The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต<br>14. แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้<br>พ.ศ. 2559 - 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

15 Clusters: (14) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอิสานใต้

แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต<br>14. แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้<br>พ.ศ. 2559 - 2563

Keywords: แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว 15 เขต,เขตพัฒนาการท่องเที่ยว,แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอิสานใต้

เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๑๓ ง หนา้ ๔๓ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศคณะกรรมการพฒั นาการท่องเทยี่ ว

ประจําเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอารยธรรมอสี านใต้

เร่อื ง แผนปฏบิ ตั ิการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอสี านใต้
พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัตินโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเท่ียว ประจําเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้
โดยอนุมัติคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ จึงออกประกาศกําหนดแผนปฏิบัติการพัฒนา
การทอ่ งเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยว ประจําเขต
พัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้ เรื่อง แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเท่ียว ภายในเขตพัฒนา
การทอ่ งเทยี่ วอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓”

ขอ้ ๒ แผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเท่ียว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้
พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ให้เป็นไปตามทา้ ยประกาศน้ี

ข้อ ๓ ให้หน่วยงานของรัฐที่อยู่ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมอีสานใต้
ดําเนินการบริหารและพัฒนาการท่องเท่ียวที่อยู่ในความรับผิดชอบของตนให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ
พฒั นาการทอ่ งเท่ยี ว ภายในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓

ขอ้ ๔ ใหก้ ระทรวงการท่องเทยี่ วและกฬี า พจิ ารณาให้การสนับสนุนตามท่ีเห็นสมควร
ขอ้ ๕ ให้คณะกรรมการพัฒนาการท่องเท่ียว ประจําเขตพัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเท่ียว ภายในเขต
พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓
ขอ้ ๖ การใช้บังคับกฎหมายภายในเขตพัฒนาการท่องเท่ียว ต้องสอดคล้องกับแผนปฏิบัติ
การพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓
ท้ายประกาศนี้ โดยให้คณะกรรมการพัฒนาการท่องเท่ียว ประจําเขตพัฒนาการท่องเท่ียวอารยธรรมอีสานใต้
ดาํ เนนิ การประสานงานใหส้ อดคล้องกัน
ข้อ ๗ ประกาศน้ีมผี ลใช้บังคบั ตงั้ แต่วันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ธงชัย ลืออดุลย์

ผูว้ า่ ราชการจังหวดั นครราชสีมา
ประธานกรรมการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว
ประจําเขตพฒั นาการท่องเทยี่ วอารยธรรมอีสานใต้

แผนปฏิบตั กิ ารพฒั นาการทองเท่ยี ว
ภายในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วอารยธรรมอสี านใต

พ.ศ. 2559 - 2563

คณะกรรมการพัฒนาการทองเทีย่ ว

ประจาํ เขตพฒั นาการทอ งเท่ียวอารยธรรมอีสานใต

(จงั หวดั นครราชสมี า บุรีรัมย สุรินทร ศรสี ะเกษ และอบุ ลราชธาน)ี

ก.

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา ท่ี

บทท่ี 1 หลักการ แนวคิด และกระบวนการจดั ทําแผน 1
1.1 ความเปน มาและการประกาศเขตพฒั นาการทองเท่ยี ว 1
1.2 กระบวนการ แนวคิดในการดําเนนิ งานและวิธีการจัดทําแผนปฏบิ ัติการ 2

บทท่ี 2 สถานการณแ ละทิศทางการทอ งเที่ยวในเขตพฒั นาการทองเท่ียวอารยธรรมอสี านใต 6

2.1 สถานการณการทองเทย่ี วในเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต 6
2.2 การวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายในและภายนอกดานการทองเทีย่ ว 10
เขตอารยธรรมอีสานใต

2.3 การประเมินปจจัยแวดลอมทางธรุ กจิ เขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต 11
2.4 ประเด็นสําคญั เพ่ือพิจารณาเพื่อการพฒั นาขีดความสามารถในการแขงขนั ทางการทองเทีย่ ว 16
2.5 การวางตาํ แหนงทางการทอ งเท่ียวของจังหวดั ในเขตอารยธรรมอีสานใต 16
2.6 ขอเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื พัฒนาการทอ งเท่ียว 19

บทท่ี 3 ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา 20
3.1 วสิ ยั ทัศน 20
3.2 วัตถปุ ระสงค 20
3.3 เปาหมาย 21
3.4 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร 21

บทท่ี 4 แผนงาน /โครงการ 25
แผนงาน /โครงการสําคญั ลาํ ดบั สงู 26

บทท่ี 5 แนวทางการบริหารและขับเคลือ่ นเขตพัฒนาการทอ งเท่ียว 53
5.1 การจดั โครงสรา งองคกรเพื่อประสานนโยบายและบูรณาการการดําเนินงาน 54
5.2 กระบวนการทํางานเพ่อื การบรู ณาการ 56

บทท่ี 1

หลกั การ แนวคดิ และกระบวนการจดั ทาํ แผน

1.1 ความเปนมาและการประกาศเขตพัฒนาการทองเที่ยว

พระราชบัญญัตินโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ. 2551 มาตรา 10 (4) ใหคณะกรรมการ
นโยบายการทองเที่ยวแหงชาติมีอํานาจหนาทีด่ ําเนินการเพือ่ ใหมีการกําหนดเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว และ
มาตรา 17 เพือ่ ประโยชนในการรักษา ฟนฟูแหลงทองเที่ยว หรือการบริหารและพัฒนาการทองเทีย่ วให
สอดคลองกับแผนพัฒนาการทองเทีย่ วแหงชาติ คณะกรรมการอาจกําหนดใหเขตพื้นที่ใดเปนเขตพัฒนาการ
ทองเที่ยวได โดยพิจารณารวมกับหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของและผูวาราชการจังหวัดในเขตพื้นที่ ทัง้ นี้ ใหมี
การรับฟงความคิดเห็นและความตองการของชุมชนในพื้นที่เพือ่ ประกอบการพิจารณาดวยเขตพัฒนาการ
ทอ งเท่ียวจะกําหนดเปนกลมุ จังหวดั จงั หวดั และพื้นที่เฉพาะก็ไดโ ดยใหออกเปน กฎกระทรวง

ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการทองเทีย่ วแหงชาติ คร้ังท่ี 2/2555 เม่ือวันท่ี
9 พฤศจิกายน 2555 ไดเห็นชอบประกาศคณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ เรือ่ ง หลักเกณฑ
วิธีการ และเง่ือนไขในการกําหนดเขตพัฒนาการทองเท่ียว พ.ศ. 2555 และประธานกรรมการนโยบายการทองเท่ียว
แหงชาติไดลงนามในประกาศฯ เม่ือวันท่ี 11 ธันวาคม 2555 ซ่ึงนําไปสูกระบวนการกําหนดเขตพัฒนาการ
ทองเทีย่ ว โดยไดมีการกําหนดเขตพัฒนาการทองเที่ยวนํารอง 5 กลุมทองเทีย่ ว ตามประกาศคณะกรรมการ
นโยบายการทองเทีย่ วแหงชาติ ประกอบดวย (1) กลุม ทองเทีย่ วอารยธรรมลานนา (2) กลุม ทองเทีย่ ว Active
Beach (3) กลุมทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต (4) กลุมทองเท่ียว Royal Coastและ (5) กลุมทองเท่ียวอันดามัน
และไดมีการสํารวจความคดิ เห็นและความตองการของชุมชนและผูแทนหนวยงาน 18 กลุม จังหวัด ในป 2556
ซง่ึ ผลการสํารวจความคดิ เห็น พบวา รอยละ 70 เหน็ ดวยกับการกําหนดเปนเขตพฒั นาการทองเที่ยว เนื่องจาก
แตละจังหวดั ภายในกลมุ มลี กั ษณะการทอ งเที่ยวทค่ี ลายคลงึ กันสามารถหาจุดเดนรวมกันเพื่อพัฒนาเปนจุดขาย
และพฒั นาเสน ทางทองเทยี่ วเชอื่ มโยงกัน ชวยสรางรายไดและความเขมแข็งภายในกลุม ชวยกระตุนเศรษฐกิจ
ภายในจังหวัดและของประเทศ อยางไรก็ตามมีบางจังหวัดเห็นวาควรมีการจัดแบงกลุม จังหวัดใหม เนื่องจาก
แตละจังหวัดมีลักษณะและจุดเดนดานการทองเทีย่ วทีแ่ ตกตางกัน ทิศทางการพัฒนาอาจไมตรงกัน และการมี
จงั หวดั ภายในกลมุ เปนจํานวนมากอาจไมคลองตัวในการบริหารจดั การและการจัดสรรงบประมาณ

ผลการศึกษาดังกลาวไดนําเสนอในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ
คร้ังท่ี 1/2557 เมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 ซ่ึงไดมีมติเห็นชอบกําหนดกลุมทองเทีย่ วที่มีศักยภาพ 5 กลุม
เปนเขตพัฒนาการทองเที่ยวนํารอง 5 เขต จากนั้นไดมีการเสนอใหคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา
โดยคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมือ่ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557 อนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนด
เขตพฒั นาการทองเท่ียว พ.ศ. .... และกฎกระทรวงกําหนดเขตพัฒนาการทองเที่ยว พ.ศ. 2558 ไดประกาศ

1

ในราชกจิ จานุเบกษา เลม 132 ตอนที่ 22 ก เมื่อวันท่ี 27 มนี าคม 2558 โดยกําหนดเขตทองทีใ่ นจังหวัดตาง ๆ
เปนเขตพัฒนาการทอ งเทีย่ ว ดงั นี้

ตารางท่ี 1.1 สรุปเขตพัฒนาการทอ งเทยี่ วทปี่ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา

เขตการทอ งเท่ียว จงั หวดั ศูนยปฏิบัตกิ าร
เขตพัฒนาการทองเท่ยี วอารยธรรม เชียงใหม เชยี งราย ลาํ พูน ลาํ ปาง และพะเยา จังหวัดเชยี งใหม
ลานนา
เขตพฒั นาการทองเทย่ี วฝงทะเล ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด จังหวัดชลบุรี
ตะวนั ออก
เขตพฒั นาการทองเทย่ี วอารยธรรม นครราชสมี า บุรรี มั ย สุรนิ ทร ศรีสะเกษ และ จังหวัด
อสี านใต
เขตพัฒนาการทองเท่ยี วฝงทะเล อุบลราชธานี นครราชสีมา
ตะวนั ตก
เขตพฒั นาการทองเทย่ี วอนั ดามนั เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชมุ พร และระนอง จังหวดั เพชรบุรี

ภูเกต็ กระบ่ี พงั งา ตรัง และสตูล จังหวัดภเู ก็ต

1.2 กระบวนการ แนวคิดในการดําเนนิ งานและวิธกี ารจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ

(1) ภายหลังการออกกฎกระทรวงกําหนดเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงการทอ งเทย่ี วและกีฬา ไดลงนามในคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาการทองเที่ยว ประจํา
เขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ
เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการและการประชุมคณะกรรมการพัฒนาการทองเที่ยว ประจําเขตพัฒนาการ
ทองเที่ยว พ.ศ. 2557 โดยมีผูวาราชการจังหวัดนครราชสีมาเปนประธานกรรมการ และทองเทีย่ วและ
กีฬาจังหวดั เปนกรรมการและเลขานุการ เพ่ือจดั ทําแผนปฏิบตั ิการพัฒนาการทองเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการ
ทอ งเทยี่ ว

(2) คณะกรรมการพัฒนาการทองเทีย่ ว ประจําเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต
ไดจัดประชุมครั้งที่ 1/2558 เม่ือวันท่ี 18 พฤษภาคม 2558 โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและ
กีฬา และผูบริหารกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ไดเขารวมประชุมและมอบนโยบายใหกับคณะกรรมการ

ทัง้ นี้ สาระสําคัญของการประชุมเพือ่ ทําความเขาใจบทบาทหนาทีแ่ ละพิจารณาแนวทางการดําเนินงานของ

คณะกรรมการ โดยที่ประชุมเห็นชอบจะนําผลการศึกษา “แผนพัฒนาการทองเที่ยว 5 เขตพัฒนาการ
ทองเทยี่ ว พ.ศ. 2559-2563” ทก่ี ระทรวงการทอ งเท่ียวและกีฬาไดจัดทําไปใชเปนกรอบแนวทางในการจัดทํา
แผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเทีย่ วในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต พรอมทั้งเห็นชอบให

2

แตงตั้งคณะอนุกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเที่ยว โดยมีกระบวนการและขั้นตอนในการจัดทํา
แผนปฏิบตั กิ ารพฒั นาการทองเทย่ี ว ประจาํ เขตพฒั นาการทองเที่ยว ดังนี้

ภาพที่ 1.1 กระบวนการการจัดทําแผนพฒั นาการทองเท่ยี ว 5 เขตพัฒนาการทองเท่ียว

การศึกษาขอมลู ทุตยิ ภูมิ การคัดเลือกกลมุ ทองเทย่ี วท่ีมศี กั ยภาพ

ภาพรวมการทองเทย่ี ว กรณีตัวอยางหรอื ประเทศทีม่ ี การสัมภาษณเชิงลึก การประชมุ กลุมยอ ย
ของไทย และเขต การกาํ หนดเขตพัฒนาการ ภาคที ีเ่ ก่ยี วของ ภาคที ่ีเกี่ยวของ
พฒั นาการทองเทยี่ ว ทองเทีย่ วและเมืองทองเที่ยว

การสาํ รวจพนื้ ที่ทไี่ ดร บั การคัดเลือก การประเมินศักยภาพ

- เกบ็ รวบรวมขอ มลู การประชมุ ภาคีทเี่ กีย่ วของ
- ตรวจสอบขอมูลเบื้องตน
- ตรวจสอบขอ มูลโดยผเู ช่ยี วชาญ

การจัดทําแผนพัฒนาการทอ งเท่ียว แผนปฏิบตั ิการพฒั นาการทอ งเท่ียว
และแผนปฏบิ ัติการ
(วิสัยทศั น/ พันธกจิ /เปา ประสงค/ ยทุ ธศาสตร/
การประชุมกลมุ ตรวจสอบรา งแผนฯ แผนงาน/โครงการท่สี าํ คัญ)
ยอ ยภาคีทเี่ กย่ี วของ

3

ภาพที่ 1.2 ขนั้ ตอนในการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการ
ขน้ั ตอนการดาํ เนินงานการจดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ าร

คณะกรรมการพัฒนาการทองเทย่ี ว ประจาํ เขต ศกึ ษาทบทวนแผนพฒั นาการ
พัฒนาการทอ งเท่ยี วอารยธรรมอีสานใต ทอ งเทย่ี ว 5 เขตพฒั นาการทอ งเทย่ี ว

แตงตง้ั คณะอนกุ รรมการจดั ทําแผนปฏิบัติการ
พฒั นาการทองเท่ียว

จัดทาํ เกณฑการจัดลําดับความสําคญั โครงการ ประชมุ จัดทาํ แผน

ยกรา งแผนปฏิบัติการพัฒนาการทองเทีย่ ว ประชุมจัดลําดบั ความสาํ คัญ
ภายในเขตพฒั นาการทอ งเทยี่ ว ของแผนงานโครงการ

เสนอคณะกรรมการพฒั นาการทอ งเทยี่ ว ปรบั ปรงุ โครงการสาํ คัญ
ประจาํ เขตพัฒนาการทอ งเท่ยี ว
พจิ ารณาใหความเห็นชอบ

เสนอคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนปฏบิ ัติ
การพัฒนาการทองเทีย่ ว

เสนอคณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยว
แหง ชาติ พจิ ารณาอนมุ ัติ

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

4

จากกรอบแนวคิดการดําเนินงานท่ีแสดงในขางตน การจัดทําแผนปฏิบัติการฯ ไดเนนกระบวนการ
มีสวนรวมในการดําเนินงานโครงการ โดยมีกระบวนการสรางความเห็นพองตองกันในเปาประสงค วิสัยทัศน
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร และแผนงาน/โครงการตา งๆ ทบ่ี รรจุอยูใ นแผนปฏบิ ัติการ เปาหมายของการจัดทําแผนปฏิบัติการ
เขตพัฒนาการทองเท่ียว คือ การบูรณาการและขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการฯ ใหนําไปสูก ารปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม
ใหไดมากที่สุดเปนลักษณะองครวม โดยตองมุง สะทอนใหผูมีสวนรวมในการทํางานของแผนปฏิบัติการเห็นความ
สําคญั ในประเด็นตางๆ ดงั นี้

1. แผนปฏิบัติการพัฒนาการทอ งเท่ียวตองสอดคลอ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ
แผนพัฒนาการทองเทีย่ วแหงชาติ ยุทธศาสตรพัฒนาการทองเทีย่ วกลุม จังหวัดและกฎหมายทีใ่ ชบังคับ
อยูภายในเขตพฒั นาการทอ งเทยี่ ว

