พทั ยา บางแสน เกาะในจงั หวัดชลบรุ ี ระยอง และตราด ประกอบกับ
ในบางพื้นที่มีบริษัทตางชาติเขามาดําเนินธุรกิจของตนเองแบบครบวงจร ไดแก บริษัทนําเท่ียว โรงแรมที่พัก
และรานอาหาร ทําใหเกิดปญหาเงินรั่วไหลไปตางประเทศ นอกจากนี้ขีดความสามารถในการแขงขัน
ดานการตลาด ดานราคา ดานความสามารถในการสื่อสารขามวัฒนธรรมและการใชภาษา ก็เปนปญหา
ท่ีสําคัญตอการสรางขีดความสามารถในการแขงขัน ในดานของนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวจากภาครัฐ
ทุกภาคสวนในพ้ืนที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาการทองเที่ยวอยางจริงจัง ทุกจังหวัดตางมีเปาหมายและ
วสิ ัยทศั นท ีใ่ หความสาํ คัญกบั การทอ งเที่ยวเปนยุทธศาสตรห ลักของการพฒั นาจงั หวดั

๔) เงอื่ นไขปจจยั สนับสนนุ ที่เก่ียวเนอ่ื ง (Related and Supporting Industries)
ปจจัยสนับสนุนท่ีเก่ียวเน่ืองของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกอยูในระดับสูง

เนอ่ื งจากมีหนว ยงานภาครฐั และภาคเอกชนในเขตพฒั นาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออกใหการสนับสนุน
การรวมกลุมเปนเครือขายอุตสาหกรรมการทองเท่ียวสาขาตางๆ ในพื้นท่ี ทั้งในลักษณะของการกําหนด
นโยบายและการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ โดยมีการดําเนินงานในลักษณะของคณะกรรมการ สมาคม
ชมรม หนวยงานท่ีเกี่ยวขอ งในอตุ สาหกรรมการทองเท่ยี ว ทัง้ ในระดบั กลมุ จังหวัด จงั หวดั อาํ เภอ และทองถิ่น
เพื่อการพัฒนาการทองเท่ียวจํานวนมาก อยางไรก็ตาม หนวยงานแตละหนวยยังขาดการบูรณาการ
การพัฒนาการทองเทีย่ วใหเ ปน ไปในทศิ ทางและเปา หมายเดยี วกนั แตละเครอื ขา ยยังคงทํางานตามภารกิจ
หนาที่ของตน และเมื่อพิจารณาระดับของการประสานความรวมมือทางธุรกิจการทองเที่ยวในเขต
พัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกแลวน้ัน ยังคงขาดความเช่ือมโยงในหวงโซอุปทานและการประสาน
ประโยชนอยางเปนรูปธรรม ทําใหการพัฒนาการทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฯ เปนไปแบบแยกสวน
รายจังหวัด อยางไรก็ตาม จากการศึกษาพบวาในเขตน้ีมีกลุมทองเท่ียวที่เช่ือมโยงกับกลุมอุตสาหกรรมอ่ืน
เชน กลุมเกษตรกรสวนผลไมที่พัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร และกลุมชุมชนที่ดําเนินการ
จดั การการทองเทยี่ วโดยชุมชน ซงึ่ กเ็ ปน อกี กลุม ธรุ กจิ ที่มคี วามสาํ คญั กับการพฒั นาการทองเทีย่ วของพืน้ ท่ี

สําหรับสถาบันการศึกษาในพ้ืนที่เขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก มีสถาบันการศึกษา
ขนาดใหญ คือ มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี และยังเปนที่ต้ังของ
สถาบันการศึกษาท่ีเปนวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยขนาดใหญ อาทิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยพัทยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา เปนตน ท้ังนี้เนื่องจากมีประชากรมาก เปนเขตอุตสาหกรรม
ขนาดใหญ และอยูใกลกรุงเทพมหานคร ทําใหสะดวกในการจัดการเรียนการสอน นอกจากน้ียังมี
สถาบันการศึกษาทั้งในระดับอาชีวศึกษาและระดับมหาวิทยาลัยที่เปดสอนหลักสูตรดานการทองเท่ียว
และการโรงแรมมีอยูหลายแหง อาทิ วิทยาลัยดุสิตธานี ศูนยการศึกษาเมืองพัทยา ซ่ึงเพียงพอตอปริมาณ
การผลิตบุคลากร แตหลักสูตรการเรียนการสอนยังควรไดรับการพัฒนาใหสนองตอบตอความตองการ
ของภาคธุรกิจและความตองการของพื้นท่ีมากขึ้น เชน หลักสูตรดานการจัดการการทองเท่ียวทางทะเล

“โครงการจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการพฒั นาการทอ งเทีย่ ว ภายในเขตพฒั นาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๕
หลักสูตรการจัดการธุรกิจการประชุมและนิทรรศการนานาชาติ (MICE) หลักสูตรดานโลจิสติกส
และหลกั สูตรการจดั การการทอ งเทยี่ วเชิงสรา งสรรค เปน ตน

กลาวโดยสรุป จากการประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจของเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝงทะเลตะวันออกดังที่กลาวมาขางตน สามารถสรุปประเด็นการพัฒนาการทองเที่ยวของเขตพัฒนา
การทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก ตามกรอบแนวคดิ การวิเคราะห Diamond Model ไดด ังนี้

“โครงการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาการทอ งเทีย่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

โอกาส เง่ือนไขปจ จัยบ

- มีกฎระเบยี บ/มาตรฐานการทอ งเ
- วางแผนเจาะกลมุ นกั ทอ งเทย่ี วเปา

นักทอ งเทย่ี วไปยังเมอื งรอง
- คุณภาพและมาตรฐานการบรกิ าร

แขง ขนั สูง
- ผปู ระกอบการยงั ขาดจรยิ ธรรมทา

เง่ือนไขปจ จยั การผลิต

- แหลง ทอ งเทยี่ วมีความหลากหลายและดงึ ดูดใจ
- ขาดการสรา งมลู คาและคณุ คา เพม่ิ เชื่อมโยงท้งั ภายในและภายนอกเขตฯ
- ขาดบคุ ลากรท่มี คี ุณภาพและมีมาตรฐานการบรกิ าร
- เพม่ิ มาตรการดา นความปลอดภัยของนกั ทองเที่ยวทั้งจากภัยธรรมชาติ

และอาชญากรรม
- สิง่ อาํ นวยความสะดวกยงั ไมเพยี งพอตอ การทองเทยี่ ว
- ขาดการเชือ่ มโยงดานการคมนาคมในเมอื งทองเที่ยวรอง
- ขาดประสทิ ธภิ าพดา นขอมูลสารสนเทศของผปู ระกอบการและ

นกั ทองเท่ยี ว และชอ งทางการสือ่ สารดา นการทอ งเที่ยวภายในเขตฯ

เงอื่ นไขปจ จยั

- มกี ารรวมกลมุ กนั เปน เครอื ขาย แ
ของการจัดการโลจสิ ตกิ สทางการ

ภาพ ๒.๒ สรปุ การวิเคราะหศกั ยภาพของเขตพัฒนาการทองเทยี่ วฝง ทะเลตะ

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒

๑๖

บรบิ ทกลยุทธก ารแขง ขนั
เทีย่ วแตขาดการควบคมุ การนําไปใช
าหมายตองชัดเจนมากขนึ้ และเนนการกระจาย

รยงั มคี วามแตกตา งกนั สงู บางพืน้ ที่มกี าร

างการดาํ เนินธุรกจิ หรอื มีตา งขาตเิ ปนเจาของ

เง่อื นไขปจ จัยอุปสงค

- ในเมืองหลัก สวนใหญเปน ชาวตา งชาติ ใชบรกิ ารบรษิ ทั นําเที่ยว
และเนน กจิ กรรมทางทะเล

- ในเมอื งรอง สว นใหญเปนนกั ทอ งเที่ยวไทย เดนิ ทางมาเอง
หรือมาประชุมสัมมนา

- จาํ นวนนกั ทอ งเท่ยี วขน้ึ อยกู ับฤดูกาลทองเทย่ี ว
- นักทองเทยี่ วยังตอ งการการบรกิ ารดา นการทอ งเท่ียวท่เี กยี่ ว

โยงกัน

ยสนับสนุนทเี่ กยี่ วเนือ่ ง ภาครฐั
แตย งั ขาดการประสานงานท่ีชัดเจนในรปู แบบ
รทอ งเที่ยว - แผนยุทธศาสตรด า นการทอ งเทยี่ ว
ในระดับตา งๆ
ะวนั ออกตามกรอบแนวคิด Diamond Model

๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๗

๒.๔ ประเด็นสําคัญ (Critical Issue) เพ่ือการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของเขตพัฒนา
การทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
จากขอมูลการวิเคราะหศักยภาพของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก เพ่ือเปน

แนวทางการสรางขีดความสามารถในการแขงขันและสรางมูลคาเพิ่มใหกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวของ
เขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก มีประเด็นสําคัญท่ีสงผลตอการพัฒนาการทองเท่ียวในพ้ืนที่
ดังนี้

๑) ประเด็นการสรางคุณคา และมูลคา เพิ่มของแหลง ทองเท่ียวบนพื้นฐานอัตลักษณของทรัพยากร
ทางการทองเที่ยวในทอ งถน่ิ ตลอดจนการสรา งมาตรการจดั การกบั ขีดความสามารถในการรองรับไดข องพื้นที่
แหลงทอ งเท่ียวอยางยั่งยืน ไดแก ชายหาด ทะเล เกาะ และแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม
ทอ งถนิ่ เปน ตน

๒) ประเด็นการสรางภาพลักษณทางการทองเท่ียวเพื่อเสริมสรางการจดจําและการรับรูของ
นกั ทองเที่ยว เชน

 จังหวัดชลบุรี เปนเมืองทองเที่ยวที่มีหาดทรายชายทะเลที่มีสีสัน ที่เต็มไปดวยกิจกรรม
การทองเทีย่ ว ส่งิ อํานวยความสะดวก และการรองรบั การทอ งเทยี่ วมวลชน (Mass Tourism) ได

