แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตด นิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสว นจังหวดั ลพบรุ ี
1
สารบัญ หนา
บทที่ 1 บทนำ 3
1.1 ทม่ี าและความสำคัญ 4
1.2 วตั ถุประสงค 4
1.3 ขอบเขตของแผน 4
1.4 กระบวนการจัดทำแผน 4
1.5 ระยะเวลาดำเนินการ 5
1.6 ผลทค่ี าดวา จะไดร บั
บทที่ 2 ขอมูลพนื้ ฐานของจงั หวดั ลพบรุ ี 5
ขอ มูลทวั่ ไปของจงั หวดั ลพบุรี 5
2.1 ทต่ี ั้ง 5
2.2 อาณาเขต 6
2.3 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ 7
2.4 ภูมิอากาศ 7
2.5 การปกครอง 7
2.6 ประชากร
2.7 อาชพี ของประชากร 8
บทที่ 3 การศึกษาและรวบรวมขอ มลู ทางวชิ าการตา ง ๆ 9
3.1 สภาพความชันของพน้ื ที่จงั หวัดลพบุรี 10
3.2 สภาพทางธรณีวทิ ยาของจังหวดั ลพบุรี 15
3.3 แมนำ้ ท่ไี หลผานจังหวดั ลพบรุ ี 18
3.4 พน้ื ทีน่ ้ำทว มซ้ำซากของจังหวัดลพบุรี 24
3.5 ขอมูลบอบาดาลในพ้ืนที่เปา หมาย
3.6 ระเบียบ หนังสือสงั่ การ เอกสารทางวชิ าการทเี่ ก่ยี วของ 25
บทท่ี 4 รูปแบบของธนาคารน้ำใตดนิ 26
4.1 รูปแบบธนาคารน้ำใตดินระบบปด
4.2 รูปแบบธนาคารนำ้ ใตด นิ ระบบเปด
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด นิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบรหิ ารสวนจงั หวดั ลพบรุ ี
2
บทที่ 5 การเลือกพ้ืนทเ่ี พือ่ จดั ทำธนาคารนำ้ ใตดนิ 27
5.1 แนวทางการพจิ ารณาพ้ืนท่ี 27
5.2 ปจจัยในการคดั เลอื กพน้ื ท่ีเติมนำ้ 27
5.3 ศกั ยภาพของพน้ื ที่ 4 อำเภอเปา หมาย
5.4 พื้นทที่ จ่ี ะดำเนนิ โครงการ 31
34
พนื้ ทอ่ี ำเภอโคกเจริญ 37
พืน้ ทอ่ี ำเภอสระโบสถ 40
พื้นที่อำเภอโคกสำโรง
พน้ื ท่อี ำเภอบานหม่ี 44
บทท่ี 6 แผนพัฒนาทองถ่ิน 45
6.1 แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารนำ้ ใตด ินอยางบูรรณาการ พ.ศ. 2564
6.2 แผนการปฏบิ ตั งิ าน
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตดนิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบริหารสวนจังหวัดลพบรุ ี
3
บทที่ 1 บทนำ
ทม่ี าและความสำคัญ
เนื่องดวยในพื้นที่จังหวัดลพบุรี ซึ่งเปนพื้นที่ราบต่ำสลับกับเนินเขาและประชาชนมีอาชีพในการทำเกษตรกรรม
เปนสวนใหญ น้ำฝนไหลเติมลงสูชั้นใตดินไดนอย ทำใหการคืนตัวของระดับน้ำบาดาลมีอัตราที่ต่ำมาก มักจะเกิด
เหตุอุทกภัยน้ำทวมเปนประจำทำใหพื้นที่นาและบานเรือนของประชาชนไดรับความเดือนรอนเปนจำนวนมาก
ปญหาน้ำทวม-ภัยแลงมีแนวโนมรุนแรงและมีความถี่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง และจากสถิติของสำนักงานปองกัน
และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลพบุรี ระบุวาในปพ.ศ. 2561 ไดเกิดเหตุอุทกภัยน้ำทวมในพื้นที่จังหวัดลพบุรี
จำนวน 4 อำเภอ 21 ตำบล 76 หมูบาน ประชาชนที่เดือดรอน จำนวน 1,960 ครัวเรือน สรางความเสียหายใน
ชีวิตและทรัพยสินของประชาชนเปนจำนวนมาก ปญหาดังกลาวสงผลกระทบโดยตรงตอภาคการเกษตร
อตุ สาหกรรม การอปุ โภค – บริโภค และกระทบตอ คณุ ภาพชีวติ ของประชาชนชาวจงั หวดั ลพบรุ ี
ดังนั้น การปองกันและเตรียมความพรอมในการบริหารจัดการน้ำเพื่อรับมือกับปญหาน้ำทวม
และภัยแลงอยางมีประสิทธิภาพจึงมีความจำเปนอยางยิ่ง การกักเก็บน้ำฝนที่ไหลหลากและเหลือลน โดยการผัน
น้ำลงไปไวใตดิน และสามารถเจาะบอน้ำบาดาลสูบน้ำกลับมาใชในชวงฤดูแลงหรือยามขาดแคลนน้ำ จึงเปนการ
บรรเทาและแกปญหา การลดลงของระดับน้ำบาดาล และปญหาภัยแลงไดในระยะยาว องคการบริหารสวน
จังหวัดลพบุรี ไดเล็งเห็นความสำคัญในการแกไขปญหาอุทกภัยน้ำทวมขังและภัยแลง จึงตองดำเนินการแกไข
ปญหาอุทกภัยน้ำทวมขังแบบยั่งยืน โดยการจัดทำธนาคารน้ำใตดินในพื้นที่บริเวณน้ำทวมขังเปนประจำ เชน
พื้นที่อำเภอเมือง, อำเภอบานหมี่, อำเภอโคกสำโรง, อำเภอสระโบสถ, อำเภอชัยบาดาล, อำเภอโคกเจริญ,
อำเภอลำสนธิ, อำเภอทาหลวง, อำเภอหนองมวง และอำเภอพัฒนานิคม เปนตน ซึ่งเปนการผันนำ้ ลงกักไวใตด ิน
และสามารถเจาะบอบาดาลสูบน้ำกลับมาใชในชวงฤดูแลง หรือยามขาดแคลนน้ำได ซึ่งเปนอำนาจหน้ำที่ตาม
พระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2562 มาตรา
45(9) และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.