2. แนวคิดการพัฒนาของเขตพัฒนาการทองเที่ยวควรอยูบนพื้นฐานศักยภาพของพื้นที่
ความโดดเดนเปนเอกลักษณของแหลงทองเทีย่ ว และความตองการของชุมชน โดยใชแนวคิดคลัสเตอรเปน
กรอบในการกําหนดทิศทางและเปาหมายการพัฒนารวมกัน มีแนวทางการพัฒนาเมืองทองเทีย่ วหลัก
เมืองทองเที่ยวรอง และการเชือ่ มโยงเสนทางทองเทีย่ วภายในเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว การสรางความรวมมือ
ในการผลิตสินคาและสงเสริมกิจกรรมทองเทีย่ วรวมกันในพื้นที่ ตลอดจนการแลกเปลีย่ นขอมูลขาวสาร
องคความรู และทรพั ยากรระหวางกัน

3. ขั้นตอนการจัดทําแผนปฏิบัติการตองใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของภาคี การพัฒนา
ในเขตพัฒนาการทองเท่ียว ทั้งหนว ยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน เครือขายชุมชน สถาบันการศึกษา
และนกั วชิ าการในพนื้ ท่ี

4. กําหนดระยะเวลาการดําเนินงานของแผนปฏิบัติการ 5 ป โดยมีการจัดลําดับความสําคัญ
ของโครงการออกเปนโครงการทีต่ องดําเนินการในระยะสัน้ 1-2 ป และโครงการที่ตองดําเนินการ
เพื่อการวางรากฐานการพฒั นาในระยาว 3-5 ป

5

บทท่ี 2

สถานการณแ ละทศิ ทางการทอ งเทย่ี ว
ในเขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอสี านใต

2.1 สถานการณการทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต

สถานการณการทองเทีย่ วของเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตจะเห็นไดวามีแนวโนม
การเติบโตไดดี โดยพิจารณาจากขอมูลตัวเลขนักทองเทีย่ วที่เพิม่ มากขึน้ ทุกจังหวัด สําหรับสถิตินักทองเที่ยว
ในเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต พบวานักทองเที่ยว รอยละ 90 เปนนักทองเทีย่ วชาวไทย โดยจาก
ขอมูลในป 2556 มีนักทองเที่ยวชาวตางชาติ จํานวน 321,419 คน โดยจังหวัดที่มีจํานวนนักทองเทีย่ ว
ชาวตา งชาติมากทส่ี ดุ คือ จังหวัดนครราชสีมา จํานวน รองลงมาคือ จังหวัดอุบลราชธานี บุรีรัมย สุรินทรและ
ศรสี ะเกษ ตามลาํ ดบั

สาํ หรับนักทองเทย่ี วชาวไทย ขอมลู ในป 2556 มนี กั ทอ งเท่ียวชาวไทยในเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว
อารยธรรมอีสานใต จํานวน 12,350,667 คน โดยจังหวัดทีม่ ีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติมากทีส่ ุด คือ
จังหวัดนครราชสมี า จํานวน รองลงมาคอื จงั หวัดอุบลราชธานี บุรรี มั ย สรุ ินทรและศรสี ะเกษ ตามลาํ ดับ

เมื่อพิจารณาถึง จํานวนธุรกิจที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว
อารยธรรมอีสานใต พบวา จังหวัดนครราชสีมา เปนจังหวัดทีม่ ีจํานวนธุรกิจที่พัก จํานวนหองพัก รานอาหาร
และรานจําหนายสินคาที่ระลึกสูงสุดในเขต ซึ่งโดยสวนใหญจะอยูท ี่อําเภอปากชอง อําเภอเมือง และอําเภอ
วังน้าํ เขียวมากที่สุด รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสรางพื้นฐานเพื่อการทองเทีย่ ว รองลงมา คือ
จงั หวัดบรุ รี มั ย อุบลราชธานี สรุ ินทร และศรีสะเกษ ตามลําดบั

ภาพที่ 2.1 สถติ ินกั ทอ งเท่ียวชาวตางชาติ ป 2556 ในเขตพัฒนาการทอ งเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต

นครราชสมี า อุบลราชธานี บุรีรัมย สรุ ินทร ศรสี ะเกษ

6

ภาพท่ี 2.2 สถติ นิ กั ทอ งเท่ียวไทย ป 2556 ในเขตพฒั นาการทอ งเท่ยี วอารยธรรมอีสานใต

นครราชสมี า อุบลราชธานี บุรีรมั ย สุรินทร ศรสี ะเกษ

สรปุ สถานการณข องการพัฒนาการทองเที่ยวเขตอารยธรรมอีสานใต

1. มีศกั ยภาพดานการทองเท่ียวระดับปานกลาง ท้ังในดา นรายไดแ ละอัตราการเตบิ โตเฉลีย่ ของ
รายไดจากการทองเท่ยี ว

2. จาํ นวนวันพักเฉลย่ี ทง้ั นักทองเท่ยี วชาวไทย และชาวตางชาติ มวี นั พักเฉล่ีย 2.5 วัน ซึง่ นักทองเทีย่ ว
มจี ํานวนวันพักเฉล่ียสูงกวา นักทองเทีย่ วชาวไทย

3. รายไดจากการทองเที่ยวของเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตมีแนวโนมเติบโต
อยางตอเนือ่ ง หากจัดอันดับจังหวัดที่มีรายไดสูงสุดในป 2554 อันดับหนึง่ คือ จังหวัดนครราชสีมา รองลงมา คือ
จงั หวัดอบุ ลราชธานี จังหวดั สรุ นิ ทร จงั หวัดบุรรี มั ย และจังหวดั ศรีสะเกษ เรยี งตามลาํ ดับ

โดยมีประเดน็ สาํ คัญดงั น้ี

ตารางที่ 2.1 ประเดน็ ควรพัฒนาดา นการทอ งเทย่ี ว
ดาน ประเดน็ หลกั
นักทองเทย่ี ว, ผูบริโภค ⁻ นักทองเที่ยวสวนใหญไมไดแวะพัก และมีการใชจายในบริเวณเขตชายแดน
จาํ นวนนอ ย เน่ืองจากขาดจดุ แวะพกั และจุดทีน่ าสนใจ

⁻ นักทองเทีย่ วประมาณรอยละ 90 เปน นักทองเที่ยวชาวไทย
⁻ มีระยะเวลาการพกั เฉลย่ี ประมาณ 2 วันกวา ซงึ่ นอยมาก
⁻ การใชจายของนักทองเทีย่ วที่เดินทางมาเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว
อารยธรรมอสี านใตน อ ยมาก

⁻ นักทอ งเทย่ี วไมม ่นั ใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยเฉเพาะเรื่อง
การเดนิ ทางและเสน ทางการคมนาคม

สถานท,ี่ สนิ คาและบริการ ⁻ สินคา และการบริการ มีความหลากหลาย แตขาดจุดเดนหรืออัตลักษณ
ดา นการทอ งเท่ียว ทีส่ รางจากทุนทางวัฒนธรรม เพือ่ ใหเกิดความจดจําและสรางความโดดเดน

ลอกเลียนไดยาก

7

ดาน ประเดน็ หลัก
สถานท,ี่ สนิ คาและบริการ ⁻ พฒั นาแหลงทองเที่ยว และสนิ คา ใหม คี วามหลากหลาย มีคุณภาพ ตอบสนอง
ดานการทอ งเท่ยี ว (ตอ ) นักทองเทีย่ วทุกกลุม เชน การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงนันทนาการ เชิงบันเทิง

เชงิ กฬี า เชิงวัฒนธรรม เชงิ พุทธ และเชิงเกษตรอินทรีย

ผปู ระกอบการธุรกจิ ⁻ การลงทุนของผูประกอบการทองเทีย่ วมีนอ ย
ทอ งเทย่ี ว และบคุ ลากร ⁻ ผูป ระกอบการจํานวนมากยังขาดความเปนมืออาชีพในการดําเนินธุรกิจ
ดา นการทองเที่ยว ดานการทองเที่ยว

⁻ แรงงานในอุตสาหกรรมทองเทีย่ วมีศักยภาพในการรองรับการบริการทางการ
ทองเทีย่ วปานกลาง และสําหรับการรองรับนักทองเที่ยวระดับนานาชาติยังมี

ศักยภาพนอ ย โดยเฉพาะดา นการสื่อสาร

⁻ พัฒนาจิตสํานึกผูประกอบการธุรกิจทองเที่ยวในการใหความเปนธรรมแก
นักทองเท่ยี วและมาตรฐานการใหบ รกิ าร

⁻ สงเสริมใหภาคประชาชนและทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการพัฒนาการ
ทอ งเท่ยี ว

⁻ การเตรียมพรอ มบุคลากรในการเขาสูประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
โครงสรา งพน้ื ฐาน ⁻ ขาดระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีด่ ีทีส่ ามารถรองรับและใหบริการแก
นักทองเที่ยวไดอยางเพียงพอ เชน ถนนที่เขาถึงแหลงทองเที่ยว จุดบริการ

รบั สงและจอดรถ หองน้ําทส่ี ะอาดสาํ หรับผสู ูงอายแุ ละผพู กิ าร

⁻ ขาดเสนทางการเชือ่ มโยงแหลงทองเทีย่ วในจังหวัดและในเขตอารยธรรม
อสี านใต

⁻ การบริหารจัดการระบบ ICTทีด่ ี และใหขอมูลทีช่ ัดเจนแกนักทองเทีย่ วรวมถึง
การสืบคนขอมูลในระบบฐานขอมูลการทองเที่ยว

การตลาดประชาสัมพันธ ⁻ การประชาสัมพันธและการตลาดดานการทองเที่ยวในพืน้ ที่ไมมีความ
เชือ่ มโยงกนั

⁻ ขาดกิจกรรมทางการตลาดที่ดึงเอาทุนทางวัฒนธรรม มาใชใหเกิดมูลคาและ
คุณคาทางเศรษฐกิจในชุมชน และในเขตอารยธรรมอีสานใตไดอยางเต็ม

ศกั ยภาพ

⁻ ขาดแผนที่การทองเทีย่ ว (ไดตลอดป) และเสนทางการทองเที่ยวที่เชื่อมโยง
การทองเท่ยี วในเขตอารยธรรมอีสานใต

การบรหิ ารจดั การ ⁻ ขาดการบูรณาการจัดการแผนการทองเทีย่ วในแตละจังหวัด ทีด่ ึงจุดเดน
หรืออัตลักษณของแตละพื้นที่มาสรางเสนทางทองเที่ยว และการบริหาร

จัดการรวมกัน รวมถึงการ Share Vision and Resource รวมกัน เพือ่ เพิม่
ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการการทองเท่ียวในเขตอารยธรรมอสี านใต

⁻ ขาดการเชื่อมโยงเครือขายและภาคีดานการทองเทีย่ วเพื่อขับเคลือ่ นการ
ทองเท่ียวในเขตอารยธรรมอีสานใต

8

ปญ หาของอตุ สาหกรรมทอ งเทย่ี วของเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วอารยธรรมอีสานใต จากขอ มูล
สถานการณการทองเท่ียวและขอมูลสถิติตัวเลขของนักทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต
ไดแก จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานีพบวาสามารถแบงระดับของการ
พัฒนาการทองเที่ยวไดเปน 2 กลุม คือ กลุมท่ีเปนเมืองหลักทางการทองเท่ียวและเปนเมืองท่ีมีนักทองเท่ียวรูจัก
และมาเยือนจํานวนมาก คือ จังหวัดนครราชสีมา และกลุมเมืองทองเที่ยวรอง คือ จังหวัดอุบลราชธานี บุรีรัมย
สุรินทร และศรีสะเกษ ทําใหทัง้ สองกลุม เมืองทองเที่ยวมีปญหาทั้งทีค่ ลายกันและปญหาทีแ่ ตกตางไปในแตละพืน้ ที่
จงึ ขอนาํ เสนอปญ หาในภาพรวม และปญ หาแยกรายกลมุ พ้นื ท่ี ดงั น้ี

ปญหาดานการทองเท่ียวภาพรวมของเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต คือ ปญหา
ดานโครงสรางพ้ืนฐานท่ีรองรับการคมนาคมในแหลงทองเท่ียวท่ีสําคัญ ปญหาการจัดการและยกระดับคุณคาและ
มูลคาใหกับทรัพยากรทางการทองเท่ียวท้ังทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ตลอดจนการรักษาทรัพยากรทางการ
ทอ งเทย่ี วใหย ง่ั ยืน ปญหาดานการตลาด โดยเฉพาะตลาดท่ีเปนนักทองเท่ียวคุณภาพ ปญหาดานบุคลากรทางการ
ทองเที่ยวที่ยังขาดเรื่องของคุณภาพการใหบริการ การเปนเจาบานที่ดี จริยธรรมทางธุรกิจในอุตสาหกรรม
ทองเท่ียว และทักษะฝมือแรงงานทีส่ ําคัญในการเปนเมืองบริการทางการทองเทีย่ วที่มีมาตรฐานเพื่อรองรับ
นกั ทอ งเที่ยวไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ

นอกจากน้ียังพบปญหาเร่ืองการเช่ือมโยงหวงโซอุปทานทางการทองเที่ยวทั้งตนนํ้า กลางนํ้าและ
ปลายน้าํ ไดไมครอบคลุม ปญหาดานการดูแลความปลอดภัยและสุขลักษณะใหกับนักทองเทีย่ ว ปญหาดานระบบ
สารสนเทศทางการทองเที่ยว ระบบ ICT และปญหาดานสิ่งอํานวยความสะดวกในการเปนเมืองทองเที่ยวที่มี
มาตรฐาน เชน หองน้ําในแหลงทองเที่ยวสําหรับผูพิการและผูสูงอายุ สนามบิน เสนทางคมนาคมทางบก และ
อากาศ และระบบขนสง สาธารณะทอ งถิน่

สําหรับปญ หาการทองเทย่ี วเมอื งแยกตามกลุมเมอื งหลกั และเมอื งทอ งเท่ยี วรอง มีรายละเอยี ดดงั นี้
ปญ หาในเมืองทองเทย่ี วหลัก คือ จังหวดั นครราชสีมา ลําดับจากมากไปนอ ยไดดงั น้ี
1. ปญ หาดานสิ่งอํานวยความสะดวกในการเปนเมอื งทองเที่ยวระดับมาตรฐาน เชน พัฒนาสนามบิน
และระบบโลจิสตกิ สข นถา ยนกั ทอ งเท่ยี วอยางเปน ระบบไปสูแหลงทองเที่ยวทางอารยธรรมอสี านใต
2. ปญหาดานการจัดการและยกระดับคุณคาและมูลคาใหกับทรัพยากรทางการทองเที่ยวทัง้ ทาง
ธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ตลอดจนการรกั ษาทรพั ยากรทางการทอ งเทย่ี วใหย ง่ั ยนื
3. ปญหาดา นความสมั พันธทางการทองเท่ียวการเช่ือมโยงหวงโซอุปทานทางการทองเท่ียวทั้งตนน้ํา
กลางน้ําและปลายน้าํ ไดไมค รอบคลมุ และการเช่ือมโยงออกไปนอกพื้นทีห่ รอื นอกจากจังหวัด
4. ปญหาดานการดแู ลความปลอดภัยและสุขลักษณะใหกับนักทองเทยี่ ว และประชาชนทองถ่ิน
5. ปญ หาดา นระบบสารสนเทศทางการทองเท่ียว ระบบ ICT และปญหาดานส่ิงอํานวยความสะดวก
ในการเปน เมอื งทอ งเทย่ี วระดบั มาตรฐาน

9

ปญ หาในเมืองทอ งเท่ียวรอง คือ จงั หวดั อุบลราชธานี บรุ ีรัมย สรุ ินทร และศรสี ะเกษ ลําดบั ปญ หา
จากมากไปนอยไดดังน้ี

1. ปญหาดานสิ่งอํานวยความสะดวกในการเปนเมืองทองเที่ยวระดับมาตรฐาน เชน สนามบิน
เสนทางคมนาคมทางบกระบบโลจิสติกสขนถายนักทองเที่ยว และระบบขนสงสาธารณะทองถิ่น ที่สามารถ
เชอ่ื มโยงแหลง ทอ งเทย่ี วทางธรรมชาติ และแหลง ทอ งเทย่ี วทางอารบธรรมอสี านใต

2. ปญ หาดา นระบบสารสนเทศทางการทองเท่ียว ระบบ ICT เพือ่ การทองเทีย่ ว เชน ฐานขอมูลการทองเทีย่ ว
ท่ีสามารถสบื คน ไดอยา งเปนระบบ และระบบบริการสัญญาณอินเทอรเน็ตทคี่ รอบคลุมพ้นื ท่ีการทองเท่ยี ว

3. ปญหาดานการดูแลความปลอดภัยและสุขลักษณะใหกับนักทองเทีย่ ว เชน จุดบริการแก
นกั ทองเท่ยี ว หองน้าํ ที่สะอาดสวยงาม และหอ งน้ําสําหรับผพู ิการและผูส ูงอายุ