 จังหวัดระยอง เปนเมืองทองเที่ยวที่มีเกาะและชายทะเลที่สวยงาม มีความเงียบสงบ
เหมาะกับการพักผอนหยอนใจ มีแหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร เปนแหลงปลูกผลไมและ
มีอาหารทะเลทีอ่ รอยและสมบรู ณ

 จังหวัดจันทบุรี เปนเมืองทองเที่ยวที่มีความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ โดดเดนดวย
แหลงทองเท่ียวเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม และวิถีชีวิตทองถิ่นท่ีผสมผสานดวยเรื่องราว
ของกลุมชาติพันธุ เปนแหลงเพาะปลูกผลไมขึ้นช่ือ

 จังหวัดตราด เปนเมืองทองเท่ียวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีชายหาดและเกาะท่ีสวยงาม
ควบคูไปกับการทองเท่ียวเชิงวิถีชีวิตชุมชน รวมถึงการเปนเมืองทองเที่ยวชายแดนสูประเทศ
เพื่อนบา น

3) ประเด็นดานมาตรฐานการใหบริการสินคาและบริการดานการทองเท่ียว จําเปนอยางยิ่ง
ที่จะตองเรงพัฒนาฝมือแรงงานตามมาตรฐาน ASEAN MRA on TP ใหกับบุคลากรทางการทองเที่ยว
ในเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวนั ออก เพอ่ื เสรมิ สรางความเชื่อมั่นและภาพลักษณทางการทองเที่ยว
ทม่ี ีมาตรฐานและเปนที่ยอมรบั ในระดบั สากล

4) ประเด็นความปลอดภัยในแหลงทองเท่ียวทั้งท่ีเกิดจากภัยธรรมชาติและเหตุอาชญากรรม
รวมถึงการหลอกลวงและเอารัดเอาเปรียบนักทองเที่ยว ท้ังนี้เพื่อการปรับเปล่ียนภาพลักษณใหมในการเปน
เมอื งทอ งเทย่ี วท่ีมคี วามปลอดภยั แกน กั ทองเท่ยี วทกุ กลุม

5) ประเด็นการจัดการอุปสงคทางการทองเที่ยวใหสมดุล ทั้งในดานของสถานที่และฤดูกาล
ผานการทําการตลาดประชาสัมพันธแหลงทองเที่ยวในเมืองรองเพื่อกระจายนักทองเที่ยว เพิ่มกิจกรรม
การทองเที่ยวที่หลากหลายใหสามารถดึงดูดนักทองเทย่ี วใหเ ดินทางมาไดต ลอดท้ังป ท้ังนี้เพือ่ เปนการสงเสริม
การเดินทางทองเท่ียวของนักทอ งเทยี่ วในทุกระดบั

6) ประเดน็ การพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐานเพื่อเชอื่ มโยงการเดินทางและการทองเทย่ี วภายในจังหวัด
และภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก การเชื่อมโยงกับเขตพัฒนาการทองเที่ยวอื่น

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการพัฒนาการทอ งเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝงทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๘
รวมถึงการเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบานในภูมิภาค โดยเนนการเช่ือมตอของเครือขายการคมนาคม
ท้ังทางนํ้า ทางอากาศ และทางบก ไดแก โครงการทาเรือนํ้าลึก โครงการรถไฟความเร็วสูงเช่ือมตอ
สามสนามบิน โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) ท่ีครอบคลุมพื้นที่
สามจงั หวัดในภาคตะวนั ออก ไดแก จังหวัดฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และระยอง ซง่ึ ลว นมศี กั ยภาพในการรองรับ
การพัฒนาทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการทองเท่ียว

7) ประเด็นการประสานการทํางานของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคทองถ่ิน และชุมชน ซึ่งเปนกลไก
ในการขับเคลื่อนการทองเท่ียวใหเกิดเปนรูปธรรมได ดังน้ันผูท่ีเกี่ยวของทุกภาคสวนจะตองรวมกัน
พัฒนาอยางบูรณาการ ไมตางคนตางคิด ตางคนตางทํา เพราะจะทําใหการพัฒนาการทองเที่ยวในพ้ืนท่ี
ขาดเสถยี รภาพ อนั จะสงผลใหไมเปนไปตามเปาหมายการพัฒนาทไ่ี ดวางไว

8) ประเด็นการวางแผนแบบบูรณาการและการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว
ระดับตางๆ กลาวคือ ในการพัฒนาการทองเที่ยวจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการบูรณาการการพัฒนา
การทองเท่ียวใหสอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายการพัฒนา ตลอดจนแผนการปฏิบัติงานในระดับตางๆ
ของพื้นที่ ผานการกําหนดใหการทองเท่ียวเปนเคร่ืองมือหนึ่งในการสรางรายได สรางงาน ยกระดับ
คณุ ภาพชวี ติ และเพมิ่ ความสุขใหค นในทองถ่นิ

9) ประเด็นการสง เสริมการตลาดทอ งเที่ยวดิจิตอลของเขตพัฒนาการทอ งเทีย่ วฝงทะเลตะวันออก
เพ่ือเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวและรายไดจากการทองเท่ียว โดยเฉพาะจากกลุมนักทองเที่ยวคุณภาพที่มี
รูปแบบการเดินทางทองเท่ียวเฉพาะตัวและมีแนวโนมในการใชจายสูงใหแกสินคาและบริการ รวมถึง
ประสบการณทางการทอ งเที่ยวที่มีคุณคา

10) ประเด็นการแกไ ขปญหาดา นส่งิ แวดลอ ม เชน น้าํ เสีย ขยะ และมลพษิ ทางอากาศ ซึ่งอาจสง ผลเสยี
ใหแกก ารทอ งเท่ยี วของเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออกและของประเทศในภาพรวมตอไป

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทองเทีย่ ว ภายในเขตพฒั นาการทองเทยี่ วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๑๙

๒.๕ การวางตําแหนง ทางการทองเทยี่ วของจังหวัดในเขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วฝง ทะเลตะวนั ออก
จากการวิเคราะหขอมูลของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก สามารถสรุปจุดเดน

ของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกและวางตําแหนงทางการทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝง ทะเลตะวนั ออก ดังนี้

 เปน เมอื งชายทะเลฝง ตะวนั ออก (ทะเลอา วไทย) ท่มี ชี ายหาดและเกาะทีส่ วยงาม
 มคี วามหลากหลายของทรัพยากรการทองเทีย่ ว
 มีแหลง ทอ งเท่ยี วและกิจกรรมการทองเทยี่ วท่หี ลากหลาย
 มขี ีดความสามารถในการรองรบั การทองเที่ยวในระดบั นานาชาตไิ ด
 มีช่ือเสียงดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม การทองเท่ียวเชิงวิถีชีวิตชุมชน และการทองเที่ยว

เชงิ เกษตรที่
 สามารถเช่อื มโยงกับประเทศเพ่ือนบาน คอื กัมพูชา และเปนเสน ทางตอ ไปยังประเทศเวยี ดนาม
 มีโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) และการสนับสนุน

โครงการพฒั นาจากภาครัฐจํานวนมาก

ตาราง ๒.๔ การวิเคราะหเพ่ือวางตาํ แหนงทางการทองเที่ยวของจังหวัดในเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝงทะเลตะวันออก

จังหวัด ประเด็นการวเิ คราะห
ความโดดเดน นกั ทอ งเทีย่ ว ขดี ความสามารถ การวางตําแหนง
ทางการทอ งเทยี่ ว เปาหมาย ในการแขงขัน ทางการทอเท่ียว
ชลบรุ ี - ระยะทางไมไ กลจากกรงุ เทพฯ - นักทอ งเท่ียวชาว - เง่ือนไขปจ จยั การผลติ - เนน กิจกรรมการ
มเี สน ทางคมนาคมทีส่ ะดวก ไทยและตางชาติ มีศักยภาพในระดบั สงู ทอ งเที่ยวทางทะเล
- อยูในพ้นื ที่ EEC และอยใู กล - นักทอ งเทย่ี ว - เง่อื นไขปจ จัยอุปสงค ชายหาด และกจิ กรรมการ
กับสนามบนิ นานาชาติ กลุม MICE มีศักยภาพในระดับสงู ทอ งเทยี่ วเพือ่ ความบันเทิง
สวุ รรณภมู แิ ละสนามบิน - นักทอ งเทยี่ ว - บริบทการแขงขันและ - ดึงดูดความสนใจดว ย
นานาชาตอิ ูตะเภา กลุมประชุม กลยุทธการดาํ เนินธุรกิจ กิจกรรมการทอ งเท่ียวที่
- มกี จิ กรรมการทองเทย่ี วที่ สัมมนา มีศักยภาพในระดับสูง หลากหลาย เชน เทศกาล
หลากหลาย - นกั กีฬา - ปจ จัยสนบั สนนุ ท่ี ดนตรีและคอนเสิรต การ
- มโี รงแรมที่พกั และสถาน เก่ียวเน่อื ง มศี ักยภาพใน แขงขนั กฬี า ฯลฯ
ประกอบการมีความพรอม ระดับสูง - ชูจดุ เดน ศกั ยภาพและ
ในระดับสากล รองรับ ความพรอ มของสถาน
นักทองเท่ียวไดจาํ นวนมาก ประกอบการทสี่ ามารถ
- เมืองพทั ยาทีเ่ ปนแหลง รองรับนกั ทองเที่ยวได
ทองเทีย่ วมีชอื่ เสยี งระดบั โลก หลายระดบั
- มแี นวทางสง เสรมิ การ - เจาะกลมุ ตลาด
ทองเทย่ี วเชงิ กฬี า และ MICE นักทองเท่ียวทงั้ ชาวไทย
อยา งชัดเจน และชาวตา งชาติ

“โครงการจัดทาํ แผนปฏิบตั ิการพัฒนาการทอ งเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเท่ียวฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๐