2542 และแกไ ขเพิ่มเตมิ ถึง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2549 มาตรา 17(22) การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
เพื่อลดปญหาผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นทั้งตอชีวิตและทรัพยสินจากสภาพปญหาดังกลาวขางตน
องคการบริหารสวนจังหวัดลพบุรีไดใหความสำคัญในการใชทรัพยากรน้ำอยางรูคุณคา ผานกระบวนการเรียนรู
เพื่อสรางองคความรูรวมกับชุมชน บนพื้นฐานของการทำงานรวมกันอยางบูรณาการกับองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ จึงไดจัดทำแผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตดินอยางบูรณาการ
พ.ศ. 2564 ขององคการบริหารสวนจังหวัดลพบุรี ขึ้น เพื่อใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาโครงการแกไขปญหา
ภยั แลงและนำ้ ทวมแบบยัง่ ยืน ดว ยระบบธนาคารนำ้ ใตด ินใหก ับพืน้ ทีข่ องจังหวัดลพบุรี
แผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารน้ำใตดนิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั ลพบรุ ี
4
วตั ถปุ ระสงค
1 เพ่อื บรรจุเขา ไวใ นแผนพัฒนาทองถ่นิ พ.ศ. 2561 – 2565 ขององคการบรหิ ารสว นจงั หวัดลพบุรี
2. เพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัดทำงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขององคการ
บริหารสวนจงั หวดั ลพบุรี
3. เพื่อใหการแกไ ขปญหาภยั แลงและนำ้ ทวมขององคก ารบริหารสวนจังหวัดลพบุรีบรรลุเปาหมายและมี
ทศิ ทางการพฒั นาทเ่ี ปน ระบบ
4. เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของมีสวนรวมในการจัดทำแผนงานโครงการ ฯ เกิดเครือขายความรวมมือ
ในการพฒั นาทอ งถ่นิ แบบบรู ณาการ
ขอบเขตของแผนงาน
เพื่อเปนกรอบและแนวทางการดำเนินโครงการแกไขปญหาภัยแลงน้ำทวมแบบยั่งยนื (ธนาคารน้ำใตดนิ )
พ.ศ. 2564 ขององคการบริหารสว นจังหวัดลพบุรี เปาหมาย คือ จัดสรางธนาคารน้ำใตดนิ ท้ังระบบปด และระบบ
เปด จำนวน 60 บอ ภายใตงบประมาณ 2,000,000 บาท พื้นที่ครอบคลุม 4 อำเภอ ไดแก อำเภอสระโบสถ
อำเภอโคกเจริญ อำเภอโคกสำโรง และอำเภอบา นหม่ี
กระบวนการจดั ทำแผน
1. องคการบริหารสวนจังหวัดลพบุรีมีคำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนงานโครงการ
บรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตด นิ อยางบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั ลพบรุ ี
2. จัดฝกอบรมใหความรูเรื่องธนาคารน้ำใตดินใหแกคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผน และศึกษา
ดูงาน ณ อบต.วังหามแห อำเภอขาณุวรลักษบรุ ี จงั หวัดกำแพงเพชร
3. จัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนฯ เพื่อกำหนดประเด็นหลักการพัฒนาใหสอดคลอง
กับปญหา ความตองการของประชาชนและชมุ ชน โดยใหนำขอมูลในการพัฒนาจากหนวยงานตาง ๆ และขอมูล
ในแผนชุมชนมาพจิ ารณาประกอบการจดั ทำแผน
4. แตงตั้งคณะทำงานจัดทำแผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารน้ำใตดินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564
ขององคการบริหารสวนจังหวัดลพบุรี และจัดใหมีการอบรมและศึกษาดูงานเรื่องธนาคารน้ำใตดิน ณ
อบต.เกาขาม อำเภอนำ้ ยนื จังหวดั อบุ ลราชธานี
5. จดั ประชุมคณะทำงานจัดทำแผน ประสานขอความรว มมือองคกรปกครองสวนทองถ่นิ เพ่ือสำรวจเก็บ
รวบรวมขอมูล ปญหาความตองการของประชาชนในพื้นท่ี และนำขอมูลมาจัดทำรางแผนงานโครงการบริหาร
จัดการธนาคารน้ำใตดินอยางบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบริหารสวนจังหวัดลพบุรี แลวเสนอ
คณะกรรมการสนับสนนุ แผน ฯ เพ่อื พจิ ารณา
6. จัดประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนเพื่อพิจารณาและใหความเห็นชอบรางแผนงาน
โครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด นิ อยา งบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบรหิ ารสว นจงั หวัดลพบรุ ี
7. คณะกรรมการสนับสนนุ แผน ฯ พจิ ารณารา งแผนงานโครงการ ฯ เพอ่ื เสนอผูบรหิ ารทอ งถนิ่
8. ผูบริหารทองถิ่นพิจารณาอนุมัติรางแผนงานโครงการ จากนั้นสงมอบแผนงานโครงการใหกองชาง
และกองแผนและงบประมาณ ดำเนินการในสว นท่เี ก่ยี วของตอไป
ระยะเวลาดำเนนิ การ กำหนดแลวเสร็จภายในเดือนกันยายน 2563
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบรหิ ารสว นจังหวัดลพบรุ ี
5
ผลทค่ี าดวาจะไดร บั
1. องคการบริหารสวนจังหวดั ลพบรุ มี ีงบประมาณสำหรับการแกไ ขปญหาภัยแลงและนำ้ ทว ม
2. ปญหาภัยแลง และน้ำทว มขงั ของพืน้ ทเี่ ปาหมายไดร ับการแกไข
3. เกดิ เครอื ขา ยความรว มมือระหวา งหนว ยงานในการพัฒนาทอ งถ่นิ แบบบูรณาการ
บทที่ 2 ขอมูลพนื้ ฐานของพ้นื ทจ่ี ังหวัดลพบุรี
ขอ มูลท่วั ไปจังหวดั ลพบรุ ี
ทต่ี ง้ั
จงั หวัดลพบุรีต้ังอยูในภาคกลางของประเทศไทย ระหวา งเสน รุงที่ 14 องศา 48 ลปิ ดาเหนอื และเสนแวงท่ี 100
องศา 25 ลิปดาตะวันออก อยูหางจากกรงุ เทพมหานครไปทางเหนอื ตามเสนทางหลวงหมายเลข 1 ถนน
พหลโยธินประมาณ 155 กิโลเมตร หรอื ทางรถไฟสายเหนอื ประมาณ 133 กโิ ลเมตร มพี น้ื ท่ี 6,586.67 ตาราง
กโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 4,116,668 ไร
อาณาเขต
จังหวัดลพบรุ ีมีพนื้ ท่ตี ิดตอกับจงั หวัดตา ง ๆ 8 จงั หวัดดงั นี้ คอื
ทศิ เหนือ ตดิ กบั จังหวัดเพชรบรู ณ
ทิศตะวนั ออก ติดกับจงั หวดั นครราชสมี าและจงั หวดั ชัยภมู ิ
ทิศตะวันตก ตดิ กบั จังหวดั นครสวรรคและจงั หวัดสิงหบรุ ี
ทศิ ใต ตดิ กบั จงั หวดั สระบรุ ี จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา และจงั หวดั อางทอง
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของจังหวดั ลพบรุ ี แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื พื้นที่ราบลมุ และพ้นื ท่กี ลมุ เขา
1) พ้นื ทรี่ าบลมุ แบงเปน 2 บรเิ วณ ไดแก บรเิ วณอำเภอเมอื งและบรเิ วณอำเภอชยั บาดาล
1.1) พื้นที่ราบลมุ บริเวณอำเภอเมือง คลมุ พื้นที่อำเภอเมือง อำเภอทาวุง อำเภอบา นหม่ี และ
ทศิ เหนอื ฝงตะวนั ตกของอำเภอโคกสาโรง มีความสงู เฉลย่ี 30 เมตร เหนอื ระดบั น้ำทะเลปานกลาง เปนบริเวณท่ี
ลมุ นำ้ ทว มถึง มีแมน ำ้ ลพบรุ แี ละคลองสนามแจงไหลผาน
1.2) พน้ื ทีร่ าบลมุ บรเิ วณอำเภอชัยบาดาล มีความสูงระหวา ง 50-150 เมตร เหนือ
ระดับน้ำทะเลปานกลาง คลมุ เขตอำเภอพัฒนานคิ มและอำเภอชัยบาดาล พื้นท่นี ้มี แี มน ำ้ ปาสกั ไหลผา น
ภมู ิประเทศภูมปิ ระเทศของจงั หวัดลพบุรี แบง ออกเปน 2 สวนใหญ ๆ คอื
2) พน้ื ท่กี ลมุ เขา แบงออกไดเปน 4 บริเวณ คอื
2.1) บริเวณที่ 1 ทางดานทิศตะวันออกในเขตอำเภอชัยบาดาล ขนานกับเสนแบงเขตจังหวัด
เปนเทือกเขาที่มีแนวยาว เหนือ-ใต 2 แนวขนานกัน เทือกเขาแรก คือ เทือกเขาพังเหยเปนแนวเขายอดเรียบ
และยอดเขามีลักษณะเปนชั้น ๆ คลายกับหนังสือวางซอนเหลื่อมกัน เห็นไดชัดเจนตามเสนทางสาย 205
ประมาณกิโลเมตรที่ 268 เทือกเขาที่สองขนานกับเทือกเขาพังเหยอยูทางดานทิศตะวันออก เปนเทือกเขาไมยาว
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตด นิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบรหิ ารสวนจงั หวดั ลพบุรี
6
ตอเนื่องกัน ยอดเขามีลักษณะเปนยอดตะปุมตะป� ประกอบดวย เขาลวก เขาลังกาน เขาตาบล เขาสมโภชน
เขาวงจันทรแดง เขาหินต้งั และเขาโปงสวอง
2.2) บริเวณที่ 2 เปนบริเวณพื้นที่ดานทิศเหนือระหวางอำเภอโคกเจริญ อำเภอสระโบสถ กับ
อำเภอชัยบาดาล เขากลุมนี้วางตัวอยูรวมกัน โดยทั่วไปมียอดแหลม บางยอดเปนหนาผามองดูลักษณะคลายเขา
หินปูน ประกอบดวย เขากลอยใจ เขาแหลม เขาฝาละมี เขาตะโกน เขาหนองบัว เขาหนองจิก เขาลอบวัว
เขานิโกร เขาเชือก เขาไร เขาสามพันไร เขาวังแปล เขาจมูกแขก เขาลับแล เขาหินหีบ เขากา เขาฟาแลบ
เขาสาโรง เขาผาด เขาสี เขาระวงั เขาหนิ กลิง้ เขานมนาง เขาลอมฟาง เขาโลน เขาคะเคียนคู เขาหางตลาด และ
เขาขาด ในกลมุ เขานี้ เขาลอมฟางและเขาหินกลิง้ เปน เขาท่เี ดนสะดุดตา มองเห็นไดใ นระยะไกล
2.3) บริเวณที่ 3 เปนเทือกยาวยอดเรียบลักษณะเหมือนเทือกเขาพังเหย วางตัวทิศทาง
ตะวนั ออกเฉยี งใต- ตะวันตกเฉียงเหนือ อยูดา นใตข องถนนหมายเลข 205 และสองขา งทางของถพนหมายเลข 21
อยูทางดานทิศเหนือของ อำเภอพัฒนานิคม ประกอบดวย เขาพระยาเดินธง เขารัง เขากกตะโก เขาพลวง
เขากดุ เงนิ เขาขวาง เขาขโมย เขาปลน เขาเพนียด และเขาจระเข
2.4) บริเวณที่ 4 เปนกลุมเขาที่มีความสูงไมมากนัก มีทั้งที่เปนเขาลูกโดด ๆ และเปนพืดเขา
สั้น ๆ แตเปนแนว เดียวกัน คือ แนวตะวันออกเฉียงใต-ตะวันตกเฉียงเหนือ ขนานกับกลุมเทือกเขาบริเวณที่ 3 ที่
กลาวมาแลว แตกลุม เขาเทือกนี้จะมียอดตะปุมตะป�แบบเดียวกับเทือกเขาสมโภชนของบริเวณที่ 1 กลุม
เทือกเขานี้ ไดแก เขาสะพานนาค เขาทับควาย เขาวงพระจันทร เขาพุคา เขาพุโลน เขาพระงาม เขาสามยอด
เขาวง เขาพระพุทธ เขาซึง้ น้ำ เขาจีนแล เขาหนอกววั เขาตะกรา เขาขวาง เขาซับเหล็ก เขาหนองยาง เขาเกาชั้น
เขาพขุ าม เขากองบนั ได เขาโปง ตะแบก เขาถำ้ เอราวัณ เขาเขยี ว เขาชองสาริกา และเขาอานกา น และเขาเทือก
นย้ี าวตอ ไปในจงั หวัดสระบุรี กลมุ เขาทง้ั หมดนี้อยใู นเขตอำเภอเมอื งและอำเภอพฒั นานคิ มดานใต
ที่ราบลุม มีพื้นที่ 1,170 ตารางกิโลเมตร เปนพื้นที่ของอำเภอทาวุงทั้งหมด ตอนกลาง และตะวันตกของอำเภอ
เมืองลพบุรี ตอนกลางและตะวันตกเฉียงใตของอำเภอโคกสำโรง และสวนใหญของอำเภอบานหมี่ พื้นที่ราบ
ตอนกลางของอำเภอเมอื งลพบุรี บรเิ วณหมบู า นสะพานอิฐ และหมบู านหินสองกอ นจะมีดินสีขาวที่สามารถนำมา
ทำดินสอพองได และดนิ สอพองของจังหวดั ลพบุรไี ดชอื่ วาเปน ดนิ สอพองท่ีดีท่สี ุดของเมอื งไทย
ที่ราบสลับเนินเขาและภูเขา มีเนื้อที่ 4,816.67 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ดานตะวันออกของอำเภอเมือง
ลพบุรี ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอำเภอบานหมี่บางสวน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกของอำเภอ
โคกสำโรงและอำเภอทาหลวง
ภูมิอากาศ
สภาพโดยทั่วไปมีภูมิอากาศแบบรอนชื้น อยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ และยังไดรับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชันและพายุไตฝุนอีกดวย โดยเฉพาะในชวงเดือน
สิงหาคมถึงเดือนกันยายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 28.3 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยปละประมาณ 1,147.6
มิลลเิ มตร สำหรบั มฤี ดูกาลตาง ๆ มี 3 ฤดู คือ
ฤดรู อ น ระหวา งเดือน มนี าคม-พฤษภาคม อากาศจะรอ น และแหงแลง
ฤดูฝน ระหวางเดือนมิถนุ ายน-ตลุ าคม อากาศจะชุมชืน้ ในเดอื นกนั ยายน
ฤดูหนาว ระหวางเดอื นพฤศจกิ ายน-กมุ ภาพันธ อากาศจะหนาวเย็นสลบั กบั อากาศรอน
แผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารนำ้ ใตด ินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั ลพบุรี
7
การปกครอง
จงั หวัดลพบรุ ีแบง เขตการปกครองออกเปน 11 อำเภอ, 121 ตำบล, 1,122 หมบู าน ในดา นการปกครองสวน
ทอ งถน่ิ ประกอบดว ยองคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั 1 แหง , เทศบาลเมอื ง 3 แหง (ไดแ ก เทศบาลเมืองลพบุรี
เทศบาลเมอื งเขาสามยอด และเทศบาลเมอื งบานหมี)่ , เทศบาลตำบล 19 แหง และองคก ารบรหิ ารสวนตำบล
103 แหง
ประชากร
ประชากรของจังหวัดลพบุรีสวนใหญเปนชาวไทยเชื้อสายลาวแตปจจุบันมีหลายกลุมที่รูสึกมีความเปนไทย
ชาวไทยภาคกลางนั้นจะหนาแนนแถบอำเภอเมืองใกลรอยตอระหวางลพบุรี-อยุธยา-อางทอง รอบนอกเมือง
ลพบุรีสวนใหญจะมีเชื้อสายลาวทุกอำเภอ ซึ่งแตเดิมปรากฏวามีการใชภาษาลาวดวย แตปจจุบันหลายชุมชนใน
อำเภอเมืองมีแนวโนมในการใชภาษาลาวลดลง และมีชนเชื้อสายจีนปะปนอยูทั่วไป นอกจากนี้ยังมีชนเชื้อสาย
ลาวพวนสวนใหญอยูในทองที่อำเภอบานหมี่ มีบางในตำบลถนนใหญ และโคกกระเทียมในอำเภอเมือง ชนเชื้อ
สายมอญอาศัยอยูในเขตทองที่ตำบลบางขันหมากสวนลาง (สวนบนสวนใหญเปนชาวไทย) อำเภอเมืองลพบุรี
นอกจากนี้ยังมีชาวไทเบิ้ง ซึ่งเปนชนกลุมเดียวกับชาวไทยโคราช ที่สวนใหญอาศัยในอำเภอพัฒนานิคม สวนชาว
อีสานนั้นเขามาทางตะวันออกซ่ึงติดกับจังหวัดนครราชสีมา กับจังหวัดชัยภูมิ และอาศัยทางโคกเจริญ ชัยบาดาล
ฯลฯ ชาวไทยเชื้อสายปากีสถานและอินเดียก็อาศัยในอำเภอเมืองและชัยบาดาล ซึ่งชนเชื้อสายตาง ๆ นี้ยังคง
รักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาพูดที่เปนเอกลักษณของตนเอง ลักษณะนิสัยตาง ๆ จึงแตกตาง
กนั แตก ็สามารถปรบั ตวั ใหเขา กับประชากรสวนใหญไ ดดี
จำนวนประชากรทั้งหมดของจังหวัดลพบุรี จากประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่ว
ราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 มีจำนวนทั้งสิ้น 754,162 คน แยก
เปนเพศชาย 378,034 คน เพศหญงิ 376,128 คน ความหนาแนน ของประชากรเฉลยี่ 114 คนตอตารางกิโลเมตร
เน่ืองจากจงั หวัดลพบรุ ีเปนเมืองยุทธศาสตรก ารทหารจงึ ทำใหมปี ระชากรเพศชายมากกวา เพศหญิงเล็กนอย
อาชพี ของประชากร
ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกร ทำนา ทำไรขาวโพด ขาวฟาง ออยน้ำตาล ถั่วเขียว ถั่วเหลือง
ประชากรในจังหวัดลพบุรีมีดวยกันหลายกลุม เชน ไทยภาคกลาง ไทยพวน (เดิมเรียก ลาวพวน) และไทยเบิ้ง
ไทยอีสาน (พูดภาษาอีสาน) ไทยมอญ นอกจากนี้ยังมีชาวไทยเชื้อสายจีน และชาวไทยเชื้อสายอินเดียจำนวน
ไมนอยอกี ดวย
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารน้ำใตดินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดลพบรุ ี
8
บทท่ี 3 การศกึ ษาและรวบรวมขอ มลู ทางวชิ าการตา ง ๆ
กอนการจดั ทำธนาคารนำ้ ใตดนิ ควรมีการศึกษาขอ มูลตา ง ๆ ในพื้นทีข่ องจงั หวัดลพบุรี ดังนี้
1) สภาพความชันของพื้นท่เี พื่อดทู ศิ ทางการไหลของน้ำ
2) สภาพทางธรณวี ทิ ยา
3) แมน ้ำท่ไี หลผา นจังหวดั ลพบรุ ี
4) พ้ืนท่นี ้ำทว มซ้ำซากของจงั หวดั ลพบุรี
5) ขอ มลู บอ บาดาลในพ้นื ทเี่ ปาหมาย 4 อำเภอ ไดแ ก อำเภอโคกเจริญ อำเภอสระโบสถ
อำเภอโคกสำโรง และอำเภอบา นหม่ี
แผนทแี่ สดงความลาดชันของพ้นื ท่จี ังหวัดลพบุรี
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด ินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบริหารสวนจงั หวดั ลพบรุ ี
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด นิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
9
แผนที่ธรณีวทิ ยา
4 อำเภอเปาหมาย อยูใน 2 เขตชั้นหิน คือ
พื้นที่เขตหินปูน หินเชิรต หินดินดาน หิน
ทราย หินทรายเนื้อภูเขาไฟและหินภูเขาไฟ
โ ด ย บ ร ิ เ ว ณ น ี ้ ม ี ช ั ้ น ห ิ น ใ ห น ้ ำ ท ี ่ เ ป น หิ น
คารบ อเนต
พื้นที่เขตตะกอนน้ำพา กรวด ทราย ทราย-
แปง และดินเหนียวสะสมตัวตามรองน้ำ คัน-
ดินแมน้ำ และแองน้ำทวมถึง โดยบริเวณนี้มี
ชน้ั หินใหน ำ้ ทเี่ ปน หินคารบ อเนต
อางอิง กรมทรพั ยากรธรณี
คก ารบรหิ ารสว นจงั หวัดลพบรุ ี
เสนทางการไหลของน้ำบนดนิ
แมนำ้ ทไ่ี หลผานจงั หวัดลพบุรี
แมน้ำที่ไหลผานจังหวัดลพบุรี ไดแก แมน้ำปาสักและแมน้ำลพบุรี
แมน้ำปาสักมีตนกำเนิดจากภูเขาในจังหวัดเลย ไหลผานจังหวัด
เพชรบรู ณเ ขา สอู ำเภอชยั บาดาล ผา นลงมาทางใตเ ขา สูจังหวดั สระบรุ ี
ที่อำเภอแกงคอย และไหลไป บรรจบกับแมน้ำลพบุรีซึ่งเปนสาขา