4. ปญ หาดา นการตลาดท่ีไมส ามารถดงึ เอาทนุ ทางวฒั นธรรม มาใชใ หเกิดมูลคาและคุณคาทางเศรษฐกิจ
ในชมุ ชน และในเขตอารยธรรมอีสานใตไ ดอ ยา งเต็มศักยภาพ และขาดแผนที่การทอ งเทยี่ ว และเสนทางการทองเท่ียว
ท่ีเชือ่ มโยงการทองเท่ียวในเขตอารยธรรมอสี านใต

2.2 การวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในและภายนอกดา นการทองเทยี่ วเขตอารยธรรมอสี านใต

ขอมูลการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกดานการทองเทีย่ วของเขตพัฒนาการ
ทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต เพือ่ เปนแนวทางในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ และแผนพัฒนา
เมืองหลกั โดยการวิเคราะหน ้ีเกดิ ขึ้นจากการสงั เคราะหขอ มลู จากการวิเคราะหเ ดิมของหนวยงานท่ีเก่ียวของใน
พืน้ ท่ีมาประกอบและวิเคราะหเ พ่มิ เติมตามประเด็นทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การทอ งเท่ยี ว ตอไปนี้

จุดแข็ง
- แหลงทองเทีย่ วที่หลากหลายทัง้ ทางธรรมชาติประวัติศาสตร วัฒนธรรม ประเพณีทองถิ่นและ
มนุษยสรางขึน้ เปนแหลงทีค่ นพบซากดึกดําบรรพ บรรพชีวิน ทั้งชางดึกดําบรรพ ไมกลายเปนหิน และ
ไดโนเสาร ตลอดจนมนษุ ยแ ละวตั ถุโบราณของคนในยุคกอนประวัติศาสตร เชื่อมโยงสูหลักฐานอารยธรรมขอม
ของคนในยุคลประวัติศาสตร มาจนถึงปจจุบัน
- มีอาณาเขตติดตอกับประเทศเพ่ือนบาน 2 ประเทศ คือ ประเทศกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว และมศี กั ยภาพในการเชอื่ มโยงกับประเทศเพ่อื นบา นทางธรุ กิจ เชน ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม
- มีทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางภูมิปญหาทองถิ่น ทีน่ ํามาผลิตเปนสินคาและบริการไดอยาง
หลากหลาย
จดุ ออ น
- ขาดการเชอ่ื มโยงกจิ กรรมระหวา งแหลง ทองเท่ียวในกลุมจังหวัด ทําใหสินคาไมเปนทีน่ ิยมของตลาด
และขาดการสรา งเอกลักษณของแหลง ทอ งเทย่ี ว
- ผูประกอบการรายยอ ยยังขาดองคความรเู ก่ียวกับการคา ระหวา งประเทศ
- การทอ งเที่ยวยงั ไมสามารถดึงดูดนักทอ งเทยี่ วทมี่ ีรายไดร ะดบั ปานกลาง-สูง
- สนิ คาที่จําหนา ยขาดอตั ลกั ษณของทอ งถน่ิ
- การทองเทีย่ วยังไมพัฒนาศักยภาพไดเต็มรูปแบบ ขาดการประชาสัมพันธอยางตอเนื่อง
ขาดประสานงานและสรางเครือขายเช่ือมโยงการบริหารจัดการการทอ งเที่ยวกบั จังหวัดอน่ื ๆ

10

โอกาส
- เปนจุดแวะพักสําหรับนักทองเทีย่ วที่ตองการทองเที่ยวประเทศเพื่อนบานทัง้ ลาวและกัมพูชา
เน่ืองจากมีการคมนาคมในการเดินทางท่ีสะดวกมีท้ัง สนามบิน รถไฟ และรถยนต โรงแรม ศูนยการคาท่ีสามารถ
รองรับนักทอ งเทีย่ วไดจํานวนมาก
- การคมนาคมทีส่ ามารถเชอื่ มโยงธรุ กิจการคาการทองเที่ยว
- กระแสนิยมหนั มาบริโภคอาหารและสินคา เกษตรปลอดภัยเพ่มิ ข้นึ
- มีระบบโครงสรางพน้ื ฐาน ระบบสาธารณปู โภคที่สามารถรองรับการเปนศูนยกลางดานการทองเที่ยว
การลงทนุ กับประเทศเพ่อื นบา น
- มีโอกาสพัฒนาและสรางระบบโลจิสติกส (Logistic) เช่ือมโยงธุรกิจการคา การเกษตรและการทองเท่ียว
รฐั บาลมนี โยบายสงเสริมการทองเทีย่ ว
อปุ สรรค
- กฎระเบียบดานการคา การลงทนุ และการขนสงของประเทศเพือ่ นบานท่ยี ุงยากซบั ซอ น
- การวางยุทธศาสตรการทองเท่ียวขาดความเปนระบบ ขาดความเชื่อมโยงโครงขายการทองเที่ยว
ระหวา งจังหวดั และประเทศเพือ่ นบาน
- โครงสรา งการบริหารการศึกษาไมเ อ้อื ตอการใหบ รหิ ารอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

2.3 การประเมินปจ จัยแวดลอ มทางธรุ กิจเขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอสี านใต

1) เงือ่ นไขปจ จยั การผลิต (Factor Conditions)
ดานเงือ่ นไขปจจัยการผลิตของคลัสเตอรอุตสาหกรรมทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต

ประกอบดวย จงั หวดั นครราชสมี า บุรรี มั ย สรุ นิ ทร ศรีสะเกษ และอบุ ลราชธานี มศี ักยภาพสําคญั คอื
ดานทรัพยากรมีแหลงทองเที่ยวในภูมิภาคมีความโดดเดนเรื่องของทรัพยากรธรรมชาติที่มี

ความอุดมสมบูรณและไดขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก ซึง่ ประกอบไปดวย 6 อุทยานแหงชาติ ไดแก 1) อุทยาน
แหงชาติเขาใหญ 2) อุทยานแหงชาติทับลาน 3) อุทยานแหงชาติพระวิหาร 4) อุทยานแหงชาติผาแตม
5) อุทยานแหงชาติเกงตะมะ และ 6) อุทยานแหงชาติภูจอง-นายอย แตยังขาดการเพิ่มคุณคาและการสราง
ความเปนเอกลักษณใหกับแหลงทองเที่ยว ทําใหจุดเดนของแหลงทองเที่ยวลดลง ตลอดจนขาดการพัฒนา
องคประกอบการเพือ่ สงเสริมการทองเที่ยว และขาดระบบการจัดการทองเที่ยวที่สรางคุณคาและมูลคาใหกับ
แหลง ทอ งเทยี่ ว ทําใหน ักทองเทย่ี วมวี ันพกั เฉลย่ี ไมสูงมากนัก

ดานโครงสรางพื้นฐาน มีระบบการคมนาคมทางบกครอบคลุมเสนทางการเดินทางหลัก
แตขาดการเชือ่ มโยงเสนทางการทองเที่ยวในเขตอารยธรรมอีสานใต ทัง้ ในแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติ และ
แหลงทองเท่ียวทางประวัติศาสตร สวนระบบคมนาคมทางอากาศมีสนามบินอยู 3 จังหวัด คือ จังหวัดนครราชสีมา
บรุ รี ัมย และอุบลราชธานี ซง่ึ ตอ งไดร บั การปรับปรุงและพัฒนาเสนทางการบิน จุดรับสงนักทองเท่ียวไปยังสนามบิน
เพือ่ ความสะดวกและเพิ่มจํานวนนักทองเที่ยวในการเขาใชบริการ สวนสถานีขนสง และสถานีรถไฟมีความ
ครอบคลุมทุกจังหวัดในเขตอารยธรรมอีสานใต แตตองปรับปรุงเรือ่ งบรรยากาศส่ิงอํานวยความสะดวก และ
การบรกิ ารแกนกั ทองเทย่ี ว

11

ดานบุคลากรในอุตสาหกรรมทองเท่ียว มีจํานวนแรงงานในภาคบริการ/การทองเท่ียวจํานวนมาก
และยังเคลือ่ นยายแรงงานไปทํางานในภูมิภาคตางๆ ในประเทศ ซึ่งถือไดวาเขตการพัฒนาการทองเทีย่ วอารย
ธรรมอีสานใตมีความพรอมทั้งดานสถาบันการศึกษาทีผ่ ลิตบุคลากรในอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว จํานวนผูเ รียนมี
ปริมาณแรงงานในภาคบริการ/การทองเที่ยว ดังนี้ จังหวัดนครราชสีมา จํานวน 95,179 คน จังหวัดบุรีรัมย
จํานวน 38,933 คน จังหวัดสุรินทร จํานวน 28,362 คน จังหวัดศรีสะเกษ จํานวน 22,297 คน และจังหวัด
อุบลราชธานี จํานวน 44,340 คน (สํานักงานสถิติแหงชาติ, 2557) แตบุคลากรสวนใหญยังขาดความรูความสามารถ
และทักษะในการปฏิบัติงานท่ีเปนมืออาชีพดานการทองเท่ียว และขาดแผนการพัฒนาบุคลากรดานการทองเท่ียว
ท่ีตรงกับความตอ งการท่แี ทจรงิ อยางชดั เจน

ดานความปลอดภัยเมื่อพิจารณาแลวพบวา ยังขาดมาตรฐานที่จริงจังเรื่องการดูแลความ
ปลอดภัยใหกับนักทองเทีย่ ว ซึง่ เรื่องความปลอดภัยเปนสิง่ สําคัญมากสําหรับนักทองเที่ยวจะใชเปนขอมูลใน
การตัดสินใจเดินทางมาเที่ยวยังแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติ และแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม/
ประวัติศาสตร ถึงแมจะมีหนวยงานตํารวจทองเทีย่ วคอยใหการดูแล แตมีกําลังไมเพียงพอทีจ่ ะรองรับจํานวน
นักทองเทีย่ วทเี่ พมิ่ มากขนึ้ ทุกป

สําหรับเรือ่ งการรวมกลุมกันของตนน้าํ กลางน้าํ และปลายน้ํา จากขอมูลพบวาใน 5 จังหวัด
ไดแก จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี สามารถแบงระดับของการกระจุกตัว
และการเชื่อมโยงการพัฒนาในลักษณะของคลัสเตอรหรือเครือขายได 2 กลุม คือ กลุม ทีม่ ีความกระจุกตัวและ
การเชื่อมโยงในระดับสูงแตยังไมเขมแข็งและยัง่ ยืน คือ จังหวัดนครราชสีมา สวนอีกกลุม คือ บุรีรัมย สุรินทร
ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี มีจํานวนของตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้าในบางธุรกิจหรือบางหนวยงานไมมากนัก
ทําใหเกิดปญหาของความเขมแข็งกันในคลัสเตอร อยางไรก็ตามเม่ือพิจารณาภาพรวมของคลัสเตอรอารยธรรม
อีสานใต 5 จังหวัดแลวนัน้ พบวา การเชือ่ มโยงกันของเครือขายจัดวาอยูใ นระดับกลาง ดังนั้นแผนการพัฒนา
เขตการทองเทีย่ วนี้ จึงควรมุงและเรงสรางกลไกการเชือ่ มโยงของระบบหวงโซอุปทานของการทองเทีย่ วใหมี
ความสมดุล ไมมุงพัฒนาหรือสงเสริมเฉพาะเครือขายตนน้าํ หรือกลางน้าํ หรือปลายน้าํ แบบแยกสวน ควรคํานึงถึง
การพฒั นาเชงิ บรู ณาการและการพัฒนาองคป ระกอบของระบบการจดั การทอ งเท่ยี วไปพรอมๆ กนั

2) ปจจัยอุปสงค (Demand Conditions) จากขอมูลจํานวนนักทองเทีย่ วปจจุบันของเขต
พัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต5 จังหวัดนี้ สามารถแบงกลุม นักทองเทีย่ วของเมืองทองเทีย่ วหลัก
และเมอื งทอ งเท่ียวรอง ดังน้ี

อุปสงคของเมืองทองเที่ยวหลัก คือ จังหวัดนครราชสีมา คือ นักทองเที่ยวสวนใหญ
ทีเ่ ดินทางทองเที่ยวในภูมิภาคเปนนักทองเที่ยวชาวไทยและจํานวนนักทองเทีย่ วมีแนวโนมทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ แสดง
ดังตารางจํานวนผูมาเยือนจังหวัดนครราชสีมา ป 2550 – 2556 จังหวัดนครราชสีมาเปนจังหวัดหนาดาน
ในภูมิภาคนี้ มีความสะดวกในการคมนาคมทางบก และเปนจังหวัดที่เชื่อมตอไปยังภูมิภาคตางๆ และมี
ทรัพยากรทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมจํานวนมากที่ตอบสนองตอความตองการของนักทองเที่ยวได
หลากหลายรปู แบบทง้ั การทองเทย่ี ว การประชมุ สัมมนาและกจิ กรรมสันทนาการตาง ๆ

12

อุปสงคของเมืองทองเที่ยวรอง คือ จังหวัดอุบลราชธานี บุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ
คือ นักทองเที่ยวสวนใหญที่เดินทางทองเทีย่ วในภูมิภาคเปนนักทองเที่ยวชาวไทยและจํานวนนักทองเที่ยวมี
แนวโนมที่เพิม่ ขึน้ ซึง่ แสดงดังตารางจํานวนผูม าเยือนจังหวัดบุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี
ป 2550 – 2556

3) ปจจัยบรบิ ทกลยุทธการแขง ขัน (Strategy, structure, and rivalry)
พบวา ดานเปาหมายและยุทธศาสตร มีการจัดตัง้ สํานักบริหารยุทธศาสตรกลุม จังหวัดใน

จังหวัดทีเ่ ปนศูนยปฏิบัติการกลุมจังหวัดเพือ่ เปนเจาภาพในการประสานงานเพื่อเชือ่ มโยงและขับเคลือ่ น
ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดไปสูการปฏิบัติใหบังเกิดผลโดยทําหนาที่เปนสํานักเลขานุการของคณะกรรมการ
บริหารงาน กลุม จังหวัดแบบบูรณาการ โดยเขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต มี 2 กลุม จังหวัดเปน
องคประกอบ คอื กลมุ จังหวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลาง 1 และ กลุม จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนลาง 2 แตขาดการบูรณาการจัดการแผนการทองเทีย่ วในแตละจังหวัด และการใชศักยภาพของแตละจังหวัด
ทีส่ ามารถดึงจุดเดนหรืออัตลักษณของแตละพืน้ ที่มาสรางเสนทางทองเท่ียว และการบริหารจัดการรวมกัน รวมถึง
การ Share Vision and Resource รวมกัน เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการทองเทีย่ วในเขต
อารยธรรมอีสานใต รวมถึงขาดการเชื่อมโยงเครือขายและภาคีดานการทองเท่ียวเพื่อขับเคลื่อนการทองเที่ยว
ในเขตอารยธรรมอสี านใต

สวนเรือ่ งการควบคุมคุณภาพและมีการกําหนดมาตรฐานการบริการในธุรกิจอุตสาหกรรม
ทองเท่ียวในเขตอารยธรรมอีสานใต แตมีการบังคับใชท่ีไมเขมงวด และไมครอบคลุมในทุกพ้ืนท่ีและทุกกิจกรรม
ดานการวางแผนกลยุทธทางการตลาดในการสงเสริมการทองเที่ยวสําหรับนักทองเทีย่ วตางประเทศยังขาด
ประสิทธิภาพ เชน การประชาสัมพันธและการตลาดการทองเทีย่ วในพืน้ ที่ไมมีความเชือ่ มโยงกัน ขาดกิจกรรม
ทางการตลาดทีด่ ึงเอาทุนทางวัฒนธรรม มาใชใหเกิดมูลคาและคุณคาทางเศรษฐกิจในชุมชน และในเขตอารย
ธรรมอีสานใตไดอยางเต็มศักยภาพ ขาดแผนที่การทองเที่ยว และเสนทางการทองเท่ียวท่ีเช่ือมโยงการทองเท่ียว
ในเขตอารยธรรมอสี านใต

สาํ หรับเร่ืองของกฎระเบียบและนโยบายภาครฐั พบวา ทกุ ภาคสวนในพ้ืนที่ใหความสําคัญกับ
การพัฒนาการทอ งเทย่ี วอยา งจริงจงั ท้ังจงั หวดั นครราชสีมา บรุ รี มั ย สรุ นิ ทรศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ตางมี
เปาหมายและวิสัยทัศนในการใหการทองเที่ยวเปนยุทธศาสตรหลักของการพัฒนาทองถิน่ หรือจังหวัด เมื่อเปรียบเทียบ
ใหเ หน็ ระหวา งเมืองหลักและเมอื งรองในดา นกลยุทธก ารแขง ขัน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

13

ตารางท่ี 2.2 ผลการวิเคราะหป ระเด็นการพัฒนาเมอื งหลักเมืองรอง

ระดับการแขงขัน

ประเดน็ เมืองทองเท่ียวหลัก เมอื งทอ งเทย่ี วรอง

(นครราชสมี า) (บุรรี มั ย สรุ ินทร ศรสี ะเกษ และอบุ ลราชธานี)