ตาราง ๒.๔ (ตอ) ประเด็นการวิเคราะห

จังหวดั ความโดดเดน นกั ทองเทย่ี ว ขีดความสามารถ การวางตําแหนง
ทางการทอ งเท่ียว เปา หมาย ในการแขง ขนั ทางการทอเท่ยี ว
ระยอง - เปนท่ตี ง้ั ของสนามบิน - นกั ทองเทย่ี วชาว - เง่อื นไขปจจัยการผลติ - เนนกจิ กรรมการทองเทย่ี ว
นานาชาตอิ ตู ะเภา ไทยและตางชาติ มีศักยภาพในระดับสงู ทางทะเล เกาะ และชายหาด
- มที รพั ยากรการทองเที่ยวที่ (สวนใหญเ ปน ชาว - เง่อื นไขปจ จยั อุปสงค - ชจู ดุ เดนของการทองเทีย่ ว
เงยี บสงบเหมาะแกการพกั ผอน ไทย) มีศักยภาพในระดับ เชงิ อาหารในพื้นที่ ไดแ ก
- มอี าหารทะเลทอี่ ุดมสมบรู ณ - นักทองเทีย่ ว ปานกลาง อาหารทะเล ผลไม และ
และอาหารพืน้ ถ่นิ ทีโ่ ดดเดน กลมุ ศึกษาดูงาน - บริบทการแขงขันและ พืชผกั ทองถิน่
- มีสวนผลไมแ ละแหลง และประชมุ สมั มนา กลยุทธการดําเนินธุรกิจ - สรา งเอกลักษณแ ละ
ทอ งเท่ยี วเชิงเกษตร มีศักยภาพในระดับ ความนาสนใจของการ
- มวี ัฒนธรรมทองถิ่นและ ปานกลาง ทองเทีย่ วเชิงเกษตรและ
เรอ่ื งเลาเชงิ ประวัตศิ าสตร - ปจ จยั สนบั สนุนท่ี การทอ งเที่ยวเชิง
เชน ประวตั สิ นุ ทรภู วรรณคดี เกี่ยวเน่ือง มศี กั ยภาพใน ประวตั ศิ าสตรและ
เรื่องพระอภัยมณี ระดบั สงู วัฒนธรรม
จนั ทบรุ ี - มที รพั ยากรการทอ งเทยี่ วท่ี - นักทองเท่ียวชาว - เง่อื นไขปจจยั การผลติ - เนน แหลงทองเที่ยวทาง
เงยี บสงบเหมาะแกการพกั ผอ น ไทยและตา งชาติ มีศักยภาพในระดับ ธรรมชาติ ไดแก ชายหาด
- มกี ิจกรรมการทอ งเทยี่ วเชิง (สว นใหญเ ปน ชาว ปานกลาง นาํ้ ตก
ประวตั ิศาสตร วัฒนธรรม ไทย) - เงอ่ื นไขปจจยั อุปสงค - ชจู ุดเดนของการทองเทย่ี ว
กลมุ ชาติพันธุ และแหลง - นกั ทอ งเทีย่ ว มีศักยภาพในระดับ เชิงอาหารในพื้นท่ี ไดแก
เรียนรูวิถีชวี ติ ชมุ ชนเมืองเกา กลุม ศึกษาดูงาน ปานกลาง อาหารทะเล ผลไม และ
- เปนแหลงเพาะปลูกผลไมท่ี และประชุมสมั มนา - บริบทการแขงขันและ พืชผักทอ งถนิ่
มชี ื่อเสยี งระดบั ประเทศ กลยุทธการดาํ เนินธุรกิจ - สรา งเอกลักษณและ
- มอี าหารทะเลที่อดุ ม มีศักยภาพในระดับ ความนา สนใจของแหลง
สมบรู ณและอาหารพ้นื ถ่นิ ท่ี ปานกลาง ทอ งเที่ยวเชิงประวัติศาสตร
โดดเดน - ปจ จัยสนบั สนุนที่ วฒั นธรรม และวถิ ชี ีวิต
- มีพรมแดนตดิ กบั กัมพชู า เกี่ยวเนื่อง มศี กั ยภาพใน ชมุ ชนเมอื งเกา ในอดตี
ระดบั ปานกลาง - เนนแหลง ทอ งเท่ียวทาง
ตราด - มแี หลง ทองเทยี่ วทางทะเล - นักทองเทยี่ วชาว - เงอ่ื นไขปจ จัยการผลติ ธรรมชาติ มคี วามสวยงาม
ท่มี ีช่อื เสียงในระดบั ไทยและตา งชาติ มีศักยภาพในระดับ เหมาะแกก ารพกั ผอ น
นานาชาติ (สวนใหญเ ปน ปานกลาง - ชูจดุ เดนของสถาน
- มภี าพลักษณของการเปน ชาวตางชาติ) - เงือ่ นไขปจจยั อปุ สงค ประกอบการและการ
เมืองทอ งเทยี่ วท่ีเปน มติ รกบั มีศักยภาพในระดบั สงู ใหบ รกิ ารทเ่ี ปนมติ รกบั
สง่ิ แวดลอม - บริบทการแขงขันและ สิ่งแวดลอม
- มแี หลง ทอ งเท่ยี ววิถชี วี ติ กลยุทธการดําเนินธรุ กิจ - สรางมูลคา และคุณคา
ชุมชนและประวตั ศิ าสตร มีศักยภาพในระดับสูง เพ่ิมใหก บั สนิ คาและ
- มีดานพรมแดนเชอื่ มตอกับ - ปจ จัยสนบั สนุนท่ี บริการ รวมถึง
ประเทศกัมพชู า เกย่ี วเนื่อง มีศักยภาพใน ประสบการณก าร
- มสี นามบนิ ตราดเชือ่ มโยง ระดบั สงู ทองเทีย่ วทมี่ เี อกลักษณ
การเดนิ ทางกับเขต เฉพาะพืน้ ท่ี
พฒั นาการทอ งเทย่ี วอืน่

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการพัฒนาการทองเท่ียว ภายในเขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๑

๒.๖ ขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเล
ตะวันออก

ตาราง ๒.๕ ประเด็นสําคัญและขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาการทองเที่ยวของเขตพัฒนา
การทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวันออก

ประเดน็ สาํ คัญ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
๑) การสรางคุณคาและมูลคาเพิ่มใหกับแหลง - ชูเอกลักษณ อัตลักษณ และความโดดเดนของ
ทองเที่ยวบนพ้ืนฐานของอัตลักษณทาง ทรัพยากรทางการทองเที่ยว ในแตล ะท อ ง ถ่ิน
วัฒนธรรมและทรัพยากรทางการทองเท่ียว ประชาสัมพันธและสรางการรับรูเพ่ือเพิ่มคุณคาและ
ในทองถิ่น ตลอดจนการสรางมาตรการ มูลคา ใหกบั ทรัพยากรทางการทองเท่ยี ว
ในการจัดการกับขีดความสามารถในการรองรับได - ศึกษา วางแผน กําหนดขีดความสามารถในการรองรับ
ของพ้นื ทีแ่ หลง ทองเทย่ี วอยางยัง่ ยนื ไดของแหลงทองเที่ยวแตละแหง ตลอดจนกําหนด
แ น ว ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ห ล ง ท อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ
ทรพั ยากรการทองเท่ียวอยา งเหมาะสมและย่งั ยืน
๒) ความพรอมของสาธารณูปโภคพื้นฐาน - พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในแหลงทองเที่ยว
ก า ร ส ง เ ส ริ ม ต ล า ด ท อ ง เ ท่ี ย ว ดิ จิ ทั ล อยางเหมาะสม สอดคลองกับแนวทางการพัฒนาเมือง
และสิ่งอํานวยความสะดวกในการเช่ือมโยง ในภาพรวม
การทองเท่ียวภายในจังหวัดและภายในเขต - พัฒนาระบบการใหบริการและสิ่งอํานวยความสะดวก
พฒั นาการทอ งเท่ียว ทางการทองเทีย่ วของแตล ะเมืองอยางเหมาะสม
- พัฒนาระบบ ICT และระบบสารสนเทศการตลาด
แบบดิจิทัล เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวรวมถึงการคา
และการลงทนุ
๓) การพัฒนาศักยภาพแรงงานผูใหบริการ - วางแผนการพัฒนาบุคลาการดานการทองเที่ยว
ในอตุ สาหกรรมการทองเท่ียว รวมถึงการผลิต ทุกระดับในทุกสาขาของอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
บุคลากรที่มีปริมาณและคุณภาพเหมาะสมกบั - สงเสริมใหผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวภาคเอกชน
ความตอ งการของตลาดแรงงาน ใหค วามสาํ คัญกบั การพัฒนาบคุ ลากร
- สง เสริมใหส ถาบนั การศกึ ษาจัดการเรียนการสอนและ
พัฒนาบุคลากรใหมีขีดความสามารถตามความตองการ
ของตลาดแรงงานในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว
๔) การเจาะตลาดนักทองเที่ยวนักทองเที่ยว - วางแผนการทาํ การตลาดทส่ี งเสรมิ การเดนิ ทาง
คุณภาพและนักทองเที่ยวจากประเทศ ทองเท่ยี วของนักทอ งเท่ียวคณุ ภาพ
อาเซียน เชน เวยี ดนาม กมั พชู า และลาว - เจาะกลุมตลาดนักทองเที่ยวท่ีมีศักยภาพในการใช
จายเพอ่ื การทอ งเท่ียวมากขน้ึ
- เจาะกลุมตลาดนักทองเท่ียวคุณภาพจากกลุมประเทศ
อาเซยี น เชน เวยี ดนาม กัมพูชา และลาวมากข้ึน
- ขยายกลุมตลาดนักทองเที่ยวคุณภาพจากกลุมประเทศ
นอกภมู ิภาคอาเซยี น เชน ยุโรป จีน เกาหลี ญีป่ นุ เปนตน

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพฒั นาการทองเทยี่ วฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๒

ตาราง ๒.๕ (ตอ)