แยกจากแมน้ำเจาพระยา กอนบรรจบกับแมน้ำเจาพระยาที่จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ทางน้ำที่สำคัญ คือ คลองสนามแจง ซึ่งเปนสาย
ยาวไหลจากอำเภอบา นหมไี่ ปอำเภอสระโบสถ
อา งอิง ศนู ยปองกันวกิ ฤตน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
10
คก ารบริหารสว นจงั หวดั ลพบรุ ี
ลมุ น้ำปา สกั
แมน้ำปาสักเปนแมน้ำสายหลัก มีตนน้ำอยูบริเวณเทือกเขาตอนบนในเข
เหนือลงสูทางใต โดยไหลผานพื้นที่ของจังหวัดเพชรบูรณ ลพบุรี ลงเขื่อนป
จังหวัดสระบุรีสูเขื่อนทดน้ำพระราม 6 และไหลบรรจบกับแมน
พระนครศรีอยุธยา รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 700 กิโลเมตร มีลำน้ำ
และตะวันออก แตลำน้ำสาขาสวนใหญจะสั้น และพื้นที่รับน้ำมีขนาดเล็ก
หวยนำ้ พงุ หว ยปาแดง หว ยขอนแกน ลำกง หวยเกาะแกว ลำสนธิ หว ยมว
ตามแนวลำน้ำแมน้ำปา สกั
อา งองิ ศูนยป องกันวกิ ฤตน้ำ กรมทรัพยา
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารน้ำใตด ินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
11
ขตจังหวัดเลย ไหลจากทิศ
ปาสักชลสิทธิ์และไหลผาน
น้ำเจาพระยาที่จังหวัด
ำสาขาแยกไปทางตะวันตก
ก ลำน้ำสาขาที่สำคัญไดแก
วกเหลก็ เปนตน โดยรปู ตัด
ากรน้ำ
คก ารบรหิ ารสว นจงั หวัดลพบุรี
ลมุ นำ้ เจา พระยา
แมนำ้ เจาพระยามีจุดกำเนิดอยทู ี่ตำบลปากนำ้ โพ อำเภอเมือง จงั หวดั นครส
ไหลจากทศิ เหนือลงสอู า วไทย ผา นที่ราบภาคกลาง สภาพลุมนำ้ ทางฝง ตะว
ในเขตจังหวัดนครสวรรคและลพบุรี เปนทรี่ าบสูงมีเนนิ เขาเตี้ย ๆ เปน สนั ปน
กน้ั ระหวางลมุ น้ำเจาพระยาและลมุ น้ำปา สัก สวนทางตอนลางลงมาซ่งึ อยใู น
จังหวดั สระบุรแี ละฉะเชิงเทราจะเปนทรี่ าบลาดเขาลงสูแมน ำ้ เจา พระยา แล
ทรี่ าบชายฝง ทะเลในเขตจังหวัดสมทุ รปราการ สภาพลมุ นำ้ ทางฝง ตะวันตก
ลุมน้ำเจาพระยา ตอนบนเปนที่ราบและตอนลา งเปน ที่ราบลมุ ซง่ึ มอี าณาเข
ติดตอ กบั ลมุ นำ้ ทาจีนลาดลงไปจรดชายฝง ทะเลดานอา วไทย
อา งองิ ศูนยปอ งกันวฤิ ตน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ
แผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารนำ้ ใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
12
สวรรค
วันออก
นน้ำ
นเขต
ละเปน
กของ
ขต
คก ารบริหารสว นจังหวัดลพบุรี
ลมุ นำ้ ปา สกั และลุม น้ำเจาพระยา
อางองิ
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารนำ้ ใตดินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
13
ง ศูนยปอ งกนั วกิ ฤตนำ้ กรมทรพั ยากรน้ำ
คการบริหารสวนจังหวดั ลพบรุ ี
ลมุ น้ำป
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตดนิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
14
ปา สกั และลมุ น้ำเจา พระยา
อางองิ ศูนยปอ งกนั วิกฤตน้ำ กรมทรัพยากรนำ้
คการบริหารสว นจงั หวดั ลพบรุ ี
พ้ืนทน่ี ำ้
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตดนิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
15
ำทว มประจำ
อา งองิ ศูนยปองกนั วิกฤตน้ำ กรมทรพั ยากรนำ้
คการบรหิ ารสวนจงั หวัดลพบุรี
แผนทพ่ี ้ืนที่นำ้ ทว มซำ้ ซาก พ.ศ. 25
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารน้ำใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
16
548 – 2556 จงั หวัดลพบรุ ี
สีมวง หมายถงึ พื้นท่ีน้ำทว มซ้ำซาก
อา งอิง กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
คการบรหิ ารสวนจังหวัดลพบุรี
แผนทพี่ ้ืนท่ีลุม ตำ่ ทุง ฝง ซายคลอง
อางองิ ก
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารนำ้ ใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
17
งชยั นาท - ปา สัก
กรมชลประทาน
คก ารบริหารสว นจงั หวัดลพบุรี
บอ บาดาลในพื้นทเี่ ปาหมาย 4 อำเภอ (อา งอิงขอมลู จากกรมทรัพยากรน
อําเภอ
รายชื่อ อปท. ลําดับ สถานทดี่ ําเนินโครงการ หมทู ่ี ตาํ บล ความลกึ
อาํ เภอโคกเจรญิ
อบต.ยางราก 1 บานยางราก ยางราก 1
2 โรงเรียนบานยางรากวิทยา ยางราก 1
3 บานวงั ตาอินทร 1 ยางราก
4 วัดบานวงั ตาอินทร 1 ยางราก 2
5 บานยางราก 3 ยางราก
6 วดั ยางราก 3 ยางราก
7 โรงเรียนบา นยางราก 3 ยางราก
8 โรงเรียนบานยางรากด 3 ยางราก
9 โรงเรยี นบา นสระเพลง 4 ยางราก
10 โรงเรยี นบานเนนิ สวรรค 4 ยางราก
(สระเพลง)
11 สาํ นกั สงฆว ัดวังอาง 4 ยางราก
12 วัดสระเพลง 4 ยางราก
13 บานเนนิ สวรรค 4 ยางราก
14 โครงการศึกษาเพื่อพฒั นาชนบท 4 ยางราก
เกษตรมหาวิทลยั
15 โครงการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาชนบท 4 ยางราก
เกษตรมหาวทิ ลยั
16 บานสระเพลง 4 ยางราก
17 บานคลองกระชาย 5 ยางราก
18 วัดคลองกระชาย 5 ยางราก 1
19 วดั เขาสมามัคคี (บ.หวั เขา) 6 ยางราก
20 วัดเนนิ รังวรปญ ญา 6 ยางราก 1
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารน้ำใตดินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
18
น้ำบาดาล)
อโคกเจรญิ
กเจาะ (ม.) ความลกึ พฒั นา (ม.) ปริมาณน้ํา (ลบ.ม./ชม.) ระดับน้าํ ปกติ (ม.) ระยะนํ้าลด (ม.)