กฎระเบยี บและนโยบาย ดมี าก ดมี าก
สนบั สนนุ

อัตราการเตบิ โตของธรุ กจิ ดีมาก (ควรหันมาสง เสริมเจาะกลมุ ตลาด ดี (ควรใหก ารสง เสริมตลาดตางประเทศ
คุณภาพ ผสู งู อายุ ผรู ักสขุ ภาพ และผชู ่นื มากขนึ้ และสรางกลยุทธก ารสงเสริมตลาด
ชอบกฬี า) นักเที่ยวชาวไทยเพมิ่ มากขนึ้ )

จาํ นวนผปู ระกอบการ SME มีเยอะมาก (เจา ของธรุ กจิ สว นใหญเปน มรี ะดบั ปานกลาง (การลงทนุ สว นใหญเ ปน
ผปู ระกอบการระดบั กลาง) คนทองถิน่ และวสิ าหกิจชมุ ชน)

บรรยากาศการแขงขันในพืน้ ที่ สูงมาก ปานกลาง
ละการแขงขันดานราคา

4) ปจจยั สนับสนุนที่เก่ียวเนื่อง (Related and Supporting Industries) พบวา
หนวยงานภาครัฐ เอกชนในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตใหการสนับสนุนการ

รวมกลมุ เครือขา ยอตุ สาหกรรมทองเท่ยี วทง้ั ในลักษณะของนโยบายและการปฏิบัติ ทําใหมีคณะกรรมการ กลุม สมาคม
ชมรม หนวยงานท่ีเก่ียวของในอุตสาหกรรมทองเท่ียว ท้ังในระดับจังหวัด อําเภอและทองถ่ินเพ่ือการพัฒนาการทองเท่ียว
จํานวนมาก แตขาดการประสานความรวมมือกันระหวางกลุมหรือเครือขาย แตละเครือขายยังทํางานตามหนาที่
(Function) ของตนเอง ขาดการบูรณาการการพัฒนาการทองเทีย่ วใหเปนไปในทิศทางและเปาหมายเดียวกัน
การทาํ งานจะเปน ลกั ษณะตา งคนตางทํา ท่ีผานมายังพบวา นโยบายในการพัฒนาการทองเท่ียว โดยมากจะมาจากระดับ
บนหรือสวนกลาง มากกวามาจากความตองการของคนทองถิ่นอยางแทจริง ทําใหขาดกระบวนการมีสวนรวม
และเมือ่ พิจารณาระดับของการประสานความรวมมือกันทางธุรกิจในเครือขายวิสาหกิจทองเทีย่ วในเขตพัฒนาการ
ทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใตแลวน้ัน ยังมีการดําเนินงานในระดับนอยมาก ทําใหขาดความเช่ือมโยงในหวงโซ
อุปทานและการประสานประโยชนอยางเปนรูปธรรม ทําใหการพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต
ในแตละจงั หวดั เปน แบบแยกจงั หวดั และมลี กั ษณะของการแขง ขันและแยง ชงิ ทรพั ยากร

อยางไรก็ตามจากการศึกษาก็พบวา ในเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตมีจํานวน
องคก ร สมาคม ชมรม กลมุ ทีจ่ ัดต้งั ขึ้นเพอ่ื สรา งความรว มมือในเครอื ขายวิสาหกิจทางการทองเที่ยวขึ้นมาจํานวนมาก
สําหรับสถาบันการศึกษาในพืน้ ทีอ่ ารยธรรมอีสานใต ทัง้ ในระดับอาชีวศึกษาและระดับมหาวิทยาลัยทีเ่ ปดสอนหลักสูตร
ดานการทองเที่ยวและการโรงแรมมีอยูหลายแหง เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร และมหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี ซึง่ เพียงพอตอปริมาณการผลิตบุคลากร แตหลักสูตรการเรียนการสอนยังขาดความสามารถ
ในการสนองตอบตอความตองการอยางแทจริงของทองถิ่น เชน หลักสูตรดานการทองเทีย่ วเชิงสุขภาพ (การดูแล
ผสู งู อาย)ุ การทองเทยี่ วเชงิ นเิ วศ (Ecotourism) ธุรกจิ อาหารนานาชาติและอาหารฮาลาล เปน ตน

14

แผนภาพท่ี 2.3 สรปุ การวเิ คราะหศ กั ยภาพของคล

บริบทการแขงขันและกลยุทธท างธรุ กิจ

- มกี ฎระเบยี บการควบคุมดา นคุณภาพและการกาํ หนดมาตรฐานของการบริการในธรุ
- การวางแผนดานการสง เสริมตลาดในนักทองเที่ยวตางประเทศโดยการเจาะกลุมนกั ท
และนกั ทอ งเที่ยวชาวจนี ที่มคี ณุ ภาพ ทงั้ นเี้ พ่ือเปนการเพ่ิมจาํ นวนนกั ทอ งเที่ยวตางประ
- คณุ ภาพการบริการและมาตรฐานราคาของธุรกิจในอตุ สาหกรรมทอ งเท่ียวมคี วามแต
- ในเมืองทองเที่ยวหลกั คือ นครราชสมี า จัดวาเปน เมอื งทองเที่ยวที่มกี ารแขง ขันสูงม
- บรษิ ัทนําเที่ยวในพ้นื ที่ยังขาดการบรหิ ารจัดการท่เี ปนระบบ จาํ นวนมากท่ีขาดจริยธร

เงอื่ นไขปจจัยการผลติ บรบิ ทของก
กลยุทธ
- มที ุนในแหลงทอ งเทีย่ วทางธรรมชาติและวัฒนธรรม แตยังขาดเอกลกั ษณ
ท่สี รา งความโดดเดนในสายตานักทอ งเทีย่ ว จงึ ยงั ไมส ามารถดงึ ดดู เงอ่ื นไขของ
นกั ทองเที่ยวไดม ากนกั ปจ จัยการผลิต
- ยงั ขาดการสรา งคุณคาและมูลคา ใหกบั ทรพั ยากรทางการทอ งเท่ยี วท้งั
ทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ในการเปน แหลง ทอ งเที่ยวมาตรฐานสากล อุตสาหกรรมท
และขาดการผกู โยงเสนทางทองเที่ยวในระดับคลัสเตอรและนอกกลุมที่ สนบั ส
ชัดเจนเปนรปู ธรรม ท่จี ะสง ผลตอ การพกั ระยะยาวและใชจายมากขน้ึ ของ
นกั ทอ งเทยี่ ว อุตสาหกรรมทีเ่ กี่ยวโยงและสนับสนุน
- เมอื งทอ งเที่ยวหลัก คือ นครราชสมี ามีบุคลากรดา นการบรกิ ารจาํ นวน
มาก แตข าดคณุ ภาพดา นการบริการทีจ่ ะเปนเมืองทอ งเท่ียว - ในเมืองทองเที่ยวหลักมีการรวมกลุม กันของผูประกอบการภาคเอกชนดานก
มาตรฐานสากล สว นเมืองทองเที่ยวรอง คอื ศรสี ะเกษ ยงั ขาดบุคลากรทั้ง หลากหลาย จํานวนมาก มกี ารประชุมและวางแผนการพัฒนาการทองเทีย่ วรวมก
เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ ตลอดจนความเปน มืออาชีพในการรองรับตลาด การเชือ่ มโยงกันของตน นา้ํ กลางนํา้ และปลายน้าํ ทมี่ ีประสิทธิภาพ ที่จะทําใหเกิดก
นกั ทอ งเที่ยว ความสามารถทางการแขงขันอยางเต็มที่ สําหรับเมืองทองเที่ยวรองมีการดําเ
- ควรใหความสาํ คญั กับการรักษาและดคู วามปลอดภยั ใหก ับนกั ทอ งเทยี่ ว เชื่อมโยงกันในระบบหวงโซอุปทานทางการทองเทีย่ วในระดับปานกลาง ทัง้ นีเ้ นื่อ
ใหมมี าตรฐานสากลมากขึน้ มจี ุดบริการนักทอ งเท่ยี ว ทัง้ เร่อื งความ รวมกลุม กันของสมาคม ชมรม และยังขาดการเชื่อมโยงการดําเนินงานรวมก
ปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติและภัยจากมนษุ ย รูปธรรม และในภาครวมของเขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต ยังขาดก
- มีระบบสาธารณูปโภคยังไมค รอบคลมุ เสนทางเชอื่ มโยงแหลงอารยธรรม กันระหวางคลัสเตอรที่เปนระบบอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
ขอมทงั้ 5 จงั หวัดและเสน ทางการคมนาคมอีกทงั้ ยังขาดระบบ
สาธารณูปโภคพื้นฐานทด่ี ที ส่ี ามารถรองรับและใหบริการแกน ักทองเที่ยวได
อยา งเพยี งพอเชน ถนนท่เี ขา ถงึ แหลง ทองเท่ียวจุดบริการรบั สงและจอดรถ
หองนา้ํ ท่สี ะอาดสําหรับผูส งู อายแุ ละผพู กิ าร
- ดา นการคมนาคมในเสนทางหลักมีความสะดวก แตในเสนทางรองและ
เสน ทางในการเดินทางไปสูแหลงทอ งเทีย่ วยงั ไมเหมาะสม ถนนบางชว งมี 2
เลน มกี ารชํารดุ ตอ งการการพฒั นา
- ยงั ขาดประสทิ ธภิ าพของงานเกยี่ วกบั ระบบขอ มูลสารสนเทศสาํ หรับ
ผูประกอบการและนกั ทองเท่ยี ว และขาดชอ งทางการสื่อสารขอ มูลทมี่ ี
ประสทิ ธภิ าพ

ลสั เตอรท อ งเทย่ี วเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วอารยธรรมอสี านใต (Diamond

รกิจที่ชัดเจน แตขาดการนาํ ลงไปใชป ฏบิ ตั ิจริง
ทอ งเท่ียวคณุ ภาพควรดําเนินการใหชัดเจนมากขึ้น โดยเฉพาะการเจาะกลมุ ตลาดนกั ทอ งเท่ยี วผสู งู อายุ ผูรกั สขุ ภาพและกฬี า
ะเทศใหก ับเมืองทองเทยี่ วรอง
ตกตา งกนั สูง คือในบางพ้นื ทจี่ ัดวา อยใู นระดับดีแตในบางพนื้ ทตี่ องมีการพัฒนา และควบคุมดูแล
มาก แตส ําหรบั เมืองทองเที่ยวรองอยางจงั หวัดอุบลราชธานี บรุ รี มั ย สรุ ินทร ศรสี ะเกษการแขง ขันอยใู นระดับปานกลาง
รรมในการดาํ เนนิ ธุรกิจ และหลายแหงเปน ธรุ กจิ ของตา งชาติขาดการควบคุมอยางจรงิ จงั

การแขงขันและ
ธทางธรุ กิจ

รฐั บาล

เง่อื นไข การสนับสนุนและความชัดเจนของภาครัฐ
ทางดา นอุปสงค
- มยี ุทธศาสตรดา นการทอ งเทยี่ วของทกุ จังหวัด แตบางครั้งขาดความ
ทเ่ี กี่ยวโยงและ ตอ เน่ืองเร่อื งการสนบั สนุนงบประมาณ
สนนุ กนั - มีสํานักงาน/หนวยงานดานการทองเท่ยี วในพ้ืนท่ี
- มกี ารกระจายการดําเนินงานดานการทอ งเท่ยี ว
ลงไปสหู นวยงาน อปท.อยา งชัดเจน
- เปนแหลง ทองเท่ยี วท่จี ดั วาเปนพืน้ ท่ยี ุทธศาสตรการทองเทยี่ วของ
ประเทศท่ีชดั เจน
- แหลงทอ งเท่ียวบางแหงอยูใ นการดูแลของหนว ยงานภาครฐั ท่ี
หลากหลาย การพัฒนาการทองเทยี่ วจึงทําไดชา ขาดการ บูรณาการ

การทาํ งานระหวา งหนว ยงานภาครฐั

การทองเที่ยว ขนาดของอุปสงคในประเทศ
กัน แตยังขาด
การพัฒนาขีด - ในเมืองทอ งเทยี่ วหลกั และรองมนี ักทอ งเท่ียวกวารอยละ 90 เปน นักทองเท่ียวชาวไทย
เนินการการ - สวนใหญม กี ารกระจกุ ตวั กันในชวงเทศกาลหรอื วันหยุด
องจากในการ - นักทองเท่ยี วสว นใหญที่เดินทางเขามายังมคี วามตองการเก่ียวกับธุรกิจที่เกี่ยวโยงในระดบั
กันอยางเปน ที่สงู
การเชื่อมโยง

15

2.4 ประเดน็ สาํ คญั เพ่อื พจิ ารณาเพ่ือการพฒั นาขดี ความสามารถในการแขงขันทางการทองเที่ยว
1) ประเด็นดา นมาตรฐานของสินคา และบริการ (Standardization and service)
2) ประเด็นมลู คา เพ่มิ ของแหลง ทอ งเทีย่ วและความถดถอยของสภาพแวดลอม (Value - add tourism

spots and deteriorating tourism environment)
3) ประเด็นสาธารณูปโภคพ้ืนฐานในการเช่ือมโยงระดับประเทศและระดับภูมิภาค (Regional transportation

linkages)
4) ประเด็นความปลอดภัยในแหลงทอ งเที่ยว
5) ประเด็นคณุ ภาพของทรัพยากรบคุ คล (Quality of human resources) และการสง เสริม

หลกั สตู รการทองเท่ียว “ภมู ปิ ญญาชาวบาน” เฉพาะถนิ่ ในหลกั สูตรสามญั (Local tourism syllabus)
6) ประเดน็ การจัดการอปุ สงคท างการทองเทยี่ วใหสมดุล มาตรการการดแู ลประโยชนใ หก บั นักทองเท่ียว
7) ประเด็นการพัฒนาแบบเช่ือมโยงกันในคลัสเตอรทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรม

อีสานใต และนอกเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต ตลอดจนการเช่ือมโยงกันในอาเซียน และหนวยงาน
ระดบั สากล

8) ประเด็นการประสานการทาํ งานของภาครฐั เอกชน ทอ งถ่ิน และภมู ภิ าค
9) ประเด็นการวางแผนแบบบูรณาการและปฏิบัติตามแผน (Comprehensive and Integrated
planning)
10) ประเดน็ การรักษาความสมดุลของความสุขของประชาชนทอ งถนิ่ กับนกั ทองเที่ยว

2.5 การวางตําแหนงทางการทองเที่ยวของจังหวัดในเขตอารยธรรมอีสานใต
จากการวิเคราะหข อมลู ของเขตพฒั นาการทองเท่ยี วอารยธรรมอีสานใต สรปุ จดุ เดน ของเขตพัฒนาการ

ทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต นําไปสูก ารจัดทําแผนยุทธศาสตรการทองเทีย่ ว ทําใหสามารถวางตําแหนงทางการ
ทองเทย่ี วของแตล ะจงั หวดั ไดดังนี้

- แหลง ทอ งเทยี่ วทางธรรมชาตทิ ีเ่ ปน มรดกโลก
- แหลงทอ งเทยี่ วทางประวตั ิศาสตรอารยธรรมขอม
- ภมู ิปญญาเร่อื งไหม
- ประตสู ปู ระเทศเพื่อนบานลาว และเวียดนาม และกมั พชู า
- วิถีชีวติ ฝงโขง
- เมอื งทองเทีย่ วกีฬา
- วิถีชวี ติ กลมุ ชาติพันธ
- บรรพชวี นิ ซากดึกดําบรรพ และแหลง โบราณคดี
โดยมรี ายละเอียดการกําหนดตําแหนงทางการทองเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ งเที่ยวอารยธรรม
อีสานใต ไดดงั นี้

16

ตารางที่ 2.3 จากการวิเคราะหขอมูลในสวนที่ 2 และ 3 ของเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต
ทาํ ใหส ามารถวางตาํ แหนงทางการทองเทีย่ วของแตล ะจังหวัดไดด งั น้ี

ประเดน็ การพจิ ารณา

จงั หวัด ความโดดเดนของทรพั ยากร/ กลุมตลาด ปจ จัยขดี ความสามารถ การวางตาํ แหนง
นครราชสมี า องคป ระกอบทางการ เปาหมาย
ทางการแขงขัน ทางการทอ งเทย่ี ว
บุรีรัมย
สรุ นิ ทร ทอ งเทย่ี ว Diamond Model

1. แหลง ทองเทย่ี วทาง 1. รอ ยละ 80 เปน 1. เง่ือนไขปจ จัยการ - การทองเทีย่ วทาง
ธรรมชาติที่เปนมรดกโลก นักทอ งเทย่ี วชาว ผลิตมีศักยภาพ ธรรมชาติ

2. แหลงทองเท่ียวทางประวตั ิ ไทย (ขอมูลป ในระดับสูง - จุดเริ่มตนของ
ศาสตร อารยธรรมขอม 2556) รองรับ 2. บรบิ ทการแขง ขัน เสนทางอารยธรรม