ประเดน็ สาํ คญั ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
๕) การขยายฐานนกั ทอ งเทีย่ วตา งประเทศ - สํารวจและพัฒนาเสนทางทองเทย่ี วเชือ่ มโยงการเดินทาง
จากเมืองทองเทยี่ วหลักเชื่อมโยงไปยังเมือง จากเมืองทองเทย่ี วหลักไปยังเมืองทองเท่ียวรอง
ทองเทีย่ วรอง คือ ระยอง จนั ทบุรี และตราด - พัฒนาและปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานท่ีเช่ือมโยง
และการเพิ่มจาํ นวนวนั พาํ นักระหวา งการเดินทาง การเดนิ ทางเช่ือมตอภายในเขตพัฒนาการทอ งเท่ียว
ทอ งเท่ียวมากขึน้ - พัฒนาสินคาและบริการการทองเที่ยวเพ่ือนําเสนอ
ในรูปแบบโปรแกรมทองเท่ียวหรือแพ็คเกจการทองเท่ยี ว
ท่ีดงึ ดูดใหนักทองเทย่ี วใชเวลาทองเที่ยวในพ้ืนทีน่ านขึน้
๖) มาตรการดา นความปลอดภยั ของนักทองเท่ียว - เพิ่มจํานวนเจาหนาที่และพัฒนาบุคลากรท่ีมีหนาท่ี
ในแหลงทอ งเทีย่ วทัง้ ทางบกและทางทะเล ดานการดูแลความปลอดภัยของนักทองเท่ียว โดยเฉพาะ
ในแหลงทองเท่ียวที่มีความเส่ยี งสูง เชน อาสาสมัครใน
ชมุ ชนแหลง ทองเที่ยว
- มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนใหกับนักทองเท่ียวเม่ือ
ตองการความชวยเหลือขณะเดินทางทองเที่ยวภายใน
พนื้ ท่ี
๗) มาตรการควบคุมการดําเนินธุรกิจและ - สงเสริมและกระตุนใหผูประกอบการดําเนินธุรกิจ
จรยิ ธรรมทางธรุ กจิ บนฐานของจริยธรรม โดยการใหสิทธิประโยชน เชน
สิทธิประโยชนทางภาษี การใหการรับรอง การใหรางวัล
เชดิ ชเู กียรตเิ พือ่ สรางแรงจงู ใจ
- บงั คับใชม าตรการทางกฎหมายอยางเครง ครัด
๘) เรื่องสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยวและ - เสริมสรางและกระตุนใหสถานประกอบการ ชุมชน
การจดั การน้าํ อยางเปนระบบ ในแหลงทองเที่ยว และนักทองเที่ยวตระหนักถึง
ความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมซึ่งเปน
ทรพั ยากรสําคัญของการทอ งเทย่ี ว
- สรางมาตรการการควบคุมการใชทรัพยากรทุกประเภท
อยา งเปน ระบบและยงั่ ยืน
๙) ความรวมมือในการพัฒนาเครือขาย - สรางกลไกการทํางานแบบมีสวนรวมของเขตพัฒนา
และกลไกการทํางานรวมกันของเครือขาย การทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก ครอบคลุมทุกมิติของ
การทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฯ การจัดการการทองเท่ียว คือ ชุมชนในแหลงทองเท่ียว
ทั้งน้ีเพ่ือใหเกิดการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ นกั ทองเทย่ี ว และหนว ยงานที่เกีย่ วของทุกภาคสวน
มากข้ึน

“โครงการจดั ทําแผนปฏิบัติการพฒั นาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝงทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๓

บทที่ ๓
ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาการทองเท่ียวภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล
ตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายหลัก ประเด็นการพัฒนา
และกลยทุ ธ ดงั มีรายละเอียดดังน้ี

๓.๑ วสิ ยั ทัศน

“การทองเท่ยี วเชิงสรา งสรรค มหศั จรรยสีสนั ตะวนั ออก”

คําอธิบายวิสัยทัศน : พัฒนาใหเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกเปนเมืองทองเที่ยว
เชิงสรางสรรค ท่ีมีความสะดวก สะอาด ปลอดภัย เต็มไปดวยความหลากหลายของกิจกรรม (Activity)
และเทศกาล (Festivity)

๓.๒ พันธกิจ
๑) พัฒนาใหเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกเปนเมืองทองเที่ยวเชิงสรางสรรค

ท่ีเต็มไปดวยความหลากหลายของกิจกรรม งานเทศกาล แหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน
๒) สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเมืองทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเท่ียว

ฝงทะเลตะวันออกดว ยการตลาดดจิ ิทลั (Digital Marketing)
๓) สนับสนุนอุตสาหกรรมการทองเท่ียวที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและแกไขปญหาส่ิงแวดลอม

ทางการทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก
๔) ยกระดบั และขับเคลื่อนมาตรการดานความปลอดภยั ทางการทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเท่ียว

ฝง ทะเลตะวันออก
๕) เชื่อมโยงการทองเที่ยวทั้งภายในและภายนอกเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก

รวมถึงประเทศเพื่อนบานและนานาชาติ

“โครงการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการพฒั นาการทองเทยี่ ว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๔

๓.๓ เปาหมายหลัก
๑) เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง ขันทางการทองเทย่ี วเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก
๒) เพ่ิมรายไดจากการทองเที่ยวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเท่ียวรองในเขตพัฒนา

การทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวนั ออก
๓) กระจายรายไดจ ากการทองเที่ยวใหท วั่ ถึงและเปนธรรมภายในเขตพฒั นาการทองเทีย่ วฝง ทะเล

ตะวันออก รวมถึงจงั หวัดใกลเคียงและพ้นื ท่ีเชือ่ มโยงภายนอกเขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวนั ออก
๔) พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกทั้งในมิติ

เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และสิง่ แวดลอม
๕) รักษาและสืบทอดอัตลักษณทางวัฒนธรรมท่ีหลากหลายของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล

ตะวันออก
๖) สรางความพึงพอใจและความเชื่อมั่นตอแหลงทองเที่ยวและสถานประกอบการภายใน

เขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก
๗) สงเสริมใหแหลงทองเท่ียวและสถานประกอบการในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก

ไดร ับการรบั รองมาตรฐานการทอ งเทยี่ วในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

๓.๔ ตัวช้วี ัดหลกั
๑) จํานวนแหลงทองเท่ียวและกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคของเขตพัฒนาการทองเที่ยว

ฝงทะเลตะวันออกที่ไดรบั การพฒั นาและสง เสริม
๒) จํานวนสื่อประชาสัมพันธการทองเที่ยวในรูปแบบการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing)

ของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก
๓) จาํ นวนสถานประกอบการที่ไดร บั การรบั รองมาตรฐานการทอ งเทีย่ วไทยและนานาชาติ
๔) ระดับความพึงพอใจและความเชื่อมั่นใจตอการทองเที่ยวภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว

ฝงทะเลตะวนั ออก
๕) จํานวนเสนทางการทองเที่ยวเชื่อมโยงภายในและภายนอกเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล

ตะวันออก ประเทศเพ่ือนบาน และนานาชาติ

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ตั ิการพฒั นาการทอ งเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทยี่ วฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๕

๓.๕ ประเดน็ การพฒั นา
 ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ พัฒนาและเพิ่มคุณคาและมูลคาใหกับทรัพยากร สินคา ผลิตภัณฑ
และกิจกรรมทางการทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล
ตะวนั ออกอยางสรางสรรค
 ประเดน็ การพัฒนาท่ี ๒ พัฒนาและสงเสริมการตลาดดิจิทัลเพื่อเพิ่มนักทองเที่ยวคุณภาพ
ทงั้ ในและตา งประเทศ
 ประเด็นการพัฒนาที่ ๓ พัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวใหเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและเขาสู
มาตรฐานสากล
 ประเด็นการพฒั นาท่ี ๔ ยกระดับและขับเคล่ือนมาตรการดานความปลอดภัยและสรางความเช่ือม่ัน
ทางการทองเทยี่ ว
 ประเด็นการพัฒนาท่ี ๕ พฒั นาการทองเทยี่ วเชอ่ื มโยงภมู ภิ าค ประเทศเพื่อนบาน และนานาชาติ

ประเด็นการพัฒนาท่ี ๑ พัฒนาและเพ่ิมคุณคาและมูลคาใหกับทรัพยากร สินคา ผลิตภัณฑ และกิจกรรม
ทางการทองเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ งเทยี่ วฝงทะเลตะวนั ออกอยา งสรา งสรรค
เปาประสงคเชงิ ยุทธศาสตร

๑. เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขงขันทางการทองเทย่ี วเขตพฒั นาการทองเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก
๒. เพิ่มรายไดจากการทองเท่ียวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเที่ยวรองในเขตพัฒนา
การทอ งเทยี่ วฝง ทะเลตะวนั ออก
๓. กระจายรายไดจากการทอ งเท่ียวใหทัว่ ถึงและเปนธรรมภายในเขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝง ทะเล
ตะวันออก รวมถงึ จังหวัดใกลเคยี งและพนื้ ทเี่ ช่อื มโยงภายนอกเขตพัฒนาการทองเทยี่ วฝง ทะเลตะวันออก
๔. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกท้ังในมิติ
เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และสง่ิ แวดลอ ม
๕. รักษาและสืบทอดอัตลักษณทางวัฒนธรรมท่ีหลากหลายของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเล
ตะวนั ออก
กลยทุ ธ
กลยุทธที่ ๑ ศึกษา รวบรวม และพัฒนาฐานขอมูลทรัพยากรทางการทองเท่ียวภายในเขต
พฒั นาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออกอยางสรา งสรรค

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ตั ิการพัฒนาการทองเทยี่ ว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๖

กลยทุ ธท ่ี ๒ สรางคุณคาและมลู คาเพ่ิมใหกับทรัพยากรทางการทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเท่ียว
ฝง ทะเลตะวันออกอยางสรา งสรรค

กลยุทธท ี่ ๓ พัฒนาขดี ความสามารถในการแขงขนั ของการเปน เมอื งทองเที่ยวเชิงสรา งสรรค
กลยทุ ธท่ี ๔ สง เสรมิ และพัฒนาการทองเทยี่ วโดยชุมชนเชิงสรา งสรรค (Creative Community-
Based Tourism: CCBT) ใหมีมาตรฐานและมีศกั ยภาพในการใหการตอนรบั นักทองเท่ียวได

ประเด็นการพัฒนาที่ ๒ พัฒนาและสงเสริมการตลาดดิจิทัลเพื่อเพิ่มนักทองเที่ยวคุณภาพทั้งในและ
ตางประเทศ

เปาประสงคเ ชงิ ยทุ ธศาสตร

๑. เพ่ิมระดับความพึงพอใจของนักทองเท่ียวตอการใหบริการขอมูลการทองเที่ยวผานการทํา
การตลาดดิจทิ ัลของเขตพัฒนาการทอ งเท่ียวฝง ทะเลตะวันออก