120 120 5 36 25
110 110 5 9 24
24 24 2.27 6 6
25.5 24 13.71 8.17 10.69
30 30 6 7.29 9.65
30 30 4.5 2.21 10.34
30 30 4.24 1.09 7.61
96 96 5 7 10
90 90 4 13 30
72 72 6 16 14
88 88 8 16 12
30 30 6.8 3 1
72 72 1.2 18 30
45 42 4.55 3.6 6
36 33 2.27 5.4 5.1
31 30.25 25 34.8 13.2
33 28.63 2 14 15
18.5 4 3 7
48 48 2.27 8.1 15.9
120 120 6 22 9
องคการบรหิ ารสวนจังหวดั ลพบรุ ี
รายชือ่ อปท. ลาํ ดบั สถานที่ดําเนินโครงการ หมทู ่ี ตําบล อําเภอ
ยางราก ความล
ยางราก
21 ทส่ี าธารณะบา นหวั เขา 6 ยางราก
ยางราก
22 บานใหมทรัพยเจริญ 7 ยางราก
ยางราก
23 บา นเขาราบ 7 ยางราก
ยางราก
24 วดั วงั วัด 8 ยางราก
ยางราก
25 วดั ถ้าํ ผานํา้ หยด 8 ยางราก
ยางราก
26 วดั หัวเขาสมามัคคี 8 ยางราก
27 บานวงั วดั 8
28 บานนอ ยรงุ เรอื ง 9
29 บา นนอ ย 9
30 โรงเรยี นวังตาอนิ ทร 10
31 บา นวงั ตาอินทร 10
32 บานนอยรงุ เรือง 12
33 โรงเรียนยางรากวทิ ยา 12
บา นยางราก
อบต.โคกเจรญิ 1 วัดโพธ์ศิ รมี หาโพธ์ิ 1 โคกเจรญิ
โคกเจริญ
2 บา นหนองถํ้า 1 โคกเจรญิ
โคกเจริญ
3 บานหนองถํา้ 1 โคกเจริญ
โคกเจริญ
4 บา นหนองถํา้ 1 โคกเจรญิ
โคกเจริญ
5 บานดนิ ดาํ 1 โคกเจรญิ
6 บานหนองถ้ํา 1
7 วัดโพธิ์ศรมี หาโพธิ์ 1
8 วดั โพธิช์ มุ เกาะเกตุ 1
9 บา นอาจารยประเสริฐ กอ นแขง็ 2
บานเกาะเกตุ
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตดนิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
19
อโคกเจรญิ
ลกึ เจาะ (ม.) ความลกึ พัฒนา (ม.) ปริมาณน้าํ (ลบ.ม./ชม.) ระดับนาํ้ ปกติ (ม.) ระยะนํา้ ลด (ม.)
62 62 9 8 12
26 24.2 3 5.1 8.9
30 30 1.14 6 12
21 16.5 2 6.8 0.7
114 114 5 30 18
152 152 4 18 63
110 110 10 7 20
140 140 3 2.8 47.2
24 24 2.64 1.13 3.82
30 30 4.09 6 7.5
102 102 3.4 36 24
14 12.1 8 14
36 36 4.24 7.4 12.05
70.5 70.5 1.14 8.1 79.5
45 45 4.54 3 6
18 18 6.55 3.64 2.53
11 10.44 3 4.5 7.5
21 18.3 1.5 8
37 36.35 10 5.5 3.5
120 120 4 18 43
80 80 7 7 4
90 90 5 5 30
องคการบริหารสว นจังหวดั ลพบุรี
รายชอ่ื อปท. ลาํ ดบั สถานทีด่ าํ เนินโครงการ หมูที่ ตําบล อําเภอ
10 บา นเกาะเกตุ 2 โคกเจรญิ ความล
11 บา นนาอุดม 2 โคกเจริญ
12 บา นทะเลทอง 3 โคกเจรญิ 5
13 บานทะเลทอง 3 โคกเจรญิ
14 บานโคกเจรญิ 4 โคกเจรญิ 4
15 บานโคกเจริญ 4 โคกเจรญิ
16 บา นโคกเจรญิ 6 โคกเจริญ
17 โรงเรียนบา นโคกเจรญิ 6 โคกเจริญ
18 โรงเรียนอนบุ าลโคกเจรญิ 6 โคกเจริญ
19 โรงเรียนโคกเจริญวิทยาคม 6 โคกเจริญ
20 บานโคกเจริญ 6 โคกเจริญ
21 วดั เทพปญญาราม 7 โคกเจริญ
22 วดั เทพปญญาราม 7 โคกเจรญิ
23 ทีท่ าํ การ อบต.โคกเจริญ 7 โคกเจรญิ
24 บานหนองกระชาย 7 โคกเจริญ
25 บา นดินแดง 8 โคกเจรญิ
26 บา นดนิ แดง 8 โคกเจรญิ
27 วัดบานดินแดง 8 โคกเจริญ
28 โรงเรียนบานดินแดง 8 โคกเจริญ
29 บานดนิ แดง (บ.โคกเจริญ) 8 โคกเจรญิ
30 ทว่ี า การอําเภอโคกเจริญ 9 โคกเจรญิ
31 บา นภูเขาทอง 9 โคกเจรญิ
32 ท่วี า การอาํ เภอโคกเจรญิ 9 โคกเจริญ
33 โรงเรยี นโคกเจริญวิทยาคม 9 โคกเจริญ
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารนำ้ ใตดนิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
20
อโคกเจริญ
ลึกเจาะ (ม.) ความลกึ พัฒนา (ม.) ปรมิ าณนาํ้ (ลบ.ม./ชม.) ระดบั นาํ้ ปกติ (ม.) ระยะนาํ้ ลด (ม.)