3.กิจกรรมและแหลงทองเทยี่ ว 2. ความสะดวก และการดาํ เนนิ ขอม

การทองเทย่ี วทมี่ นุษยสรา งขนึ้ และความพรอ มใน กลยทุ ธข องธรุ กจิ มี -ความหลากหลายของ
4. ภมู ปิ ญ ญาเรื่องไหม การจัดการธรุ กิจ ศักยภาพในระดบั สูงใน กจิ กรรมและแหลง

5. มาตรฐานและศกั ยภาพของ MICE บางพน้ื ท่ี เชน ปากชอ ง ทองเทย่ี วการ

แรงงาน 3. ชอ่ื เสยี งและ อําเภอเมอื งสว นพ้ืนที่อ่ืน ทอ งเทยี่ วทีม่ นุษย

6.ความพรอมในการใหบ ริการ ภาพลักษณด า น ระดบั นอ ย สรา งขึน้

ทเี่ ปน สากล การทอ งเทย่ี วใน 3. เงื่อนไขอุปสงค มี -เมืองตอนรบั หรือ

7.บรรพชีวนิ ซากดึกดําบรรพ ประเทศ ศกั ยภาพในระดับสูงใน ประตสู เู สน ทาง

และแหลง โบราณคดี บางพื้นท่ี เชน ปากชอง ทอ งเทย่ี วอารยธรรม

อําเภอเมอื งสว นพ้นื ท่ีอน่ื อสี านใต

ระดบั ปานกลาง

4. อตุ สาหกรรมท่ีเกีย่ ว
โยงและการสนบั สนนุ มี

ศักยภาพในระดับสูง

1. เมอื งทอ งเท่ยี วกฬี า 1. รอ ยละ 90 เปน 1. เง่อื นไขปจ จยั การ 1. เมอื งทองเทีย่ วกฬี า
2. ปราสาททส่ี ะทอ นรองรอย นกั ทอ งเท่ียวชาว ผลติ มศี ักยภาพใน 2. ปราสาทท่สี ะทอ น
ของอารยธรรมขอม ไทย ระดบั สูง รองรอยของอารย

3. ภูมปิ ญญาเร่ืองไหม 2.การเพิ่มขึ้นของ 2. บรบิ ทการแขง ขนั ธรรมขอม
4.เมอื งทองเท่ียวชายแดน นกั ทองเท่ียว และการดาํ เนนิ กลยุทธ 3.เมอื งทอ งเทย่ี ว
ตา งประเทศท่ี ของธุรกิจ มีศักยภาพใน ชายแดน

5. สนามบนิ นานาชาติ สนใจเรอ่ื งของ ระดบั นอ ย

6. ความพรอมในการ กฬี า 3. เง่อื นไขอปุ สงค มี

ใหบริการท่ีเปนสากล ศกั ยภาพในระดบั ปาน

กลาง

4. อตุ สาหกรรมทีเ่ ก่ียว
โยงและการสนบั สนนุ

มศี ักยภาพในระดบั สงู

1. วิถชี วี ติ กลุม ชาติพนั ธกยุ 1. รอ ยละ 90 เปน 1. เง่ือนไขปจจัย 1. วถิ ชี ีวิตกลุมชาติพันธก ุย
2. ชา งกับวถิ ชี วี ิต นกั ทอ งเทย่ี วชาว การผลิตมีศักยภาพ 2. ชา งกบั วถิ ีชีวิต
3. ภูมิปญ ญาเร่ืองไหม ไทย ในระดบั ปานกลาง 3. ภูมิปญ ญาเรื่องไหม
4. เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อน 4.เมอื งทองเท่ียว
บา น ชายแดน

17

ประเดน็ การพจิ ารณา

จังหวัด ความโดดเดน ของทรพั ยากร/ กลมุ ตลาด ปจ จัยขีดความสามารถ การวางตําแหนง
สุรนิ ทร (ตอ ) องคป ระกอบทางการ เปาหมาย ทางการแขงขัน ทางการทอ งเทย่ี ว

ศรีสะเกษ ทอ งเทย่ี ว Diamond Model 1. ปราสาทรอ งรอย
2. บรบิ ทการแขง ขนั อายรธรรมขอม
อบุ ลราชธานี 1. ปราสาทรองรอย 1. รอ ยละ 90 เปน และการดาํ เนนิ 2. เชอื่ มโยงกับ
อายรธรรมขอม นกั ทองเทยี่ วชาว กลยทุ ธข องธรุ กจิ มี ประเทศเพ่ือนบา น
2. เชื่อมโยงกับประเทศ ไทย ศกั ยภาพในระดบั นอ ย 3. ภูมปิ ญ ญาเร่อื งไหม
เพ่อื นบา น 3. เงอื่ นไขอุปสงค มี และวิถีชีวิตกลมุ ชาติ
3. ภมู ปิ ญญาเร่ืองไหม และ ศกั ยภาพในระดับปาน พันธุ
วถิ ชี ีวติ กลมุ ชาติพันธุ กลาง
4. อุตสาหกรรมทีเ่ กยี่ ว 1. แหลง ทรัพยากร
1. แหลงทรัพยากรทาง 1. รอ ยละ 90 เปน โยงและการสนบั สนนุ มี ทางธรรมชาติ
ธรรมชาติ นักทองเทีย่ ว ศักยภาพในระดับสูง 2. ประตสู ปู ระเทศ
2. ประตสู ปู ระเทศเพื่อนบาน ชาวไทย เพอื่ นบานลาว และ
ลาว และเวยี ดนาม 1. เงอื่ นไขปจ จยั เวียดนาม
3. วถิ ีชีวิตฝง โขง การผลิตมศี กั ยภาพ 3. วถิ ชี ีวิตฝง โขง
4. สนามบนิ นานาชาติ ในระดบั ปานกลาง
2. บรบิ ทการแขง ขนั
และการดาํ เนนิ
กลยทุ ธข องธรุ กจิ
มศี ักยภาพในระดับนอย
3. เงื่อนไขอปุ สงค
มีศกั ยภาพในระดับนอ ย
4. อตุ สาหกรรมที่เกยี่ ว
โยงและการสนบั สนนุ มี
ศักยภาพในระดบั สงู

1. เงอื่ นไขปจจัย
การผลิตมศี ักยภาพ
ในระดับสูง
2. บรบิ ทการแขง ขนั
และการดาํ เนนิ
กลยทุ ธข องธรุ กจิ
มศี กั ยภาพในระดบั ปาน
กลาง
3. เงื่อนไขอปุ สงค
มีศกั ยภาพในระดับ
ปานกลาง
4. อุตสาหกรรมที่เกีย่ ว
โยงและการสนบั สนนุ
มศี ักยภาพในระดับสูง

18

ประเดน็ การพจิ ารณา

จังหวัด ความโดดเดนของทรัพยากร/ กลุมตลาด ปจจยั ขีดความสามารถ การวางตําแหนง

เขต องคป ระกอบทางการ เปา หมาย ทางการแขงขัน ทางการทอ งเทย่ี ว
พฒั นาการ
ทอ งเทย่ี ว ทอ งเทย่ี ว Diamond Model
อารยธรรม
อสี านใต แหลง ทอ งเท่ียวทางธรรมชาติ แบง ไดส องกลมุ 1. เงอ่ื นไขปจ จัยการ แหลงทองเทีย่ วทาง

ที่เปนมรดกโลก คือ ผลิต มศี กั ยภาพในระดบั ธรรมชาตทิ ่เี ปนมรดก

แหลงทอ งเทย่ี วทาง -รักษาตลาด ปานกลาง โลกแหลง ทอ งเทย่ี ว

ประวตั ศิ าสตร อารยธรรมขอม นกั ทอ งเทย่ี วใน 2. บรบิ ทการแขงขันและ ทางประวตั ิศาสตร
การดําเนินกลยทุ ธข อง อารยธรรมขอม
ภมู ปิ ญญาเร่อื งไหม ประเทศ ธุรกิจมศี กั ยภาพในระดบั ภูมิปญ ญาเรือ่ งไหม

ประตสู ู ประเทศเพ่ือนบาน -เพิ่ม/ขยายตลาด ปานกลาง
ลาว และเวยี ดนาม และ นักทองเท่ยี ว ประตสู ูประเทศเพือ่ น
3. เงอ่ื นไขอปุ สงค
กัมพูชา วถิ ชี วี ิตฝงโขง ตางประเทศ บา นลาว และ
มศี กั ยภาพในระดบั มาก เวยี ดนาม และกมั พูชา
เมอื งทองเทยี่ วกีฬา (กลุม ตลาดนักทองเท่ยี ว วถิ ชี วี ิตฝง โขง

วถิ ชี ีวิต กลุมชาตพิ นั ธ บรรพ ไทย) เมืองทอ งเทยี่ วกีฬา

ชีวนิ ซากดกึ ดําบรรพ และ 4. อุตสาหกรรมท่ีเกย่ี ว วิถชี ีวิต กลมุ ชาตพิ ันธ

แหลง โบราณคดี โยงและการสนบั สนนุ มี บรรพชีวิน ซากดกึ

ศักยภาพในระดบั สูง ดาํ บรรพ และแหลง

โบราณคดี

2.6 ขอเสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาการทองเทยี่ ว
2.6.1 การพฒั นาระบบโครงสรา งพนื้ ฐานใหม คี วามครอบคลุมเสนการทองเท่ียวในเขตอารยธรรม

อสี านใต ทเ่ี ชื่อมโยงแหลง อารยธรรมอสี านใตท ง้ั 5 จงั หวดั
2.6.2 การใหค วามสาํ คญั ในนโยบายการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐานท่ีดีเพื่อใหสามารถ

รองรับและใหบริการแกนักทองเทีย่ วไดอยางเพียงพอ เชน จุดบริการรับสงและจุดจอดรถ หองน้ําที่สะอาด

สําหรับผสู งู อายุและผพู ิการ

2.6.3 การสรางความเชือ่ มัน่ ใหกับนักทองเที่ยวทัง้ ชาวไทยและชาวตางประเทศ ในเรือ่ งระบบ
รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เชน อาชญากรรม/มิจฉาชีพ ในแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติและ
แหลง ทอ งเทย่ี วทางวฒั นธรรม

2.6.4 การสรา งจุดเดน และสรางอตั ลกั ษณท ่ีเกิดจากทุนทางวัฒนธรรมของแตละพ้ืนท่ี เพื่อใหเกิด
ความจดจําและสรา งความโดดเดนลอกเลยี นไดยากในสินคา และการบริการ

2.6.5 การบรหิ ารจดั การระบบ ICT ใหม ีประสิทธิภาพ และสามารถใหบ ริการที่ครอบคลุมพื้นท่ีการทองเที่ยว
ทง้ั แหลง ทอ งเท่ียวทางธรรมชาติ และแหลงทองเท่ียวทางวัฒนธรรม รวมถึงสามารถสืบคนขอมูลในระบบฐานขอมูล

การทอ งเทยี่ ว เพอ่ื ใหนักทองเทยี่ ว ผูป ระกอบการ และนักวิชาการดานการทอ งเทย่ี วใชประโยชนจ ากขอมูลนี้ได

2.6.6 ควรมีนโยบายในการบูรณาการแผนพัฒนาการทองเท่ียวในแตละจังหวัดในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาการ
ทองเทย่ี วอารยธรรมอีสานใต เพื่อสามารถทีจ่ ะดงึ จดุ เดนและอัตลกั ษณข องแตล ะพื้นทมี่ าสรางเสนทางทองเท่ียว

สามารถแบงปนทรัพยากร และสามารถเช่ือมโยงเครือขายภาคีดานการทองเท่ียวเพ่ือใชในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร

การทอ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วอารยธรรมอสี านใตใหป ระสบผลสําเร็จไดเปาหมายไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ

19

บทท่ี 3
ยทุ ธศาสตรแ ละแนวทางการพฒั นา

การจัดทําแผนปฏิบัติการหรือทีเ่ รียกกันวา Action Plan เปนสิง่ สําคัญ ประกอบดวย จังหวัด
นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี โดยการวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวของ การ
วิเคราะหปจจัยแวดลอมทางการตลาด และการวิเคราะหปจจัยขีดความสามารถทางการแขงขัน สามารถสรุป
ความโดดเดนและศกั ยภาพของแตละจังหวัดท่คี ดั เลือกมาอยใู นเขตพฒั นาการทอ งเทีย่ ว ดงั น้ี

3.1 วิสยั ทัศน
“การทองเที่ยวแหงวิถชี ีวิตอีสานใตร วมสมยั เช่ือมโยง ลาว กมั พูชา และเวยี ดนาม”

คําอธิบายวิสัยทัศน : พัฒนาใหเขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต เปนเมืองทองเทีย่ วที่มีสีสัน
หลากหลายกิจกรรม เต็มเปยมไปดวยประวัติศาสตร วิถีชีวิตของการทองเที่ยว ทีผ่ สมผสานกับอัตลักษณทาง
วัฒนธรรมของอสี านใต และการเชือ่ มโยงเสน ทางการทอ งเที่ยวไปยงั ประเทศเพือ่ นบา น

3.2 วตั ถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาการทองเทีย่ วเมืองหลักและเมืองรองในเขตคลัสเตอรอารยธรรมอีสานใตใหมีสีสัน

แหงวิถีชีวิตคนอีสานใตรวมสมัย (Contemporary) ต้ังแตยุคดึกดําบรรพ ยุคกอนประวัติศาสตร และยุคประวัติศาสตร
มาจนถึงยคุ ปจ จุบันใหตอบสนองความตอ งการของนักทองเทีย่ ว ตลอดจนเชือ่ มโยงการทองเทีย่ วไปยังประเทศ
เพือ่ บา น ลาว กัมพูชา และเวียดนาม

2. เพือ่ สงเสริมและเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของเมืองทองเที่ยวหลักและเมือง
ทองเทย่ี วรองในเขตอารยธรรมอสี านใตใ หสามารถรองรับนกั ทองเท่ยี วทัง้ ตลาดในประเทศและตางประเทศ

3. เพือ่ สรางคุณภาพการบริการและพัฒนาทรัพยากรมนุษยในเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว
อารยธรรมอีสานใตใ หมศี กั ยภาพในการรองรบั นักทอ งเท่ียวไดทุกระดับ

4. เพือ่ สงเสริมตลาดนักทองเที่ยวคุณภาพทัง้ ในและตางประเทศ เจาะกลุม ตลาดนักทองเทีย่ ว
จากประเทศเพือ่ นบา น คือ ลาว เวยี ดนาม และกมั พชู าในการเดินทางทองเที่ยวในเขตอารยธรรมอีสานใต และ
สรา งกจิ กรรมทางการตลาดเพ่ือเพม่ิ วันพกั เฉลยี่ ของนักทอ งเท่ียว

5. เพื่อเชือ่ มโยงเมืองทองเทีย่ วหลักและเมืองทองเทีย่ วรองในเขตอารยธรรมอีสานใต และ
การเชือ่ มโยงนอกเขตอารยธรรมอีสานใต

20

3.3 เปาหมาย

1. เขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใตเปนเมืองทองเทีย่ วทีม่ ีสีสันสะทอนใหเห็นถึง
วิถีชีวิตและกิจกรรมการทองเที่ยวแบบอีสานใตรวมสมัย (Contemporary) ตัง้ แตยุคดึกดาบรรพ ยุคสัตวโลกลานป
ยุคกอนประวัติศาสตร และยุคประวัติศาสตร มาจนถึงวิถีชีวิตคนในยุคปจจุบัน โดยมุงใหเปนการทองเทีย่ ว
ทีต่ อบสนองความตองการของนักทองเทีย่ วไดอยางแทจริง ตลอดจนเชื่อมโยงการทองเทีย่ วไปยังประเทศ
เพอ่ื นบาน ลาว กมั พชู า และเวียดนาม

2. เขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตเ ปนจดุ หมายปลายทางหนึง่ ของการทองเทีย่ วที่
สะทอ นวถิ ีชมุ ชน และวฒั นธรรมทีน่ ักทองเท่ียวจะเลอื กเดนิ ทางมาเยือน

3. เขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใตเปนแหลงทองเท่ียวแบบ Sport City และสงเสริม
สขุ ภาพใหกับนกั ทอ งเทีย่ วไดอยางสมบรู ณ

4. เขตพัฒนาการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใตทีม่ ีเสนทางเชือ่ มโยงการทองเทีย่ วทัง้ 5 จังหวัด
และมีเสน ทางเชื่อมโยงการทองเทยี่ วสปู ระเทศเพ่อื นบาน

3.4 ประเด็นยุทธศาสตร

ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ 1 เรง สรา งความเขมแขง็ ของกลไกการขับเคลือ่ นคลสั เตอร การทองเทีย่ วในเขต
พฒั นาการทอ งเท่ยี วอารยธรรมอสี านใต

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 เรงพัฒนาระบบคมนาคม สาธารณูปโภค ความปลอดภัย และสิง่ อํานวย
ความสะดวกสําหรับนักทองเทีย่ ว และสรางความเชือ่ มัน่ ในภาพลักษณดานการทองเที่ยวแหงวิถีชีวิตอีสานใต
รว มสมยั