๒. เพ่ิมชอ งทางการเขาถงึ ขอมูลการทองเท่ียวผานการทาํ การตลาดดจิ ิทัลของเขตพัฒนาการทองเที่ยว
ฝง ทะเลตะวนั ออก

๓. เพ่ิมจํานวนนักทองเทีย่ วในเขตพฒั นาการทอ งเที่ยวฝง ทะเลตะวันออก
๔. เพิ่มรายไดจากการทองเที่ยวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเท่ียวรองในเขตพัฒนา
การทองเที่ยวฝงทะเลตะวนั ออก
๕. กระจายรายไดจากการทองเท่ยี วใหทัว่ ถึงและเปน ธรรมภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล
ตะวันออก รวมถึงจงั หวดั ใกลเคียงและพนื้ ท่ีเชื่อมโยงภายนอกเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก
๖. เพ่มิ จาํ นวนนักทอ งเทยี่ วท่ีมาเทยี่ วซ้าํ ในเขตพฒั นาการทองเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออก

กลยุทธ

กลยุทธท่ี ๑ สงเสริมการตลาดดิจิทัลภายใต “การทองเท่ียวเชิงสรางสรรค มหัศจรรยสีสัน
ตะวันออก”

กลยุทธท่ี ๒ สงเสริมผูประกอบการดานการทองเที่ยวใหมีการดําเนินการจัดกิจกรรมสงเสริม
การขายผานการตลาดนวัตกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส เพื่อรองรับนักทองเที่ยวคุณภาพทั้งในและ
ตางประเทศ

กลยทุ ธท ่ี ๓ สงเสริมการตลาดดิจิทัลในกลุมสนใจเฉพาะ (Niche Market) ไดแก กลุมทองเท่ียว
ทางทะเล กลุมทองเท่ียวเชิงนิเวศ กลุมทองเที่ยวเชิงเกษตร กลุมทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรม
และกลมุ MICE เปนตน

“โครงการจัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพฒั นาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๗

กลยุทธที่ ๔ สรางเอกลักษณและอัตลักษณของผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค
ในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกใหสอดคลองกับบริบทและสถานการณทางการทองเที่ยว
ที่เปลีย่ นแปลงไป

ประเด็นการพัฒนาที่ ๓ พัฒนาอุตสาหกรรมการทองเที่ยวใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและเขาสู
มาตรฐานสากล

เปาประสงคเ ชิงยทุ ธศาสตร
1. เพิม่ ระดบั ความพงึ พอใจของนักทองเที่ยวตอการจัดการการทองเที่ยวทเ่ี ปน มติ รกับส่ิงแวดลอม

ภายในเขตพฒั นาการทอ งเทยี่ วฝงทะเลตะวนั ออก
2. สงเสริมใหแหลงทองเท่ียวและสถานประกอบการในเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออก

ไดร ับการรบั รองมาตรฐานการทองเทย่ี วท่เี ปน มิตรกับส่งิ แวดลอมในระดับชาตแิ ละนานาชาติ
3. พัฒนาสถานประกอบการใหไดรับการรับรองมาตรฐานการทองเที่ยวและไดรับรางวลั ดานการจัดการ

การทองเทยี่ วท่ีเปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอ มในระดบั ชาติ
กลยทุ ธ

กลยุทธที่ ๑ เผยแพรและสงเสริมแนวทางการจัดการทองเที่ยวท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวนั ออก

กลยุทธที่ ๒ พัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการทองเที่ยวในการจัดการการทองเที่ยวที่เปนมิตร
กับสงิ่ แวดลอม

กลยุทธที่ ๓ พัฒนาและยกระดับสถานประกอบการดานการทองเที่ยวใหไดรับการรับรอง
ตามมาตรฐานดานการจัดการการทอ งเทีย่ วท่เี ปนมิตรกับส่งิ แวดลอ มในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ

ประเด็นการพัฒนาที่ ๔ ยกระดับและขับเคลื่อนมาตรการดานความปลอดภัยและสรางความเชื่อม่ัน
ทางการทอ งเท่ยี ว

เปา ประสงคเชิงยทุ ธศาสตร
1. เพ่ิมระดับความพึงพอใจและความเช่ือมั่นของนักทองเท่ียวตอมาตรการดูแลความปลอดภัย

ระหวางการทองเทีย่ วในเขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวนั ออก
2. เพ่ิมรายไดจากการทองเท่ียวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเที่ยวรองในเขตพัฒนา

การทองเท่ียวฝงทะเลตะวนั ออก

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทอ งเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๘

3. พัฒนาศักยภาพผูประกอบการดานการทองเที่ยว คนในชุมชน และเครือขายอาสาสมัคร
ในพน้ื ที่แหลงทองเทย่ี วใหสามารถชว ยเหลอื และดแู ลความปลอดภยั แกนักทองเทีย่ วได
กลยทุ ธ

กลยุทธที่ ๑ เพิ่มมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกนักทองเที่ยวในพื้นที่แหลงทองเที่ยวของ
เขตพัฒนาการทอ งเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก

กลยทุ ธท ี่ ๒ พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหมีความรูความเชี่ยวชาญในการชวยเหลือ ปองกัน และลด
อบุ ัตภิ ยั ท่ีกระทบตอการทอ งเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก

กลยุทธท ่ี ๓ พัฒนาสง่ิ อํานวยความสะดวกดานความปลอดภยั และสรางความเช่ือมั่นแกนักทองเท่ยี ว

ประเดน็ การพัฒนาที่ ๕ พฒั นาการทองเทยี่ วเช่อื มโยงภมู ิภาค ประเทศเพ่อื นบาน และนานาชาติ

เปาประสงคเชงิ ยทุ ธศาสตร
๑. เพ่ิมระดับความพึงพอใจของนักทองเท่ียวในการเดินทางทองเที่ยวภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว

ฝง ทะเลตะวนั ออก
๒. เพิ่มจํานวนนักทองเท่ียวจากการเชื่อมโยงเสนทางรวมกับเขตพัฒนาการทองเท่ียวใกลเคียง

และประเทศเพ่ือนบาน
๓. เพิ่มรายไดจากการทองเที่ยวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเที่ยวรองในเขตพัฒนา

การทองเที่ยวฝง ทะเลตะวนั ออก
๔. กระจายรายไดจ ากการทองเท่ียวใหท ่วั ถึงและเปนธรรมภายในเขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝงทะเล

ตะวันออก รวมถงึ จังหวัดใกลเคียงและพนื้ ท่ีเช่อื มโยงภายนอกเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก
กลยทุ ธ

กลยุทธท่ี ๑ เช่ือมโยงเสนทางการทองเที่ยวภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก
และเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี วอืน่

กลยุทธท่ี ๒ เช่ือมโยงเสนทางการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวฝงทะเลตะวันออกกับ
ประเทศเพอื่ นบาน ไดแ ก ประเทศกมั พชู า เวียดนาม และนานาชาติ

กลยุทธท ่ี ๓ เชอ่ื มโยงแหลง ทอ งเท่ยี วเพ่อื รองรับนกั ทอ งเทีย่ วกลมุ เรือยอรชและเรอื สําราญ
กลยุทธท ี่ ๔ พัฒนาเสน ทางและกจิ กรรมการทองเท่ียวเพ่ือรองรับการคา การลงทนุ และการพฒั นาเมือง
ตามโครงการเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ัติการพฒั นาการทองเทีย่ ว ภายในเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๒๙

บทท่ี ๔
แผนงาน / โครงการ
(แผนงาน/โครงการสําคญั ลาํ ดบั สงู )

“โครงการจดั ทําแผนปฏิบตั ิการพัฒนาการทองเทย่ี ว ภายในเขตพัฒนาการทอ งเทยี่ วฝง ทะเลตะวนั ออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

๓๐

แผนงาน/โครงการทจี่ ําเปน ของแผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาการทอ งเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว
พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ พัฒนาและเพ่ิมคุณคาและมูลคา ใหกับทรพั ยากร สินคา ผลติ ภัณฑ และกิจกรรม
ทางการทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกอยางสรางสรรค
เปา ประสงค

๑. เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขนั ทางการทองเทยี่ วเขตพฒั นาการทองเทีย่ วฝงทะเลตะวันออก
๒. เพ่ิมรายไดจากการทองเที่ยวใหกับเมืองทองเที่ยวหลักและเมืองทองเที่ยวรองในเขตพัฒนา
การทอ งเทีย่ วฝง ทะเลตะวันออก
๓. กระจายรายไดจ ากการทองเทย่ี วใหท่ัวถึงและเปนธรรมภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วฝง ทะเล
ตะวันออก รวมถึงจังหวดั ใกลเคียงและพ้ืนท่ีเชอื่ มโยงภายนอกเขตพัฒนาการทองเทย่ี วฝง ทะเลตะวนั ออก
๔. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออกทั้งในมิติ
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และสิง่ แวดลอม
๕. รักษาและสืบทอดอัตลักษณทางวัฒนธรรมที่หลากหลายของเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล
ตะวนั ออก
กลยุทธ
กลยุทธท ่ี ๑ ศึกษา รวบรวม และพัฒนาฐานขอมลู ทรัพยากรทางการทองเทย่ี วภายในเขตพัฒนา
การทองเทย่ี วฝงทะเลตะวันออกอยางสรางสรรค
กลยทุ ธท ี่ ๒ สรางคุณคาและมูลคาเพ่ิมใหกับทรัพยากรทางการทองเท่ียวในเขตพัฒนา
การทองเทีย่ วฝง ทะเลตะวนั ออกอยา งสรา งสรรค
กลยทุ ธท่ี ๓ พัฒนาขีดความสามารถในการแขง ขนั ของการเปนเมืองทองเทย่ี วเชงิ สรา งสรรค
กลยุทธที่ ๔ สง เสริมและพัฒนาการทองเทยี่ วโดยชุมชนเชิงสรางสรรค (Creative Community-
Based Tourism: CCBT) ใหมมี าตรฐานและมีศกั ยภาพในการใหก ารตอนรับนักทองเทย่ี วได

“โครงการจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาการทอ งเทีย่ ว ภายในเขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝง ทะเลตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕”