44 42.35 2
30 30 4.09 9 9
30 30 3.4 1 5
20 18.15 12 63
43 43 0 0 0
40 36.33 5 8.1 6.1
44 42.28 10 14.1 0.4
43 43 10 3 21.2
60 60 8 5 20
52.5 48 5.28 2.27 12.33
116 116 7 17 15
102 102 4 4 35
54 54 6.82 14.1 3
100 100 8 8 7.4
50 48.5 4 8 7.4
24 24 2.27 6.9 9.6
42 42 5.68 3 4.5
30 30 6.45 3.73 8.11
24 24 1 9 8
18 12.1 3 27
108 108 4.5 4.8 37.8
38 36.3 4 54
44.5 36.39 2 5.5 5.5
90 90 7 7 12
องคการบริหารสวนจังหวดั ลพบุรี
รายชื่อ อปท. ลําดบั สถานทีด่ ําเนนิ โครงการ หมทู ่ี อําเภอ
อาํ เภอสระโบสถ 1 ตาํ บล ความล
อบต.มหาโพธิ 1 บา นมหาโพธิ 3
3 มหาโพธิ 3
2 วัดเขาดนิ 4 มหาโพธิ
3 บานมหาโพธิ 5 มหาโพธิ 3
4 โรงเรยี นบานมหาโพธิ 5 มหาโพธิ 2
5 วัดกระดานเลอ่ื น 6 มหาโพธิ
6 บา นกระดานเลอ่ื น 6 มหาโพธิ
7 วัดบานคลอง 7 มหาโพธิ
8 บา นคลอง 7 มหาโพธิ
9 มหาโพธิ 8 มหาโพธิ
10 วัดมหาโพธิ 9 มหาโพธิ
11 บานโคกประดู 9 มหาโพธิ
12 บานหนองกระทุม 1 มหาโพธิ
13 บา นหนองกระทมุ 1 มหาโพธิ
2
อบต.ทงุ ทา ชาง 1 บา นทงุ ทาชา ง 3 ทุงทาชา ง
2 บา นทุง ทาชา ง 3 ทงุ ทา ชาง
3 บา นทงุ ทาชาง 4 ทงุ ทา ชา ง
4 บานทงุ ทาชา ง 5 ทงุ ทาชา ง
5 วดั บานทาชาง ทงุ ทา ชาง
6 บา นหนองผกั บุง ทงุ ทา ชาง
7 บา นทงุ ทาชา ง ทุง ทา ชา ง
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด ินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
21
อสระโบสถ
ลกึ เจาะ (ม.) ความลกึ พัฒนา (ม.) ปริมาณนํ้า (ลบ.ม./ชม.) ระดับนาํ้ ปกติ (ม.) ระยะนา้ํ ลด (ม.)
56 51.4 1.5 2.6 7.9
114 114 8 8 14
36 36 2.27 3 24.6
24 24 3.41 3.9 8.7
24 24 1.14 3 15
36 30.25 10 12.75 0.1
36 36 4.09 4.5 7.5
69 65.1 35 6.5 2.1
36.59 4.55 7.62 30.49
36 36 2.2 3.9 12.5
30 24 8.3 5.36 3.25
48 48 1.59 6 35.7
42 42 1.14 19.5 16.5
30 30 4.5 7.38 7.38
37.8 37.8 10 2.1 8.1
29.5 28.75 2 2.7 20.7
102 102 88
27 24 9.3 4.85 8.68
30 30 1.82 3.6 19.5
30 30 1.49 1.56 3.03
องคก ารบริหารสวนจังหวดั ลพบรุ ี
รายช่ือ อปท. ลําดับ สถานท่ดี าํ เนนิ โครงการ หมทู ี่ อําเภอ
อาํ เภอโคกสาํ โรง 3 ตําบล ความล
อบต.ถลุงเหลก็ 1 โรงเรยี นบานถลงุ เหล็ก 1
2 ถลงุ เหลก็
อบต.หลุมขาว 1 บา นเนนิ สม กบ 3 หลุมขาว
2 บานเนนิ สม กบ 11 หลุมขาว
3 บานโดกพรม 11 หลมุ ขา ว
4 โรงเรียนบานพรหมทนิ หลุมขา ว
5 บานพรหมทินใต หลุมขาว
รายชื่อ อปท. ลําดับ สถานทีด่ ําเนินโครงการ หมูท ่ี ตาํ บล อาํ เภ
อบต.หนองเมือง 1 โรงเรียนบานหนองแก 4 หนองเมอื ง ความล
2 โรงเรียนบา นนํ้าปา 5 หนองเมอื ง
3 สาํ นักสงฆสระมะกลอื 5 หนองเมือง
แผนงานโครงการบรหิ ารจดั การธนาคารนำ้ ใตด นิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
22
อโคกสําโรง
ลึกเจาะ (ม.) ความลกึ พฒั นา (ม.) ปริมาณนํ้า (ลบ.ม./ชม.) ระดับนา้ํ ปกติ (ม.) ระยะนา้ํ ลด (ม.)
72 72 10 3 24
62 5 6 18
84 67 6 15 7
62 60.5 2 4.6 11.9
62 60.45 2 24 25
61 60.5 1.5 6 17
ภอบานหม่ี
ลกึ เจาะ (ม.) ความลึกพัฒนา (ม.) ปริมาณนาํ้ (ลบ.ม./ชม.) ระดบั นํา้ ปกติ (ม.) ระยะนา้ํ ลด (ม.)
130 110 4.8 38.84 3.42
184 184 4 28 10
33.5 3 1 19
องคการบรหิ ารสวนจังหวัดลพบรุ ี
อําเภ
รายช่อื อปท. ลําดบั สถานทดี่ ําเนินโครงการ หมูที่ ตาํ บล ความล
อาํ เภอบานหมี่
อบต.บางกะพี้ 1 โรงเรยี นวัดบางกะพ้ีใหญ 1 บางกะพี้
ดงพลับ 2 โรงเรียนวัดบานดงพลับ 1 ดงพลบั
3 บา นแคสงู 3 ดงพลบั
4 บา นดงพลับ 5 ดงพลับ
อบต.พคุ า 1 โรงเรียนรว มกนั สอู ยา งพรอ ม 1 พุคา
2 โรงเรียนสระตาแวว 2 พคุ า
(บา นสระตาแวว)
3 บา นหนองนา้ํ ทิพย 4 พคุ า
4 วดั บา นหนองนาํ้ ทิพย 4 พคุ า
5 บา นหนองนํา้ ทิพย 4 พุคา
อบต.หนองกระเบียน 1 บา นหนองคูใหญ 1 หนองกระเบยี น
2 โรงเรียนบานหนองคู 1 หนองกระเบียน
3 บานหัวหนอง(บานตะวันออก) 1 หนองกระเบยี น
4 บา นหนองกระโจม 3 หนองกระเบียน
5 บา นหนองกระโจม 3 หนองกระเบยี น
6 ประปาหมูบาน 3 หนองกระเบยี น
7 บา นหวยลาด 5 หนองกระเบยี น
8 บา นทา ยลาด 5 หนองกระเบียน
9 วัดทา ยลาด 5 หนองกระเบยี น
10 วัดสระใหญ 6 หนองกระเบียน
11 บานหนองแฟบ 7 หนองกระเบียน
12 บานตะโก 8 หนองกระเบียน
13 วัดหนองกระเบียน 9 หนองกระเบียน
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตดินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ของอ
23
ภอบา นหม่ี
ลึกเจาะ (ม.) ความลกึ พัฒนา (ม.) ปริมาณนํ้า (ลบ.ม./ชม.) ระดบั นํ้าปกติ (ม.) ระยะนํ้าลด (ม.)