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 สรางกลยุทธนวัตกรรมดานการตลาดคุณภาพ ผานกระบวนการในการสือ่
ความหมายทางการทองเที่ยว (Tourism Interpretation) โดยอาศัยเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดแบบ
บูรณาการ และสรางภาพลักษณใหเกิดการรับรูว ิถีอารยธรรมอีสานใตแบบรวมสมัยบนฐานการมีสวนรวมทุก
ภาคีเครอื ขาย

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 ยกระดับอารยธรรมอีสานใต และภูมิปญ ญาทองถิ่น เพื่อเพ่ิมคุณคา (Value
Added) และมลู คาใหกบั ทรัพยากรการทองเท่ียวแหง วิถชี วี ิตอสี านใตร วมสมยั

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 เชือ่ มโยงการทองเทีย่ วทัง้ ในและนอกคลัสเตอร และเชือ่ มโยงสูป ระเทศ
เพือ่ นบาน ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เพือ่ เพิ่มระยะเวลาพํานักนานในคลัสเตอรโดยยกระดับกิจกรรมและ
เสนทางการทองเที่ยวแหง วิถชี วี ติ อสี านใตร ว มสมัย

21

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 เรงสรางความเขมแข็งของกลไกการขับเคลือ่ นคลัสเตอร การทองเที่ยวในเขต
พฒั นาการทอ งเท่ียวอารยธรรมอีสานใต

เปา ประสงคยุทธศาสตร
1. เกิดคลัสเตอรการทองเท่ียวของเขตพัฒนาการทองเท่ียวอารยธรรมอีสานใต และการขับเคล่ือน
คลสั เตอร

2. รอ ยละของความพึงพอใจของนักทองเท่ียวทเ่ี ดินทางมาทองเที่ยวในเขตอารยธรรมอีสานใต
3. รอยละของความพึงพอใจของผทู เ่ี กย่ี วของกับการทอ งเที่ยวทไ่ี ดร บั การพัฒนา
4. จาํ นวนบุคลากรดานการทองเทีย่ วทุกภาคสว นไดร ับการพฒั นา
5. จํานวนหลักสูตรการอบรมและพัฒนาทุนมนุษยในอุตสาหกรรมทองเที่ยว
กลยทุ ธ
กลยทุ ธท ่ี 1.1 สรางความเขม แข็งและกลไกการขับเคล่ือนคลสั เตอรก ารทองเที่ยวของเขต
พัฒนาการทองเทยี่ วอารยธรรมอสี านใต

กลยุทธที่ 1.2 พฒั นาและเชื่อมโยงคลัสเตอรทเ่ี กย่ี วขอ งกับการทองเทย่ี วกของเขตอารยธรรม
อสี านใต เพ่ือยกระดับการพัฒนาการทองเท่ยี วใหม ีศกั ยภาพ

กลยุทธท ่ี 1.3 การสรางและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษยในคลสั เตอรอารยธรรมอีสานใตใหมีมาตรฐาน
ดานฝมือ ทักษะในการใหบริการนักทองเที่ยวทัง้ ในและตางประเทศไทย ตลอดจนศักยภาพในการส่ือสารระหวาง

วัฒนธรรม (Cross Cultural Communication) เพ่อื สรางความประทับใจใหกับนักทอ งเทีย่ วไดท กุ กลุม

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 เรงพัฒนาระบบคมนาคม สาธารณูปโภค ความปลอดภัย และสิ่งอํานวยความสะดวก
สาํ หรบั นกั ทองเทยี่ ว และสรางความเชอื่ มนั่ ในภาพลกั ษณดานการทองเที่ยวแหงวถิ ชี ีวิตอีสานใตร ว มสมัย

เปา ประสงคย ทุ ธศาสตร
1. ความพงึ พอใจของนกั ทองเท่ียวทีม่ าทอ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ งเที่ยวอารยธรรมอีสานใต
2. การเพ่มิ ขน้ึ ของรายไดจ ากการทองเท่ยี ว
3. จาํ นวนการเพมิ่ ขน้ึ ของนักทอ งเท่ียวคณุ ภาพท่ีเดนิ ทางทอ งเท่ยี วภายในกลุมอารยธรรมอีสานใต
4. จาํ นวนโครงสรา งพืน้ ฐาน ระบบการคมนาคมทางบก ทางอากาศ และระบบสาธารณูปโภค
5. จาํ นวนของสง่ิ อานวยความสะดวกเพอ่ื การทองเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี วอารยธรรมอสี านใต
กลยุทธ
กลยุทธที่ 2.1 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน สาธาณูปโภค และสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อ
การรองรับการเปนเมืองทองเที่ยวหลัก จังหวัดนครราชสีมา และเมืองทองเทีย่ วรอง จังหวัดอุบลราชธานี

บุรีรัมย สุรินทร และศรสี ะเกษ ตามความสามารถทางการแขง ขนั

กลยุทธที่ 2.2 การพัฒนาขดี ความสามารถทางการแขงขันของเมืองทองเที่ยวดานความปลอดภัย
(Safety and Security) ของการเดนิ ทางทองเที่ยวโดยรถยนต

กลยุทธท ่ี 2.3 การพัฒนาระบบการเดินทางทางอากาศของเมืองจังหวัดนครราชสีมา อุบลราชธานี และ
บุรีรัมย

22

กลยุทธที่ 2.4 การพัฒนาระบบการเดินทางทางรถไฟของจังหวัดนครราชสีมา อุบลราชธานี บุรีรัมย
สุรินทร และศรสี ะเกษ และการเช่อื มโยงการเดนิ ทางไปสูประเทศเพอื่ นบา น

กลยทุ ธท่ี 2.5 การพัฒนาระบบ ICT Infrastructure เพอื่ การทองเทยี่ วระดบั สากล
กลยุทธท ่ี 2.6 การจดั การปญหาดานการทบั ซอ นพื้นทใ่ี นเขตพฒั นาการทอ งเทีย่ วอารยธรรมอสี านใต

ประเดน็ ยุทธศาสตรท ่ี 3 สรา งกลยุทธนวตั กรรมดานการตลาดคณุ ภาพ ผานกระบวนการในการสื่อความหมาย
ทางการทองเที่ยว (Tourism Interpretation) โดยอาศัยเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ
และสรา งภาพลักษณใ หเกดิ การรบั รูวิถีอารยธรรมอีสานใตแบบรวมสมัยบนฐานการมสี วนรว มทกุ ภาคเี ครือขา ย

เปาประสงคย ุทธศาสตร
1. รอ ยละของความพงึ พอใจของนกั ทองเทย่ี วทีม่ าทอ งเทีย่ ว
2. การเพมิ่ ข้ึนของรายไดร วมจากการทอ งเทย่ี วของเขตพฒั นาการทอ งเทีย่ วอารยธรรมอสี านใต
3. การกระจายรายไดจ ากการทอ งเทย่ี วไปยังจงั หวดั รอง ไดแ ก สุรินทร ศรสี ะเกษ
4. เพ่ิมจํานวนนักทองเทยี่ วทมี่ าเที่ยวซาํ้ ในเขตอารยธรรมอสี านใต
5. รักษาและสืบทอดภาพลกั ษณก ารทองเทยี่ วทางวัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตรข องอารยธรรมอสี านใต
กลยทุ ธ
กลยุทธที่ 3.1 การพัฒนาและการสงเสริมการตลาดการทองเทีย่ วอารยธรรมอีสานใต ท้ังท่ีเปน
นักทอ งเทย่ี วกลมุ ตลาดหลัก และนักทองเทีย่ วกลุม เฉพาะ (Niche Market) โดยเนนการเพิ่มวันพํานักและเพิ่ม
คา ใชจายเฉลี่ยตอหวั ของกลุม นกั ทองเท่ยี วคณุ ภาพทง้ั ชาวไทยและตา งประเทศ
กลยุทธที่ 3.2 สรางการรับรูในอัตลักษณทางการทองเที่ยวของอารยธรรมอีสานใตที่สะทอน
ภาพลักษณการเปนเมืองทองเทีย่ วแหงวิถีชีวิตอีสานใตรวมสมัย เช่ือมโยง ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ตลอดจน
อัตลักษณภาพลกั ษณท างการทองเทีย่ วทโ่ี ดดเดนของแตละจังหวัดไปยงั นกั ทองเท่ยี วกลมุ เปา หมาย

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรที่ 4 ยกระดับอารยธรรมอีสานใต และภูมิปญญาทองถิน่ เพื่อเพิม่ คุณคา (Value Added)
และมลู คาใหกับทรัพยากรการทองเทยี่ วแหง วิถชี วี ติ อีสานใตร วมสมัย

เปาประสงคยุทธศาสตร
1. ความพงึ พอใจของ นกั ทองเทย่ี วทีม่ าทอ งเทยี่ ว
2. การเพ่ิมขึน้ ของรายไดจากการทอ งเท่ยี ว
3. จาํ นวนการเพิ่มข้นึ ของนกั ทอ งเทยี่ วคณุ ภาพทเี่ ดินทางทอ งเที่ยวภายในกลมุ อารยธรรมอสี านใต
4. จาํ นวนของแหลงทองเที่ยวและทรัยพากรทางการทองเท่ียวในเขตอารยธรรมอีสานใตไดรับการ
พัฒนาสกู ารเปนเมืองทองเท่ยี วทางวิถชี วี ิตอสี านใตรว มสมัย
5. การอนุรักษวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาและประวัตศิ าสตรอ สี านใต

23

กลยทุ ธ
กลยุทธท่ี 4.1 การเพิม่ คุณคาและมูลคาใหกับทรัพยากรการทองเที่ยวใหกับเมืองทองเทีย่ วหลัก
จังหวัดนครราชสีมา และเมืองทองเที่ยวรองอุบลราชธานี บุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ สูการเปนเมือง
ทอ งเทย่ี ววิถีชีวิตอสี านใตรวมสมยั เชื่อมโยงกับประเทศเพอื่ นบานลาว กมั พชู าและเวียดนาม
กลยุทธที่ 4.2 การพัฒนาและสรางสรรคการจัดการทองเทีย่ วโดยชุมชนตามอัตลักษณ และ
วิถีชีวิตวัฒนธรรมอสี านใตรว มสมัย โดยเชอื่ มโยง ลาว กัมพูชา และเวยี ดนาม
กลยุทธที่ 4.3 การพัฒนาและสงเสริมใหแหลงประวัติศาสตรและอารยธรรมขอมไดรับมาตรฐาน
รางวลั ในระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธที่ 4.4 การสงเสริมและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการการทองเทีย่ ว เพ่ือเพ่ิม
ขีดความสามารถดานการแขงขันของผูประกอบการการทองเที่ยว ตลอดจนสงเสริมความสําคัญของมาตรฐาน
การทองเทยี่ วในกลุมผปู ระกอบการ เพื่อยกระดับคุณภาพการทอ งเที่ยววถิ ีอารยธรรมอสี านใตร วมสมยั
กลยทุ ธที่ 4.5 สง เสรมิ กระบวนการมสี ว นรว มในการพฒั นาการทอ งเทย่ี ว และการจดั การการทองเท่ียว
ของหนวยงานปกครองทองถิ่นในเขตอารยธรรมอีสานใต

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 เชื่อมโยงการทองเทีย่ วทัง้ ในและนอกคลัสเตอร และเชือ่ มโยงสูประเทศเพื่อนบาน
ลาว กัมพูชา และเวียดนาม เพื่อเพิม่ ระยะเวลาพํานักนานในคลัสเตอรโดยยกระดับกิจกรรมและเสนทาง
การทองเทีย่ วแหงวิถชี ีวิตอีสานใตรวมสมัย

เปาประสงคยทุ ธศาสตร
1. เพ่มิ ระยะเวลาพาํ นักในเขตพฒั นาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใต
2. เชื่อมโยงการทองเที่ยวกันภายในเขตอารยธรรมอีสานใต ระหวางคลัสเตอรและ เช่ือมโยงสู
ประเทศเพือ่ นบาน ลาว กมั พชู า และเวียดนาม
3. ความพงึ พอใจของ นกั ทองเท่ยี วทม่ี าทอ งเที่ยวในเขตอารยธรรมอสี านใต
4. เกิดเสน ทางการทองเที่ยวเช่อื มโยง
กลยุทธ
กลยุทธ 5.1 การเชื่อมโยงเสนทางการทองเทีย่ วและระบบการจัดการทองเทีย่ วรวมกันของ
จังหวัดในเขตพัฒนาการทองเทยี่ วอารยธรรมอีสานใต
กลยุทธ 5.2 การเชื่อมโยงเสนทางการทองเทีย่ วและธุรกิจเกือ้ หนุนในอุตสาหกรรมทองเทีย่ วของ
เขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมอีสานใตกับภายนอกเขต และเชื่อมโยงไปยังประเทศเพือ่ นบาน ลาว
กัมพูชา และเวียดนามเพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพของเมืองทองเทย่ี วใหก ับเขตพฒั นาการทองเท่ียวอารยธรรมอสี านใต

24

บทท
แผนงาน /
(แผนงาน / โครงการสาํ คญั

ท่ี 4
/ โครงการ
ญลาํ ดบั สงู และแผนงาน)

25

แผนปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาการทอ งเท่ียว ภายในเ
แผนงาน/โครงกา

ยทุ ธศาสตรท่ี 1 : เรงสรา งความเขมแขง็ กลไกการขับเคลอื่ นคลัสเตอรการทองเทยี่ ว

ลํา แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค

ดับ

59

1 โครงการจดั ตงั้ 1.โครงการประชุมสัมมนาเชิง 1. เพื่อจดั ตคั้ ณะกรรมการ 2
คณะกรรมการพฒั นาเขต ปฏิบัติการคณะกรรมการและ พฒั นาเขตพืน้ ท่อี ารยธรรม

พน้ื ท่ีอารยธรรมอสี านใต คณะทํางานพฒั นา อสี านใต

และสนับสนนุ ใหเกิด เขตอารยธรรมอีสานใต โดยการ 2. เพ่ือใหเ กิดหนว ยงาน
การขบั เคล่ือนการ ประชุมสัมมนาและศึกษาดูงานเพือ่ สนบั สนนุ การขับเคล่อื น

ดาํ เนนิ งานของคลัสเตอร สรา งแนวทางการดาํ เนิน ยทุ ธศาสตรใ หมี

ใหมปี ระสิทธภิ าพ การของคลัสเตอรใหเกิดการ ประสิทธภิ าพ

บรู ณาการและเชอ่ื มโยงกัน

2 โครงการพัฒนาบุคลากร 1.โครงการพัฒนาศักยภาพและเปด 1. เพอื่ สง เสรมิ และ 25
ดา นการทอ งเท่ยี วของ มุมมองดานการทองเที่ยวใหแ กผนู าํ ขับเคลือ่ นใหคลัสเตอร

เขตพฒั นาการทอ งเท่ยี ว และผูประกอบการ ทอ งเท่ยี วในเขตอารย

อารยธรรมอสี านใต ธุรกิจการทองเทยี่ วในการบริหาร ธรรมอสี านใตใหเ กดิ การ

จดั การดา นการทองเท่ยี วทงั้ ภาครัฐ ทาํ งานอยา งเปนระบบ

ภาคเอกชนในเขตอีสานใต 2. เพ่ือสงเสรมิ ใหค ลัส

2.โครงการพัฒนาบุคลากรดานการ เตอรทอ งเท่ยี วในเขต
ทองเท่ยี ว อารยธรรมอีสานใตใหเ กดิ

ประกอบดว ย การทาํ งานอยา งบรู ณา

การรวมกับคลสั เตอรอ่ืนๆ

เขตพัฒนาการทอ งเท่ียวอารยธรรมอีสานใต
ารสาํ คญั ลาํ ดับสูง

วในกลมุ จงั หวดั อารยธรรมอีสานใต

งบประมาณ ผลทคี่ าดวา จะไดร บั / หนว ยงานที่ รูปแบบการ ความเหมาะสม
ตวั ชวี้ ดั รบั ผดิ ชอบ ลงทนุ
(ลา นบาท) √ .. 1. สอดคลอ งกบั
60 61 62 63 12 3 แผนฯ
√ . √ ...2. สอดคลอ งกับ
2 2 2 2 1. ความพึงพอใจของ สทกจ. 5 จหั วัด ยทุ ธฯ กระทรวง/
สมาชิกในคลัสเตอรอ ารย √ หนวยงาน
. √ ...3. มคี วามสาํ คญั
ธรรมอสี านใตไ มน อ ยกวา สงู
. √ .. 4. มีความ
รอยละ 85 พรอมฯ
2. จํานวนครั้งของการ √ .. 5. ความ
ประชมุ และการดาํ เนนิ เหมาะสมขอ
งบประมาณ
กิจกรรมรว มของเครอื ขา ย
√ .. 1. สอดคลองกับ
ไมนอ ยกวา 4 คร้งั ตอป แผนฯ
. √ ...2. สอดคลอ งกับ
25 25 25 25 1. บคุ ลากรทเ่ี ปน สทกจ. 5 จหั วัด ยทุ ธฯ กระทรวง/
หนว ยงานภาครฐั และ ตาํ รวจทอ งเท่ียว หนวยงาน
. √ ...3. มคี วามสาํ คญั
องคก รปกครองสว น ตํารวจภธู รจังหวัด สงู
. √ .. 4. มีความ
ทอ งถ่นิ เครือขายที่ พรอมฯ