ตาราง ๔.๑ แผนงานและโครงการท่จี ําเปน ของแผนปฏบิ ัติการพฒั นาการทองเที่ยว
ประเด็นการพัฒนาที่ ๑ พัฒนาและเพิ่มคุณคา และมูลคาใหกับทรัพยากร สินคา ผ
ตะวันออกอยางสรางสรรค

ลําดับ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค

๑ โครงการศึกษา ออกแบบ และ 1. ศกึ ษา วางแผน และจดั ทําขอ มลู 1. เพ่ือศึกษา วางแผน และจ
จดั ทาํ ขอมลู การพัฒนาการทองเท่ียว ทรัพยากรทางการทองเที่ยวเชงิ สรางสรรค ขอมูลทรพั ยากรทางการทอง
เชงิ สรา งสรรคภายในเขตพฒั นา 2. คน หาอตั ลกั ษณทรัพยากรทาง เชงิ สรา งสรรคภ ายในเขตฯ
การทอ งเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออก การทองเที่ยวเชงิ สรางสรรคในแตละพื้นที่ 2. เพอื่ คนหาอัตลกั ษณทรพั ย
3. ศกึ ษาและออกแบบแหลง ทอ งเท่ียว ทางการทองเท่ียวเชิงสรางสร
ใหเ ปน เมืองทองเท่ียวเชิงสรา งสรรค ในแตล ะพ้นื ท่ี
4. สง เสรมิ กิจกรรมการทองเทีย่ วเชิง 3. เพ่อื สงเสรมิ ใหม ีการออกแ
สรา งสรรคใหม ีความเช่อื มโยงและ และพัฒนาเมืองทอ งเท่ียวเชงิ
เหมาะสมกับตลาดการทอ งเท่ียว สรา งสรรค
5. ศึกษาและออกแบบเสน ทางการทองเทยี่ ว 4. เพ่ือสงเสรมิ กิจกรรมการทอ
เช่ือมโยง เชิงสรา งสรรคใหม ีความเชอื่ ม
และเหมาะสมกบั ตลาดการทอ ง
ในแตละพนื้ ที่
5. เพอ่ื สรางรายไดและกระจ
รายไดจ ากการทอ งเท่ยี วสูชุม
2 โครงการพฒั นาขดี ความสามารถ ๑. พัฒนาและเพมิ่ มลู คาและคณุ คาใหกับ ๑. เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพปจ จ
ในการแขงขันของการเปนเมอื ง ทรัพยากรทางการทองเทีย่ ว การผลิตของธุรกจิ การทอ งเท
ทองเท่ียวเชงิ สรางสรรค ๒. อบรมใหค วามรแู กชุมชนแหลง ทอ งเทย่ี ว ๒. เพ่ือยกระดบั มาตรฐานการ
และสถานประกอบการดา นการทองเที่ยว บริการการทองเท่ยี ว
เกยี่ วกับมาตรฐานการทองเท่ยี วไทยและ 3. เพ่อื เพ่มิ ขดี ความสามารถ
นานาชาติ การแขง ขันของอตุ สาหกรรม
3. สง เสริมใหเ กิดการประเมินมาตรฐาน การทอ งเท่ยี ว
ดา นการทอ งเท่ียว อนั นาํ ไปสกู ารพัฒนา
การทองเท่ียวอยา งย่งั ยนื

ว ภายในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี ว พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
ผลิตภัณฑ และกิจกรรมทางการทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเล

งบประมาณ ประโยชนท คี่ าดวาจะไดรับ/ตวั ช้ีวัด หนวยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
(ลา นบาท)
๖๓ ๖๔ ๖5
จัดทํา 40 1. มีสินคา บรกิ าร และกิจกรรมการทองเทย่ี วเชิง อพท.3
งเท่ียว สรา งสรรคท มี่ ีศักยภาพเพม่ิ ข้ึน
2. มีแหลงทองเที่ยวตน แบบสําหรับการพัฒนาเปน เมือง
ยากร ทองเท่ยี วเชิงสรางสรรค
รรค 3. มีขอมูลและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรทาง
การทอ งเทย่ี วเชิงสรา งสรรค
แบบ 4. ผปู ระกอบการดานการทองเทย่ี วและชมุ ชนมีรายได
ง เพมิ่ สงู ขึ้น

องเท่ยี ว
มโยง
งเทย่ี ว

จาย
มชน
จยั 20 20 1. ผูประกอบการดานการทอ งเท่ยี วไดรบั การพัฒนา สนง.การทองเทยี่ วและกีฬา
ทย่ี ว ศกั ยภาพและยกระดบั สมู าตรฐาน จ.ระยอง
รให 2. สรางรายไดใ หกบั คนในชมุ ชนแหลง ทอ งเท่ยี วและ
ผูป ระกอบการธุรกิจทอ งเทีย่ ว
ถ 3. ชมุ ชนแหลงทอ งเท่ียว และสถานประกอบการธุรกิจ
ม ทอ งเทีย่ วไดรับการประเมนิ และรบั รองมาตรฐานการ
ทอ งเท่ยี ว

๓๑

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค

3 โครงการสงเสรมิ และพัฒนา 1. พัฒนาศักยภาพกลุม เครือขายดา น 1. เพือ่ สรางการรับรูและความ
การทองเทย่ี วโดยชุมชน การทองเทีย่ วโดยชุมชนอยางยงั่ ยนื ใหก ับชุมชนในการจัดการ
เชิงสรางสรรค (Creative 2. พัฒนารูปแบบการทอ งเทยี่ วและ การทอ งเทย่ี วโดยชุมชนตามเ
Community-Based Tourism: การจัดการแหลงทองเท่ียวเชงิ สรางสรรค การบริหารจดั การแหลง ทอ ง
CCBT) ใหม มี าตรฐานและมี 3. สง เสริมการทองเท่ียวโดยชุมชนเชงิ โดยชุมชน
ศักยภาพในการรองรับ สรา งสรรค 2. เพอ่ื สง เสริมสนับสนนุ ให
นกั ทองเท่ยี ว 4. แลกเปลยี่ นเรียนรแู ละพัฒนาศักยภาพ เครือขายทํางานเชงิ บรู ณากา
ดานการทองเที่ยวโดยชมุ ชนเชงิ รว มกนั พัฒนาการทองเท่ยี วโ
สรางสรรค ชมุ ชนตามเกณฑการบริหาร
จดั การแหลงทองเที่ยวโดยชุม
3. เพือ่ ยกระดับกิจกรรมและ
การทองเท่ียวโดยชุมชนใหม ี
ศักยภาพในระดับนานาชาติ
4 โครงการสงเสรมิ การตลาด 1. พฒั นาสนิ คา และบรกิ ารดา น 1. เพอื่ สงเสริมและประชาสัม
การทองเที่ยวโดยชมุ ชน การทองเทยี่ วโดยชุมชนบนฐานทรัพยากร กิจกรรมการทองเทย่ี วโดยชุม
และอตั ลกั ษณเ ฉพาะพืน้ ที่ชุมชน โดยมุง เนน การสรางกจิ กรรม
เพ่ือสง เสรมิ การตลาดการทอ งเที่ยว งาน Event เพื่อดึงดดู นกั ทอ ง
2. สง เสรมิ การประชาสมั พนั ธแ ละ ในชว ง Green Season
การทําการตลาดทง้ั ในและตา งประเทศ 2. เพ่ือดึงดูดนักทองเที่ยวคุณ
3. เพอ่ื สรา งรายไดจ ากการทอง
โดยชมุ ชน
4. เพื่อกระจายรายไดของ
การทอ งเทย่ี วโดยชุมชนลงสชู
และสมาชิกในชมุ ชนอยางเทา
และสมดลุ
5 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑเ ชงิ 1. สงเสรมิ ใหเ กดิ การพัฒนาผลิตภัณฑ 1. เพอื่ เพ่มิ ชองทางการตลาด
สรา งสรรคและสงเสรมิ การขาย สนิ คาและบริการ อยางสรางสรรค ประชาสัมพนั ธ
สนิ คา ภายใตชอ่ื งาน “ประชารฐั 2. สง เสริมการทอ งเทยี วโดยชุมชน 2. เพอื่ พฒั นาสินคา และบริก
รวมใจ OTOP Grand Sale” 3. สง เสริมการขายสนิ คาผลิตภัณฑชุมชน การทองเที่ยวอยา งสรางสรรค

งบประมาณ ประโยชนท่ีคาดวา จะไดร บั /ตัวชี้วัด หนวยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ
(ลา นบาท)
๖๓ ๖๔ ๖5
มเขา ใจ 10 1. ชมุ ชนทม่ี ศี กั ยภาพไดร ับการยกระดับมาตรฐานดา น อพท.3
การทอ งเที่ยวและไดมาตรฐานตามเกณฑบ รหิ ารจดั การ
เกณฑ แหลงทอ งเทย่ี วโดยชมุ ชน
งเท่ียว 2. ชมุ ชนไดร บั การพฒั นาศกั ยภาพดา นการทอ งเทีย่ ว
โดยชมุ ชน เพอ่ื นําไปสูการรองรับการทอ งเทีย่ วอยา ง
ยงั่ ยืน
าร 3. กระจายการทองเที่ยวท้งั ในมติ ขิ องพื้นทแี่ ละรายได
โดย สชู ุมชน

มชน


มพันธ 10 1. สินคา และบริการดา นการทองเที่ยวไดร บั การพัฒนา อพท.3
มชน ใหสอดคลองกับความตอ งการของตลาดการทองเทยี่ ว
มและ 2. ชมุ ชนและสมาชกิ ในชมุ ชนมรี ายไดจากการทองเท่ยี ว
งเที่ยว
ณภาพ
งเทย่ี ว

ชมุ ชน 1. ผปู ระกอบการมีชอ งทางการจัดจาํ หนา ยสนิ คาและ สนง.พฒั นาชุมชน จ.ระยอง
าเทยี ม มรี ายไดเ พิม่ ขนึ้
ดและ 20 2. ผูประกอบการมองเห็นโอกาสการพัฒนาผลติ ภณั ฑ ๓๒
การ สนิ คา และบริการ อยางสรางสรรค
รค