เกี่ยวขอ งดา นการ

ทองเที่ยวไดรับการพัฒนา

ไมนอ ยกวา 2,000 คน
ในคลสั เตอรอ ารยธรรม

อสี านใต

26

ลํา แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค
ดับ

59

- อบรมอาสาสมัครมัคคุเทศก ทีเ่ กีย่ วขอ งในพ้ืนที่
- อบรมการเปน เจาบานทีด่ ี
- อบรมพฒั นาทกั ษะ
ภาษาตา งประเทศ
- อบรมอาสาสมัครชว ยเหลอื
นกั ทอ งเที่ยว
- อบรมพัฒนาเยาวชนเพอ่ื
ประชาสัมพันธด า นการทอ งเที่ยว
- อบรมพฒั นาคุณภาพของ
อาสาสมัครตาํ รวจทอ งเทย่ี วเพือ่
เตรียมความพรอ มสอู าเซียน
- อบรมพัฒนามาตรฐานและทกั ษะ
วิชาชพี ดานการทอ งเท่ยี ว
3.โครงการอบรมการพฒั นา
ศกั ยภาพบคุ ลากรภาครฐั และ
องคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ เพ่อื
สรา งเครอื ขายในการสงเสรมิ การ
ทองเทยี่ วอารยธรรมอสี านใต
ประกอบดว ย
- อบรมครู กศน. และอาชวี ศึกษา
เพือ่ สรางเครือขา ยดานการ
ทอ งเที่ยว
- อบรมการบุคลากรองคกร
ปกครองสวนทอ งถิ่นเพ่อื สราง
เครือขายดานการทองเท่ยี ว
- อบรมตาํ รวจเพอื่ สรางเครอื ขาย
ดานความปลอดภัยในการทองเที่ยว
- อบรมสายตรวจจักรยานในแหลง
ทอ งเท่ยี วทส่ี าํ คญั

งบประมาณ ผลท่ีคาดวาจะไดร บั / หนว ยงานท่ี รูปแบบการ ความเหมาะสม
ตวั ชว้ี ัด รบั ผดิ ชอบ ลงทนุ
(ลา นบาท) √ .. 5. ความ
60 61 62 63 12 3 เหมาะสมขอ
งบประมาณ
2. ความพึงพอใจของ
ผูเขา รวมการพฒั นา

ไมนอยกวา รอยละ 85

27

ลํา แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค
ดับ

59

- อบรมหลักสูตรกองรอยควบคมุ
ฝูงชนหญิง และการรักษาความ
ปลอดภยั บคุ คลสาํ คญั
- อบรมการเพมิ่ ทกั ษะการใชอาวุธ
ปนประจํากายของขาราชการ
ตํารวจในการรักษาความ
ปลอดภยั นกั ทองเทย่ี ว

3 โครงการพฒั นาเยาวชน 1.อบรมคา ยเยาวชนสง เสรมิ การ เพอื่ สนบั สนนุ การ 2
เพื่อการทอ งเทยี่ วอารย ทอ งเทย่ี วอารยธรรมอีสานใต ดําเนินงาน และเครือขาย
ธรรมอสี านใต การทองเท่ียวโดยชมุ ชน
(CBT) ในคลสั เตอรอ ารย
ธรรมอสี านใต

จํานวน 3 โครงการ 5 กจิ กรรม รวมงบประมาณ 29

งบประมาณ ผลทคี่ าดวา จะไดร ับ/ หนว ยงานท่ี รูปแบบการ ความเหมาะสม
(ลา นบาท) ตวั ช้ีวดั รับผิดชอบ ลงทนุ

60 61 62 63 12 3

2 2 2 2 1. เยาวชนดานการ สทกจ. 5 จงั หวัด √ √ .. 1. สอดคลอ งกบั
ทอ งเทย่ี วไดรบั การพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชฎั แผนฯ
. √ ...2. สอดคลอ งกบั
ไมนอ ยกวา 500 คน 5 จงั หวัด ยทุ ธฯ กระทรวง/
ในคลสั เตอรอ ารยธรรม หนว ยงาน
. √ ...3. มีความสาํ คญั
อสี านใต สงู
. √ .. 4. มคี วามพรอ มฯ
2. ความพึงพอใจของ √ .. 5. ความเหมาะสม
ผเู ขา รว มการพฒั นา ของบประมาณ

ไมนอ ยกวา รอยละ 85

29 29 29 29

28

ยุทธศาสตรท่ี 2 : เรงพัฒนาระบบคมนาคม สาธารณูปโภค ความปลอดภัย และส
ดา นการทอ งเท่ียวแหง วิถีชีวติ อสี านใตรวมสมยั

ลําดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วตั ถุประสงค งบประม

59 60

1 โครงการสรางศูนยบ รกิ าร 1.สรา งศนู ยบ ริการทอ งเทีย่ ว เพ่อื พัฒนาระบบ 16 16
บรกิ ารนักทอ งเที่ยวเขต ทางเขา ดา นชองสะงํา (สีแ่ ยกนา สารสนเทศเพอื่ การ
อารยธรรมอสี านใต ทองเทีย่ วและการจัดตั้ง
รวมเปน เงนิ เจรญิ ) ศนู ยบรกิ ารขอ มูลการ

46,000,000 บาท ทองเที่ยวแกนกั ทองเทยี่ ว
ในเขตพฒั นา

การทองเทีย่ วอารยธรรม

อสี านใต

2.สรา งศูนยบ รกิ ารนักทองเท่ียว เพ่อื พฒั นาระบบ 5 5
ในพืน้ ท่สี าํ นักงานการทอ งเทย่ี ว สารสนเทศเพื่อการ
และกีฬาจังหวดั อบุ ลราชธานี ทอ งเท่ียวและการจดั ต้ัง
เสน ทางวารินฯ-พบิ ลู ฯ เชอื่ มโยง ศนู ยบ ริการขอมูลการ
ดา นชายแดนเมก็ และประเทศ ทองเทย่ี วแกนกั ทอ งเท่ียว
เพอ่ื นบา น สถานท่ีจดั แสดงและ ในเขตพัฒนาการ
จาํ หนา ยส้ินคา ท่ีระลึกทางการ ทองเทย่ี วอารยธรรม
ทองเท่ยี วทีเ่ ปน อัตลกั ษณของ อสี านใต
จงั หวัดอุบลราชธานีและอีสานใต

สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับนักทองเที่ยว และสรางความเชือ่ มัน่ ในภาพลักษณ

มาณ (ลานบาท) ผลท่คี าดวาจะไดรบั /ตัวช้ีวดั หนว ยงานที่ รูปแบบ ความ
รบั ผิดชอบ การลงทนุ เหมาะสม
61 62 63
1. ความพงึ พอใจของนักทอ งเทีย่ วที่มา อําเภอขขันธ 12 3 √ .. 1. สอดคลอ ง
16 ทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ งเท่ยี ว จงั หวัดศรีสะเกษ √ กบั แผนฯ
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอ ยละ . √ ...2. สอดคลอ ง
5 สํานกั งาน √ กับยุทธฯกระทรวง/
85 ทองเทยี่ ว หนว ยงาน
2. การเพิ่มขน้ึ ของรายไดจากการ และกฬี าจงั หวดั .......3. มคี วามสาํ คญั
ทอ งเท่ยี ว อบุ ลราชธานี สงู
3. จาํ นวนการเพ่ิมข้นึ ของนกั ทอ งเที่ยว .......4. มีความพรอม
คณุ ภาพท่เี ดนิ ทางทองเท่ยี วภายในกลุม ฯ
อารยธรรมอสี านใต …….5. ความ
4.จํานวนของส่งิ อาํ นวยความสะดวกเพอ่ื เหมาะสมขอ
การทองเทย่ี วในเขตพฒั นาการทอ งเท่ียว งบประมาณ
อารยธรรมอสี านใต
√ .. 1. สอดคลอ ง
1. ความพงึ พอใจของนกั ทองเทยี่ วทม่ี า กบั แผนฯ
ทองเที่ยวในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี ว . √ ...2. สอดคลอ ง
อารยธรรมอีสานใตไ มนอ ยกวารอ ยละ กับยุทธฯกระทรวง/
หนวยงาน
85 .......3. มคี วามสาํ คญั
2. การเพมิ่ ขึ้นของรายไดจากการ สงู
ทอ งเทีย่ ว .......4. มีความพรอม
3. จาํ นวนการเพม่ิ ข้นึ ของนักทอ งเทย่ี ว ฯ
คณุ ภาพท่ีเดนิ ทางทอ งเทีย่ วภายในกลุม …….5. ความ
อารยธรรมอสี านใต เหมาะสมขอ
4.จาํ นวนของส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพอื่ งบประมาณ
การทองเทย่ี วในเขตพัฒนาการทอ งเทยี่ ว
อารยธรรมอสี านใต

29

ลาํ ดับ แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค งบประม

3.การจดั ตงั้ ศนู ยบรกิ าร เพอ่ื พฒั นาระบบ 10 10

นกั ทองเท่ยี ว ในอาคารหอ สารสนเทศเพื่อการ

เกียรติยศ ศาลากลางจังหวัด ทอ งเทย่ี วและการจดั ต้ัง

บรุ ีรมั ยห ลงั เกาใหเปน First ศูนยบริการขอมูลการ

Destination ทางการทองเท่ยี ว ทองเที่ยวแกนกั ทองเทยี่ ว
เสนทางอารยธรรมอีสานใตแ ละ ในเขตพัฒนา

ประเทศเพื่อนบา นเปน สถานท่จี ัด การทอ งเท่ียวอารยธรรม

แสดงและจําหนา ยสนิ คา ทร่ี ะลกึ อสี านใต

ทางการทองเที่ยวที่เปนอัตลกั ษณ

ของจังหวัดบุรีรัมยและอีสานใต

จัดทําระบบใหบรกิ ารขอมลู ดาน

การทองเท่ียวท่ีทันสมยั มีการ

นาํ เสนอขอ มูลทางการทอ งเทยี่ ว

อารยธรรมอสี านใตแ ละเช่อื มโยง

ประเทศเพือ่ นบา น และ มีผใู ห

บรกิ ารประจาํ ศนู ย

4.จัดต้งั ศนู ยบ รกิ ารขอมลู การ เพื่อพฒั นาระบบ 2.4 2.4
ทองเทย่ี วเขตอาํ เภอเมือง จงั หวัด สารสนเทศเพอ่ื การ

นครราชสีมา แกน กั ทอ งเที่ยวใน ทองเทยี่ วและการจัดตัง้

เขตจังหวัดนครราชสีมาและเขต ศนู ยบรกิ ารขอ มลู การ

อารยธรรมอสี านใต ทองเทยี่ วแกนกั ทองเทย่ี ว

ในเขตพฒั นา

การทองเที่ยวอารยธรรม

อสี านใต

มาณ (ลานบาท) ผลท่ีคาดวา จะไดรบั /ตัวชวี้ ดั หนว ยงานท่ี รูปแบบ ความ
รบั ผดิ ชอบ การลงทนุ เหมาะสม
10 1. ความพึงพอใจของนักทองเทย่ี วทีม่ า
ทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทอ งเทย่ี ว -สนง ทอ งเทย่ี ว √ √ .. 1. สอดคลอ ง
อารยธรรมอสี านใตไมนอยกวา รอยละ และกฬี าจงั หวัด กบั แผนฯ
85 -เทศบาลเมอื ง
2. การเพ่ิมข้ึนของรายไดจ ากการ บรุ ีรัมย . √ ...2. สอดคลอ ง
ทอ งเที่ยว -สํานกั งาน กับยุทธฯกระทรวง/
3. จํานวนการเพิ่มขึน้ ของนกั ทอ งเทยี่ ว จังหวดั บุรีรมั ย หนวยงาน
คณุ ภาพท่ีเดนิ ทางทองเท่ยี วภายในกลมุ .......3. มคี วามสาํ คญั
อารยธรรมอสี านใต สงู
4.จํานวนของส่งิ อาํ นวยความสะดวกเพอื่ .......4. มีความ
การทอ งเทยี่ วในเขตพัฒนาการทอ งเท่ยี ว พรอมฯ
อารยธรรมอสี านใต …….5. ความ
เหมาะสมขอ
งบประมาณ

2.4 1. ความพงึ พอใจของนักทองเทีย่ วท่ีมา เทศบาลนคร √ √ .. 1. สอดคลอ ง
ทองเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ งเที่ยวอารย นครราชสีมา กบั แผนฯ

ธรรมอีสานใตไมนอ ยกวารอ ยละ 85 . √ ...2. สอดคลอ ง
2. การเพ่มิ ข้นึ ของรายไดจ ากการ กับยุทธฯกระทรวง/
ทอ งเทย่ี ว หนวยงาน
3. จาํ นวนการเพ่มิ ขึ้นของนกั ทอ งเท่ียว .......3. มคี วามสาํ คญั
คุณภาพทเ่ี ดินทางทอ งเทยี่ วภายในกลมุ สูง
อารยธรรมอสี านใต .......4. มีความพรอม
4.จาํ นวนของสิง่ อาํ นวยความสะดวกเพอื่ ฯ
การทอ งเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเทยี่ ว …….5. ความ
อารยธรรมอสี านใต เหมาะสมขอ
งบประมาณ

30

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค งบประม

5.ศูนยบ ริการนกั ทองเท่ยี วศนู ย เพ่อื พฒั นาระบบ 4.6 4.6
ประสานงานเขาใหญ- ปากชอ ง
อ.ปากชอง จ.นครราชสีมาเพ่ือ สารสนเทศเพ่อื การ
รองรบั นกั ทอ งเทย่ี ว
ในเขตจังหวดั นครราชสมี าและ ทอ งเทย่ี วและการจัดตั้ง
เขตอารยธรรมอสี านใต
ศูนยบริการขอมูลการ

ทองเทยี่ วแกนกั ทอ งเทย่ี ว

ในเขตพัฒนา

การทอ งเทย่ี วอารยธรรม

อสี านใต

6.โครงการพฒั นาระบบ เพื่อพัฒนาระบบ 8 8
สาธารณูปโภคดา นสิง่ แวดลอม สารสนเทศเพือ่ การ
เพ่อื รองรับการพัฒนาแหลง ทอ งเทย่ี วและการจัดตง้ั
ทองเทีย่ วทางธรรมชาติ ศูนยบ รกิ ารขอมูลการ
ทอ งเที่ยวแกนกั ทองเท่ียว
ในเขตพฒั นา
การทอ งเทย่ี วอารยธรรม
อสี านใต

2 โครงการสรา งและ 1. ชือ้ หองสุขาเคล่ือนท่ี จํานวน 15 เพอ่ื สรา งและปรับปรงุ 142 142
ปรบั ปรงุ สงิ่ อํานวยความ คั นคั นละ 9,500,000 บาท สิ่งอํานวยความสะดวก .5 .5
สะดวกหอ งนา้ํ สาํ หรับ ประกอบดว ย หอ งน้าํ สําหรับนักทองเทีย่ ว

นกั ทอ งเท่ียว ผพู ิการ และ - ตวั รถชนดิ 6 ลอ ระบายความรอน ผูพิการ และผูสูงอายุใน
ผสู ูงอายใุ นแหลงทอ งเทยี่ ว ดวยนํา้ แ ห ล ง ท อ ง เ ที่ ย ว ท า ง

ทางธรรมชาติ และแหลง - ขนาดกาํ ลังไมน อยกวา ธ ร รม ชา ติ แ ล ะ แ ห ล ง
ทอ งเทยี่ วทางวัฒนธรรม 200 แรงมา ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม

ของจงั หวดั ในเขตพฒั นา - ภายในมหี องสุขา ไมนอ ยกวา ข อ ง จั ง ห วั ด ใ น เ ข ต
การทองเทีย่ วอารยธรรม 10 หอ ง พัฒนาการทองเท่ียวอารย

มาณ (ลานบาท) ผลท่คี าดวา จะไดร ับ/ตวั ชี้วัด หนว ยงานที่ รูปแบบ ความ
รับผดิ ชอบ การลงทนุ เหมาะสม
4.6 1. ความพงึ พอใจของนกั ทอ งเทย่ี วทม่ี า
ทอ งเทย่ี วในเขตพฒั นาการทองเทย่ี วอารย -องคการบริหาร √ √ .. 1. สอดคลอ ง
8 ธรรมอีสานใตไมนอ ยกวารอยละ 85 สวนทอ งถิน่ กบั แผนฯ
2. การเพ่ิมขึ้นของรายไดจ ากการ √ . √ ...2. สอดคลอ ง
142 142 142 ทองเทย่ี ว สนง.ทรพั ยากรฯ กับยุทธฯกระทรวง/
.5 .5 .5 3. จํานวนการเพิ่มขึ้นของนักทอ งเทยี่ ว จงั หวดั √ หนวยงาน
คณุ ภาพท่เี ดนิ ทางทอ งเทยี่ วภายในกลุม นครราชสมี า .......3. มคี วามสาํ คญั
อารยธรรมอสี านใต สูง
4.จาํ นวนของส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพอ่ื 1.อ ง ค ก า ร .......4. มีความ
การทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเทยี่ ว บรหิ ารสว น พรอมฯ
อารยธรรมอสี านใต จังหวดั …….5. ความ
2. เทศบาลนคร เหมาะสมขอ
1. ความพงึ พอใจของนักทอ งเท่ยี วทีม่ า งบประมาณ
ทองเท่ียวในเขตพฒั นาการทองเทย่ี วอารย √ .. 1. สอดคลอ งกบั
ธรรมอสี านใตไ มน อ ยกวา 85% แผนฯ
2. การเพ่มิ ขน้ึ ของรายไดจ ากการทอ งเท่ยี ว . √ ...2. สอดคลอ งกบั
3. จํานวนการเพม่ิ ขน้ึ ของนักทอ งเท่ยี ว ยทุ ธฯกระทรวง/
คณุ ภาพท่เี ดนิ ทางทองเทยี่ วภายในกลุม หนว ยงาน
อารยธรรมอสี านใต .......3. มคี วามสาํ คญั สงู
4.จาํ นวนของสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเพอ่ื การ .......4. มคี วามพรอ มฯ
ทอ งเท่ยี วในเขตพัฒนาการทองเทยี่ วอารย …….5. ความเหมาะสม
ธรรมอสี านใต ของบประมาณ
1. ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวท่ีมา
ทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว √ .. 1. สอดคลอ งกบั
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ แผนฯ
85 . √ ...2. สอดคลอ งกบั
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ ยทุ ธฯกระทรวง/
ทอ งเท่ยี ว 10% หนว ยงาน
3.จาํ นวนของสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเพือ่ .......3. มคี วามสาํ คญั สงู
การทอ งเท่ยี วในเขตพัฒนาการทองเที่ยว .......4. มคี วามพรอ มฯ
อารยธรรมอีสานใต จํานวน 15 คนั …….5. ความเหมาะสม
ของบประมาณ

31

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค งบประม

อสี านใต รวมเปนเงนิ ธรรมอสี านใต นครราชสีมา
155,500,000 บาท
บุรีรัมย สุรินทรศรีสะเกษ

และอบุ ลราชธานี

2.โครงการพัฒนาและปรับปรุง เพื่อสรางและปรับปรุง 7 7
หองนํ้า/หองสุขาในแหลงอุทยาน สิง่ อํานวยความสะดวก 6 6
ประวัติศาสตรทองเท่ียวโดยการ ห อ ง น้ ํา สํ า ห รั บ

ใชสุขภัณฑที่ไดมาตรฐานเพือ่ นกั ทอ งเท่ยี ว ผูพิการ และ

รบั รองพนมรุงนักทอ งเทีย่ วไดแ ก ผูสูงอายใุ นแหลงทอ งเท่ียว

- หองน้าํ อุทยานประวัติศาสตร ทางธรรมชาติ และแหลง
พนมรุง ตําบลตาเปก อําเภอ ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม

เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย ข อ ง จั ง ห วั ด ใ น เ ข ต

จาํ นวน 6 แหง พฒั นาการทองเที่ยวอารย

- หองนํ้าปราสาทเมืองตํ่า ตําบล ธ ร ร ม อี ส า น ใ ต
จระเขมาก อําเภอประโคนชัย นคร รา ชสี มา บุรี รัม ย

จงั หวดั บรุ ีรมั ย จํานวน 2 แหง สุรินทรศรีสะเกษ และ
อบุ ลราชธานี

3.โครงการสรา งหองนํ้า/หองสุขา เพื่อสรางและปรบั ปรุง
สาธารณะในแหลงทองเทีย่ วตาม สิ่งอํานวยความสะดวก

มาตรฐานกรมการทองเที่ยว ห อ ง น้ ํา สํ า ห รั บ

บรเิ วณถนนเซราะกราว นักทองเทยี่ ว ผูพ ิการ และ

อําเภอเมืองบุรีรัมย จังหวัด ผสู งู อายใุ นแหลง ทองเที่ยว

บุรีรัมย ซึง่ เปนจุดแลนดมารคที่ ทางธรรมชาติ และแหลง

แสดงอตั ลักษณข องเมืองบุรรี มั ย ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม

ของจังหวัด

ใ น เ ข ต พั ฒ น า ก า ร

ทองเทย่ี วอารยธรรมอสี าน

ใต นครราชสีมา บุรีรัมย

สุรินทรศรีสะเกษ และ

อุบลราชธานี

มาณ (ลา นบาท) ผลทีค่ าดวาจะไดรับ/ตวั ชี้วัด หนว ยงานที่ รูปแบบ ความ
รับผิดชอบ การลงทนุ เหมาะสม

7 7 7 1. ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มา 1.สทกจ.บรุ ีรมั ย √ √ .. 1. สอดคลอ งกบั
ทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว 2. เทศบาลเมือง แผนฯ
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ บรุ ีรมั ย . √ ...2. สอดคลอ ง
85 3. สนง.จังหวดั กบั ยุทธฯ กระทรวง/
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ บรุ ีรัมย หนว ยงาน
ทอ งเท่ยี ว 10% .......3. มคี วามสําคญั
3.จาํ นวนของสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเพือ่ สงู
การทองเทยี่ วในเขตพฒั นาการทองเท่ียว .......4. มคี วามพรอ มฯ
อารยธรรมอีสานใต จํานวน 5 จงั หวดั …….5. ความ
เหมาะสมขอ
6 6 6 1. ความพึงพอใจของนักทองเท่ียวที่มา 1.สทกจ.บุรีรมั ย √ งบประมาณ
ทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว 2. เทศบาลเมือง
อารยธรรมอสี านใตไ มนอยกวา 85% บรุ รี ัมย √ .. 1. สอดคลอ งกบั
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ 3. สนง.จังหวัด แผนฯ
ทอ งเที่ยว 10% บรุ รี ัมย . √ ...2. สอดคลอ ง
กบั ยทุ ธฯ กระทรวง/
3.จาํ นวนของสิง่ อาํ นวยความสะดวกเพ่ือ หนว ยงาน
การทอ งเท่ียวในเขตพฒั นาการทองเทย่ี ว .......3. มีความสาํ คญั
สงู
อารยธรรมอีสานใต จํานวน 8 แหง .......4. มคี วามพรอ มฯ
…….5. ความ
เหมาะสมขอ
งบประมาณ

32

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถุประสงค งบประม

3 โครงการติดตัง้ กลองวงจร 1.โครงการติดต้ังกลองวงจรปด เพือ่ สรา ง ระ บ บ รัก ษ า 6 6
ปด(CCTV)ตามสถ านที่ (CCTV)ตามสถานที่ทองเที่ยวใน ความปลอดภัยสําหรบั การ
ทองเท่ียวในเขตอารย จังหวัดศรสี ะเกษ ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น เ มื อ ง

ธรรมอีสานใต รวมเปน เงิน -วดั มหาเจดียแ กว(วดั ลา นขวด) ท อ ง เ ท่ี ย ว ใ น เ ข ต
41,800,000 บาท (กลอ ง ๘ ตวั ) พัฒนาการทองเที่ยวอารย

-ผามออีแดง (กลอ ง ๑๖ ตวั ) ธรรมอสี านใต
-พระธาตุเรืองรอง
(กลอ ง๑๖ ตวั )
-สวนเด็จศรีนครินทร
(กลอ ง ๑๖ ตวั )
-ปราสาทวัดสระกาํ แพงใหญ
(กลอ ง ๑๖ ตวั )
-อะควอเรียม (กลอ ง ๘ ตวั )
-สวนเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ๘0
พรรษา (กลอ ง ๑๖ ตวั )
-เมืองใหมช อ งสะงาํ
(กลอ ง ๑๖ ตวั )
2.โครงการติดตั้งกลองวงจรปด เพื่อ สรา ง ระ บ บ รัก ษ า 4 4
(CCTV)ตามสถานที่ทองเท่ียวใน ความปลอดภัยสําหรับการ
จังหวัดบุรีรัมย -ปราสาทพนมรุง ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น เ มื อ ง
จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น เ ข ต

-ปราสาทเมืองต่ํา จํานวน ๔ จุด พัฒนาการทองเที่ยวอารย
กลอ ง ๑๖ ตวั ธรรมอสี านใต

-วัดปาเขานอย จํานวน ๔ จุด
กลอ ง ๑๖ ตวั

-ว น อุ ท ย า น ภู เ ข า ไ ฟ ก ร ะ โ ด ง
จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๒๔ ตวั

-ถนนเซราะกราว จํานวน ๖ จุด
กลอ ง ๒๔ ตวั

-หอเกียรติยศ จํานวน ๓ จุด
กลอ ง ๑๒ ตวั

มาณ (ลา นบาท) ผลทค่ี าดวา จะไดร ับ/ตวั ช้วี ดั หนว ยงานที่ รูปแบบ ความ
รบั ผดิ ชอบ การลงทนุ เหมาะสม
666 1. ความพึงพอใจของนักทองเท่ียวท่ีมา
ทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเท่ียว 1.สทกจ. √ √ .. 1. สอดคลอ ง
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ ศรสี ะเกษ กบั แผนฯ
85 2.สถานี
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ ตํารวจภธู ร . √ ...2. สอดคลอ ง
ทองเที่ยว 10% จงั หวดั ศรีสะเกษ กับยทุ ธฯ กระทรวง/
3.จาํ นวนของสิ่งอํานวยความสะดวกเพ่ือ หนวยงาน
การทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทอ งเทยี่ ว .......3. มคี วามสาํ คญั
อารยธรรมอสี านใต 5 จงั หวดั สงู
.......4. มีความ
พรอมฯ

√ ..5. ความ
เหมาะสมขอ
งบประมาณ

4 4 4 1. ความพึงพอใจของนักทองเท่ียวที่มา สถานตี ํารวจภูธร √ √ .. 1. สอดคลอ งกบั
ทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว จงั หวัดบุรีรมั ย แผนฯ
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ
. √ ...2. สอดคลอ ง
85 กับยทุ ธฯ
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ กระทรวง/หนว ยงาน
ทอ งเท่ียว 10% .......3. มีความสาํ คัญ
3.จํานวนของสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเพื่อ สงู
การทองเท่ยี วในเขตพฒั นาการทอ งเที่ยว .......4. มคี วามพรอ มฯ
อารยธรรมอสี านใต จาํ นวน 5 จงั หวดั √ ..5. ความเหมาะสม
ของบประมาณ

33

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค งบประม

-อนุสาวรียรัชกาลที่ ๑ จํานวน
๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-สถานีขนสงบุรีรัมย จํานวน ๔
จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-สถานีรถไฟจั งหวัดบุรีรัมย
จาํ นวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-ทาอากาศยานบุรีรัมย จํานวน
๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-ถนนสายบุรีรัมย-ประโคนชัย
จากวงเวยี นรชั กาลที่ ๑ ผา น

สนามไอ-โมบาย สเตเดีย้ ม ถึงสี่
แยกโรงเรียนภทั รบพิตร

อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย

จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

*รวม ๔๗ จดุ จํานวนกลอง ๑๘๘
ตัว และเชื่อมระบบ

ไปยังสถานีตํารวจท่ีอยูใกลแหลง

ทอ งเทยี่ ว

3.โครงการติดตั้งกลองวงจรปด เพื่อ สรา ง ระ บ บ รัก ษ า 0.5 0.5
(CCTV)ตามสถานที่ทองเท่ียวใน ความปลอดภัยสาํ หรบั การ
จังหวัดอุบลราชธานี ท อ ง เ ท่ี ย ว ใ น เ มื อ ง

-ส ถ า นี ข น ส ง อุ บ ล ร า ช ธ า นี ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น เ ข ต
จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั พฒั นาการทองเที่ยวอารย

-สถานีรถไฟจงั หวัดอุบลราชธานี ธรรมอสี านใต
จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-ท า อ า ก า ศ ย า น อุ บ ล ร า ช ธ า นี
จํานวน ๔ จดุ กลอ ง ๑๖ ตวั

-อทุ ยานแหง ชาตผิ าแตม จาํ นวน
๔ จดุ กลอ ง ๒๔ ตวั

-อุทยานแหงชาติภูจอง-นายอย
จาํ นวน ๔ จดุ กลอ ง ๒๔ ตวั

มาณ (ลา นบาท) ผลทีค่ าดวา จะไดร บั /ตวั ชี้วดั หนว ยงานที่ รูปแบบ ความ
รับผิดชอบ การลงทนุ เหมาะสม

0.5 0.5 0.5 1. ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวท่ีมา สทกจ.อบ. √ √ .. 1. สอดคลอ งกบั
ทองเที่ยวในเขตพัฒนาการทองเที่ยว แผนฯ
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ
. √ ...2. สอดคลอ ง
85 กบั ยทุ ธฯ กระทรวง/
2. การเพิ่มขึ้นของรายไดจากการ หนว ยงาน
ทอ งเทย่ี ว 10% .......3. มีความสําคญั
3.จํานวนของสงิ่ อํานวยความสะดวกเพือ่ สงู
การทอ งเทยี่ วในเขตพฒั นาการทอ งเทย่ี ว .......4. มคี วามพรอ มฯ
อารยธรรมอีสานใต จํานวน 5 จงั หวดั √ ..5. ความเหมาะสม
ของบประมาณ

34

ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ กิจกรรม วัตถปุ ระสงค งบประม

4.โครงการติดตั้งกลองวงจรปด เพื่อ สรา ง ระ บ บ รัก ษ า 31. 31.
(CCTV)ตามสถานท่ีทองเท่ียวใน ความปลอดภัยสาํ หรบั การ 3 3
จงั หวดั นครราชสมี า ประกอบดว ย ท อ ง เ ท่ี ย ว ใ น เ มื อ ง

- ตดิ ตง้ั กลองวงจรปดตามทางแยก ท อ ง เ ท่ี ย ว ใ น เ ข ต
ทางรว ม พฒั นาการทองเที่ยวอารย

ในเขต อ.เมือง พรอมจัดตัง้ ศูนย ธรรมอสี านใต
ควบคุมและส่ังการระบบโทรทัศน

วงจรปด CCTV
ไดแก 1) ลานอนสุ าวรีย
ทา วสุรนารี 2) วดั ศาลาลอย
3) ปราสาทหินพนมวัน จํานวน 3
แหงๆ ละ 5 จุด จุดละ ๔ กลอง
จาํ นวน 60 ตวั
- ตดิ ตง้ั กลองวงจรปดตามทางแยก
ทางรวม ในเขตอําเภอพิมาย

พรอมจัดตั้งศูนยควบคุมและสั่ง

การระบบโทรทศั นวงจรปด CCTV
ไดแ ก ปราสาทหนิ พมิ าย จาํ นวน 8
จดุ ๆละ 4 กลอ ง จาํ นวน 32 ตวั
- ติดตั้งกลองวงจรปดตามทาง
แยก ทางรวม ในเขตอําเภอ ดาน

ขุนทด พรอมจัดตั้งศูนยควบคุม

และส่ังการ ระบบโทรทัศนวงจร

ปด CCTV ไดแก วัดบานไร (วัด
หลวงพอ คูณ) จํานวน 5 จุด จุดละ
4 กลอ ง จาํ นวน 20 ตวั
- ติดต้ังกลองวงจรปดตามทาง
แยก ทางรวม ในเขตอําเภอสูงเนิน

พรอมจัดตั้งศูนยควบคุมและสั่ง

การระบบโทรทัศนวงจรปด CCTV
ไดแ ก

มาณ (ลา นบาท) ผลทีค่ าดวา จะไดร ับ/ตวั ชวี้ ดั หนวยงานที่ รูปแบบ ความ
รับผิดชอบ การลงทนุ เหมาะสม
31. 31. 31. 1. ความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มา
333 ทองเท่ียวในเขตพัฒนาการทองเท่ียว สถานีตาํ รวจภูธร √ √ .. 1. สอดคลอ ง
อารยธรรมอีสานใตไมนอยกวารอยละ จังหวัด กบั แผนฯ
85 นครราชสีมา
2. การเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากการ . √ ...2. สอดคลอ ง
ทอ งเทยี่ ว 10% กบั ยทุ ธฯ กระทรวง/
3.จํานวนของสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อ หนวยงาน
การทอ งเทย่ี วในเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว .......3. มคี วามสาํ คญั
อารยธรรมอสี านใต จาํ นวน 5 จังหวัด สูง
.......4. มีความ
พรอมฯ

√ ..5. ความ
เหมาะสมขอ
งบประมาณ

35


Click to View FlipBook Version