ลาํ ดับ แผนงาน/โครงการ กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค

6 โครงการจัดมหกรรมแขง ขัน จดั การแขงขนั ทักษะงานบรกิ าร 1. เพือ่ สงเสริมและพัฒนาทกั
ทกั ษะงานบริการนกั ทองเทย่ี ว นักทอ งเทย่ี วในระดบั นานาชาติ บุคลากรในสาขาอาชีพทเี่ กี่ย
เขตพฒั นาการทองเทีย่ วฝงทะเล (Hospitality Expo) กบั การทอ งเทยี่ วใหมีมาตรฐา
ตะวนั ออก (Hospitality Expo) ในระดับนานาชาติ
2. เพือ่ ประชาสมั พันธและสร
การรับรูถงึ มาตรฐานทักษะ
สมรรถนะแรงงานในอุตสาหก
การทองเทยี่ ว
3. เพ่ือประชาสัมพนั ธแ ละสร
ภาพลักษณในการเปน แหลง
ทอ งเท่ยี วทีห่ ลากหลาย
4. เพ่อื เพม่ิ และกระจายรายไ
จากการทองเทย่ี ว

7 โครงการสง เสริมและประชาสมั พันธ สง เสริมและประชาสมั พันธเ สน ทาง 1. เพื่อสรางคณุ คา และมูลคา
เสนทางทองเท่ียวและวัฒนธรรม ทองเท่ียวและวัฒนธรรมอาหารถิ่น ใหกับสินคา และบริการดานก
อาหารถ่ิน เขตพัฒนาการทองเที่ยว เขตพัฒนาการทอ งเท่ียวฝง ทะเลตะวนั ออก ทองเท่ยี วเชิงอาหาร
ฝง ทะเลตะวนั ออก 2. เพื่อประชาสัมพนั ธและสร
(Gastronomy Tourism : ภาพลกั ษณด านการทองเทย่ี
Active Beach Local Food) เปน จุดหมายปลายทางการ
ทองเทย่ี วเชิงอาหาร (Food
Tourism Destination)
3. เพ่อื สรางและกระจายราย
ทองถิน่ และผปู ระกอบการดา
การทอ งเทยี่ ว

งบประมาณ ประโยชนท คี่ าดวาจะไดรับ/ตัวช้ีวดั หนว ยงานท่ีรับผิดชอบ
(ลา นบาท)
๖๓ ๖๔ ๖5
กษะ 20 20 1. บุคลากรในสาขาอาชพี การบริการในอุตสาหกรรม สนง.การทองเท่ยี วและกฬี า
ยวของ การทอ งเที่ยวมีมาตรฐานทักษะสมรรถนะท่สี ูงขึน้ จ.ชลบุรี
าน เปน ท่ีตอ งการของตลาดแรงงานภาคบรกิ ารทงั้ ใน
ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
รา ง 2. เกดิ ภาพลกั ษณด า นการทองเทีย่ วในการเปน จดุ หมาย
ปลายทางดานการทอ งเท่ียวทห่ี ลากหลาย
กรรม 3. รายไดจากการทอ งเทยี่ วเพม่ิ ข้นึ

รา ง

ได

าเพ่ิม 15 15 1. มีเสนทางเชอ่ื มโยงการทอ งเทยี่ วเชงิ อาหาร สนง.การทอ งเทยี่ วและกฬี า
การ 2. มีสื่อประชาสัมพันธการทอ งเท่ยี วเชิงอาหาร จ.ชลบุรี
3. เกดิ ภาพลกั ษณด านการทอ งเที่ยวในการเปน จุดหมาย
ราง ปลายทางดา นการทอ งเทีย่ วท่หี ลากหลาย
ยวให 4. รายไดจากการทองเท่ยี วเพ่ิมข้ึนและเกิดการกระจาย
รายไดสทู องถ่นิ

ยไดสู
าน

๓๓

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กจิ กรรม วตั ถุประสงค

8 โครงการสง เสรมิ และประชาสมั พนั ธ พัฒนาการทองเท่ียวโดยชมุ ชนและ 1. เพื่อสงเสรมิ แหลง ทอ งเทีย่
กจิ กรรมการทองเท่ียวเชิงประเพณี สรา งอตั ลกั ษณช ุมชน เขตพัฒนาการ และกจิ กรรมการทองเทย่ี วเช
วฒั นธรรม และประวัติศาสตร ทองเท่ียวฝงทะเลตะวนั ออก ประเพณี วฒั นธรรมและ
พัฒนาพน้ื ทน่ี าเกลอื เปนแหลง ทองเทีย่ ว ประวตั ศิ าสตรในพนื้ ที่
อยางยง่ั ยนื “เดินกินถิ่นนาเกลอื ” 2. เพอ่ื เผยแพรเอกลักษณทา
วฒั นธรรมสูการทองเทย่ี วตน ไมใหญ ศิลปวัฒนธรรมประเพณใี หเ ป
“รกุ ขมรดกของแผนดิน” จงั หวัดชลบรุ ี รจู ักของนักทอ งเท่ยี ว
สง เสรมิ สนบั สนนุ การอนรุ ักษฟน ฟู 3. เพื่อสงเสรมิ สนับสนนุ
ขนบธรรมเนียมประเพณวี ัฒนธรรม ผลติ ภัณฑท่เี ปน มรดกภมู ิปญ
ทอ งถิ่นของจังหวัดชลบรุ ี ทางวฒั นธรรม
สงเสริมแหลงทอ งเทยี่ วธรรมะในมิติ 4. เพอื่ เพม่ิ รายไดจ ากการ
ศาสนาระดับจงั หวดั ชลบุรี ทอ งเทย่ี ว
สงเสริมการทอ งเทย่ี วงานประเพณี 5. เพื่ออนุรกั ษ สบื สาน และ
กองขา วจงั หวัดชลบรุ ี ยอดวัฒนธรรมประเพณีอนั ด
จัดการแสดงทางวัฒนธรรมในงาน ของทองถนิ่ และของชาติ

ประเพณีกอพระทรายวนั ไหลบางแสน
พัฒนาแหลงเรยี นรูทางวฒั นธรรมชมุ ชน
จดั การแสดงศลิ ปวฒั นธรรมไทยในงาน
ประเพณวี ง่ิ ควายจังหวดั ชลบุรี
จัดตลาดประชารฐั ถนนสายวัฒนธรรม
ตลาดวัฒนธรรมจังหวัดชลบุรี
จดั กิจกรรมสงเสรมิ การทองเที่ยว
เทศกาลทอ งเท่ียวชายหาดแหลมสงิ ห
จัดกจิ กรรมสงเสริมการทอ งเที่ยว
เทศกาลทองเท่ียวชายหาดเจาหลาว
จัดกจิ กรรมเปด อาณาจกั รขอมโบราณ
เลาตาํ นานเมืองเพนียต
วัฒนธรรมสูการทอ งเทย่ี วตนไมใหญ
“รุกขมรดกของแผนดนิ ” จังหวดั จนั ทบรุ ี

งบประมาณ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ/ตวั ชี้วดั หนวยงานทีร่ ับผิดชอบ
(ลา นบาท)
๖๓ ๖๔ ๖5
ยว 20 20 1. แหลง ทอ งเท่ยี วและกจิ กรรมการทองเท่ยี วเชงิ สนง.การทองเทีย่ วและกีฬา
ชิง ประเพณี วัฒนธรรม และประวตั ิศาสตรในพนื้ ทไ่ี ดรบั จ.ชลบรุ ี
การเผยแพรประชาสมั พนั ธ
0.4 0.4 0.4 2. วฒั นธรรมประเพณีทเ่ี ปนเอกลักษณข องทอ งถน่ิ ไดร บั สนง.วัฒนธรรม จ.ชลบุรี
าง การอนรุ ักษ สบื สาน และเผยแพรส คู นรนุ หลงั และ
ปน ที่ 0.45 0.45 0.45 นักทอ งเที่ยวทง้ั ชาวไทยและตางชาติ สนง.วัฒนธรรม จ.ชลบรุ ี
3. รายไดจ ากการทอ งเที่ยวเพ่มิ ข้ึน
0.33 0.33 0.33 สนง.วฒั นธรรม จ.ชลบรุ ี
ญญา

0.033 0.033 0.033 สนง.วฒั นธรรม จ.ชลบรุ ี
สนง.วฒั นธรรม จ.ชลบุรี
ะตอ 0.5 0.5 0.5 สนง.วฒั นธรรม จ.ชลบรุ ี
ดีงาม

0.1 0.1 0.1

0.3 0.3 0.3 สนง.วฒั นธรรม จ.ชลบุรี
0.5 0.5 0.5 สนง.วัฒนธรรม จ.ชลบุรี

0.3 0.3 0.3 สนง.วัฒนธรรม จ.ชลบุรี

33 สนง.การทองเท่ียวและกีฬา
33 จ.จันทบุรี
555 ที่วา การอําเภอทา ใหม/
อําเภอแหลมสงิ ห
สนง.วฒั นธรรม จ.จนั ทบุรี

1.75 1.75 1.75 สนง.วฒั นธรรม จ.จนั ทบุรี

๓๔

ลําดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค

9 โครงการสง เสริมและประชาสัมพันธ จัดกจิ กรรมบนั ทกึ สถติ โิ ลก (Guinness 1. เพื่อเผยแพรและประชาสมั
การทองเทีย่ วเชิงสขุ ภาพ World Record) การนวดแผนไทย กิจกรรมการทอ งเทีย่ วเชิงสขุ
“นวดแผนไทย” กลางแจงทีม่ ีจาํ นวนคูน วดมากท่ีสุดในโลก 2. เพื่อสรางภาพลกั ษณ
ศึกษาและพัฒนาตนแบบอัตลกั ษณบริการ การทองเท่ยี ววิถีไทย และเพ
สปา ภายใตตราสญั ลักษณ “บูรพาสปา” การรบั รูภูมปิ ญญาการนวดแผ
ในระดับสากล
3. เพ่ือประชาสัมพันธภาพล
ทด่ี ดี านการทอ งเท่ยี วของปร
ไทยและจงั หวัดชลบุรี
10 โครงการสง เสรมิ และประชาสัมพันธ โครงการจัดการแขง ขนั ไตรกีฬา 1. เพื่อสรางกิจกรรมสงเสริม
กจิ กรรมการทอ งเทย่ี วกลุม ตลาด นานาชาติ เขตพฒั นาการทองเท่ยี วฝง การทองเทยี่ วเชิงกีฬาเชื่อมโย
นกั ทองเท่ยี วเฉพาะ ทะเลตะวนั ออก (Active Beach) ภายในเขตพฒั นาการทอ งเท
(การทอ งเทีย่ วเชงิ กฬี า Sport 2. เพ่ือประชาสัมพันธก จิ กรร
Tourism) การทอ งเทย่ี วเชิงกฬี าในเขต
พัฒนาการทอ งเที่ยวฯ ใหเปน
รูจกั ของนกั ทอ งเท่ยี วท้งั ชาวไ
และตางชาติ
3. เพื่อเพิ่มรายไดจากการทอง
4. เพอ่ื เพ่ิมระยะเวลาการพัก
ในพ้นื ท่ี
จดั การแขง ขนั เกาะชางกรีนเทรล 1. เพื่อสรา งกิจกรรมการทองเ
เชงิ กีฬาใหเ กิดขนึ้ ในพืน้ ที่
2. เพ่ือประชาสมั พันธแ หลง
ทองเที่ยวและกิจกรรมการทอ
ที่เปน มติ รกับสงิ่ แวดลอ ม
3. เพอื่ เพ่มิ และกระจายรายไ
จากการทองเที่ยวสูชมุ ชน
4. เพอื่ เพิ่มระยะเวลาการพัก
ในพื้นที่

งบประมาณ ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดร บั /ตัวช้ีวัด หนว ยงานที่รับผดิ ชอบ
(ลานบาท)
๖๓ ๖๔ ๖5
มพนั ธ 6 1. ไดเ ผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธกิจกรรมการทองเทีย่ ว สนง.การทองเท่ยี วและกฬี า
ขภาพ เชิงสขุ ภาพ จ.ชลบุรี
2. ไดสรา งภาพลกั ษณและเพ่ิมการรบั รูการทองเทย่ี ววถิ ี
พม่ิ 5 ไทยและภมู ิปญ ญาการนวดแผนไทยในระดับสากล
ผนไทย 3. นักทองเทีย่ วท้งั ชาวไทยและชาวตางชาติเดนิ ทางมา
และเขารวมกจิ กรรมการทอ งเทยี่ วเชิงสุขภาพมากยง่ิ ข้นึ
ลกั ษณ 4. สินคาและบรกิ ารดา นการทอ งเท่ยี วเชงิ สขุ ภาพไดร บั
ระเทศ การยกระดับใหม มี าตรฐานสงู ยิ่งขึน้
5. ไดประชาสัมพันธภาพลกั ษณท ดี่ ดี า นการทอ งเที่ยว
ม 20 20 20 1. แหลงทองเท่ยี วเชิงกีฬาไดร ับการประชาสัมพันธให สนง.การทอ งเทยี่ วและ
ยงกัน เปน ที่รจู กั ของนกั ทองเท่ยี ว กีฬา จ.ชลบุรี
ทย่ี วฯ 2. สรา งความเชือ่ มน่ั ดา นศักยภาพของสถานท่จี ดั
รม กิจกรรมและแหลง ทอ งเท่ียวเชงิ กฬี า
3. รายไดจ ากการทองเที่ยวเพิ่มขน้ึ
นที่ 4. ระยะเวลาการพาํ นกั ของนกั ทองเทยี่ วในพนื้ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ
ไทย

องเท่ียว
กคา ง

เที่ยว 2.20 2.20 1. แหลง ทองเที่ยวเชงิ กฬี าไดรบั การประชาสัมพันธให สนง.การทอ งเทยี่ วและ
เปนท่รี ูจกั ของนักทองเท่ยี ว กฬี า จ.ตราด
องเที่ยว 2. สรา งความเชือ่ มน่ั ดา นศักยภาพของสถานทจี่ ดั
ได กจิ กรรมและแหลง ทอ งเทีย่ วเชิงกีฬา
3. รายไดจากการทอ งเที่ยวเพิ่มขึ้น
4. ระยะเวลาการพาํ นักของนกั ทอ งเที่ยวในพ้นื ที่เพม่ิ ขึ้น

กคาง

๓๕

ลาํ ดับ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค

11 โครงการพฒั นาแหลง ทอ งเท่ียว จัดการแขง ขันเกาะชางกรนี รัน 1. เพื่อสรา งกจิ กรรมการทองเ
เพื่อรองรบั นักทองเที่ยวกลมุ พัฒนาเมอื งเปน ศนู ยกลางเมืองแหง เชิงกีฬาใหเ กิดข้นึ ในพ้ืนที่
ตลาดเฉพาะ (การทอ งเท่ยี วเชิง เรอื ใบและกีฬาทางนํา้ เชงิ สรางสรรค 2. เพอื่ ประชาสมั พันธแหลง
กฬี า Sport Tourism) ปรบั ปรุงภมู ิทัศนบ ริเวณรอบอางเกบ็ นํ้า ทอ งเท่ียวและกิจกรรมการทอ
บานอําเภอ – ลานจอดเฮลิคอปเตอร ที่เปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม
อ.สตั หบี จ.ชลบุรี 3. เพ่ือเพ่ิมและกระจายรายไ
จากการทอ งเทีย่ วสชู ุมชน
4. เพอื่ เพิ่มระยะเวลาการพัก
ในพ้ืนท่ี
1. เพือ่ ยกระดบั ใหเ ขตพัฒนา
การทอ งเที่ยวฝง ทะเลตะวันอ
เปนศูนยก ลางเมืองแหง เรือใบ
และกฬี าทางนาํ้ เชิงสรางสรร
และการแขงขนั ระดับนานาช
2. เพ่ือสรางคณุ คา และมลู คา
ใหกับทรพั ยากรทางการทอง
เชงิ สรางสรรค
3. เพ่อื เพ่มิ และกระจายรายไ
จากการทองเทย่ี ว
1. เพ่ือเชอ่ื มโยงกจิ กรรมการแข
กฬี าเขากับการสงเสริมทอ งเ
2. เพื่อยกระดับใหเ ปน แหลง
ทองเท่ียวทม่ี ีช่ือเสยี งใน
ระดบั ประเทศและนานาชาต
3. เพ่ือเปน การเช่ือมโยงแหล
ทอ งเท่ียวเชิงกีฬา วัฒนธรรม
การทอ งเท่ียวชุมชน
4. เพื่อเพ่ิมและกระจายรายไ
จากการทองเท่ยี ว

งบประมาณ ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรับ/ตัวชว้ี ดั หนวยงานทรี่ ับผิดชอบ
(ลานบาท)
1. แหลงทอ งเทีย่ วเชงิ กฬี าไดรบั การประชาสัมพนั ธ สนง.การทอ งเทีย่ วและ
๖๓ ๖๔ ๖5 ใหเปนท่รี ูจกั ของนกั ทองเท่ียว กีฬา จ.ตราด
เท่ยี ว 0.875 1.5 2. สรางความเชื่อมัน่ ดา นศกั ยภาพของสถานที่จดั
กจิ กรรมและแหลงทองเทีย่ วเชงิ กฬี า
องเที่ยว 3. รายไดจากการทอ งเท่ยี วเพ่ิมขนึ้
ได 4. ระยะเวลาการพํานักของนกั ทองเทีย่ วในพื้นทเี่ พ่ิมขึน้

กคาง

า 10 10 10 1. แหลง ทอ งเท่ียวสาํ หรับกจิ กรรมการเลน กีฬาทางนา้ํ สนง.การทอ งเทย่ี วและ
ออก ไดร ับการประชาสมั พันธใ หเ ปนที่รจู กั ของนักทองเทย่ี ว กีฬา จ.ตราด
บ 2. สรา งความเช่ือม่นั ดา นศักยภาพของสถานที่จดั
รค กิจกรรมการเลนกีฬาทางน้ํา
ชาติ 3. รายไดจ ากการทอ งเที่ยวเพิม่ ขนึ้
า 4. ระยะเวลาการพํานักของนกั ทองเท่ยี วในพนื้ ทเ่ี พิ่มขึ้น
งเที่ยว

ได

ขงขนั 50 1. เกิดกิจกรรมการทอ งเท่ยี วเชิงกฬี าขึ้นในพ้ืนที่ แขวงทางหลวงชนบท
เท่ยี ว 2. แหลง ทอ งเทยี่ วเชงิ กีฬาไดร ับการประชาสมั พันธ ชลบรุ ี
ง ใหเปน ท่รี ูจกั ของนักทองเทยี่ ว
3. จํานวนนักทองเท่ียว รายไดเฉล่ยี และระยะเวลาการ
ติ พกั คางของนักทองเทยี่ วในพืน้ ทเ่ี พ่ิมข้ึน
ลง
ม และ

ได

๓๖

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กจิ กรรม วตั ถุประสงค

12 โครงการพัฒนาแหลงทองเทยี่ ว พฒั นาศักยภาพแหลง ทองเท่ียว เพิม่ พฒั นาศักยภาพและยกร
ในเขตทหาร ศนู ยบริการการทอ งเทย่ี ว กองทัพเรอื แหลง ทอ งเทย่ี วในเขตทหาร
ภาคตะวนั ออก ในการรองรับและใหบริการแ
พฒั นาศกั ยภาพแหลงทองเท่ียว นักทองเทยี่ ว
ศูนยอ นุรกั ษพ ันธเุ ตา ทะเล กองทัพเรอื
การจัดทาํ วดี ีทัศนพ ากยไทย – องั กฤษ

พัฒนาศักยภาพแหลง ทอ งเที่ยว
ศูนยอนรุ กั ษพ นั ธุเตาทะเล กองทพั เรือ
(ซอ มแซมตแู สดงพันธุส ตั วน้าํ
อาคารเรยี นรูฟน ฟูทอ งทะเลไทย)

พฒั นาศักยภาพแหลง ทองเที่ยว สวนปา
ชายเลน (ปรบั ปรุงสะพานชมวิวสวนปา
ชายเลน)

พฒั นาศักยภาพแหลงทอ งเทีย่ ว
สวนปาชายเลน (สรา งอาคารบรรยาย
แบบปด และอุปกรณป ระจําอาคาร)

ปรับปรุงศนู ยการเรียนรกู ารเกษตร
ตามแนวพระราชดําริ กรมสวัสดิการ
ทหารเรือ ตาํ บลบางพระ อาํ เภอศรรี าชา
จังหวดั ชลบรุ ี


Click to View FlipBook Version