50 50 2 7.15 4.95
37.5 36 2.27 6 9
48 48 2.27 7.5 4.5
46 42.35 25
92 90 10 30
70.5 69 2.27 24.9 30.6
75 72 6.82 21.3 11.7
57 57 2.57 1.11 7.79
108 108 45 25.3 11.2
66 66 4.8 4.17 16.38
97.5 96.7 4 3.8 17.2
98 98 4 4.4 11.2
82 80.33 3 7 9.5
65 65 45 1.5 6
120 120 10 12 6
93 75 11.36 1.8 15
104 104 7 28
95 95 6
123 120 4.5 8.1
92 92 10 4.8 54.8
95 95 43
98 5
7.2 12.8
องคการบริหารสว นจังหวัดลพบรุ ี
24
ระเบียบ หนงั สอื สัง่ การ เอกสารทางวชิ าการทเ่ี ก่ียวขอ ง
1. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวาดวยการจดั ทำแผนพฒั นาขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ พ.ศ. 2548
2. คูมอื การบรหิ ารจดั การนำ้ ดวยระบบธนาคารนำ้ ใตด ิน ของกลมุ งานสงเสรมิ การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม
และคุณภาพชีวติ กองพัฒนาและสง เสรมิ การบริหารงานทอ งถน่ิ กรมสงเสริมการปกครองทองถน่ิ
กระทรวงมหาดไทย
3. คูมือการเตมิ น้ำใตดินระดับต้ืน กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล
4. คมู อื การเลอื กพ้ืนที่บอเติมนำ้ ใตดนิ องคการบรหิ ารสว นตำบลบานผ้ึง อำเภอเมอื ง จังหวัดนครพนม
5. รายงานฉบับสุดทาย โครงการวจิ ยั การบริหารจดั การน้ำทว ม-นำ้ แลง ดวยนวตั กรรมเตมิ นำ้ ใตดนิ
บรเิ วณพ้นื ที่ อบต.บานผึง้ อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครพนม โดย คณะเกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลัยขอนแกน
6. นวตั กรรมธนาคารนำ้ ใตดินแบบพอเพยี ง อบต.เกาขาม อำเภอนำ้ ยืน จังหวัดอบุ ลราชธานี
7. หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0810.6/ว 3839 ลงวนั ท่ี 26 พฤษจิกายน 2561 เรอื่ ง การขอรบั
การสนับสนุนงบประมาณรายจา ยประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 โครงการเงนิ อุดหนุนเฉพาะกิจ เงินอดุ หนนุ
สำหรบั สนับสนนุ การกอ สรา ง/ปรบั ปรุงและพฒั นาการบริหารจัดการนำ้ ระบบธนาคารนำ้ ใตดิน (Groundwater
Bank) ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดวยศาสตรพ ระราชาใหแกอ งคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน
8. เวบ็ ไซต
- คลงั ขอมลู น้ำและภูมิอากาศแหงชาติ
http://tiwrmdev.haii.or.th/web/index.php/weatherinfo.html โดย สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้ และ
การเกษตร (องคก ารมหาชน)
- เวบ็ ไซตแ ผนทว่ี เิ คราะหเสน ทางและความแรงของพายใุ นอดีต จัดทำโดย มหาวิทยาลยั ฮาวาย,
Weather Underground. Inc.
- เว็บไซตแผนท่อี ากาศสำหรับประเทศไทย จดั ทำโดย กรมอุตุนยิ มวิทยา
- เวบ็ ไซต Thaiwater.net
- เว็บไซตแ ผนท่แี สดงการกระจายตวั 1) อณุ หภูมิ 2) ความชนื้ 3) ความกดของอากาศ ของ
ประเทศไทย ดว ยความรว มมอื ระหวางบรษิ ัทแอดวานซ อนิ โฟรเ ซอรวิส จำกดั (มหาชน) และสถาบนั สารสนเทศ
ทรพั ยากรน้ำ (องคการมหาชน)
- เวบ็ ไซตก รมทรัพยากรน้ำ https://www.dwr.go.th/
- เว็บไซตก รมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย http://www.disaster.go.th/th/index.php
- เวบ็ ไซตกรมพัฒนาที่ดิน https://www.ldd.go.th/
- เว็บไซตกรมทรัพยากรธรณี http://www.dmr.go.th/index_.php
- เว็บไซตกรมทรัพยากรนำ้ บาดาล http://www.dgr.go.th/th/intro
****************************************************
แผนงานโครงการบรหิ ารจัดการธนาคารนำ้ ใตดินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั ลพบุรี
25
บทที่ 4 รูปแบบของธนาคารนำ้ ใตด ิน
ธนาคารนำ้ ใตด นิ คือ การเตมิ น้ําใตด ินโดยการนำนา้ํ ทีเ่ หลอื ใชหรือชวงทน่ี ำ้ ทว มหลากเตมิ ลงสูใ ตดนิ ในพน้ื ท่ีทีม่ ี
ความเหมาะสม หรอื ในพนื้ ทที่ ่ีตอ งการ เปนการเกบ็ สะสมน้ำไวใ ช โดยฝากไวในใตด นิ เพือ่ ใหเกดิ ความชมุ ชนื้ ในดิน
และสามารถนำกลบั มาใชใ นชว งเวลาท่ีขาดแคลน และเพอื่ การอนุรกั ษส ิ่งแวดลอม และหากมีการเติมน้ำในปรมิ าณ
มากจะเปน การแกไ ขปญ หาการลดลงของระดบั น้าํ บาดาลจากการใชน ำ้ ทเี่ กินสมดลุ
4.1 รปู แบบธนาคารนำ้ ใตด ินระบบปด
คอื การขุดบอ เพือ่ เติมน้ำลงสูใตดินในชน้ั น้ําใตด นิ ระดบั ต้ืน เปน วิธีท่เี หมาะสำหรับประชาชนทว่ั ไป หรอื หนว ยงาน
สว นทองถ่นิ สามารถนำไปปรับใชแ ละดำเนนิ การไดเ องในพ้ืนท่ขี องตน เน่ืองจากมวี ธิ กี ารกอ สรางงาย ตน ทุนต่ำ
และไมซ บั ซอ น โดยทั่วไปการเติมน้ำใตด ิน มวี ัตถปุ ระสงคหลักทีแ่ ตกตางกันไป ข้นึ อยกู ับสภาพพ้ืนที่ ดงั นี้
1) ระดบั บา นเรอื นหรือชมุ ชน
1.1) แกไ ขปญ หานำ้ ทวมขัง
1.2) ตัดยอดนำ้ ไมใ หไหลลงสนู ำ้ ทา
1.3) เก็บนำ้ ใหด นิ มคี วามชมุ ชนื้
1.4) เพม่ิ เติมปริมาณนำ้ ใตดิน
แผนงานโครงการบรหิ ารจัดการธนาคารนำ้ ใตด นิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจังหวดั ลพบรุ ี
26
1.5) บรรเทาปญหาการขาดแคลนน้ำ โดยการกกั เกบ็ นำ้ หลากในฤดฝู นใวใ ชใ นฤดูแลง
2) ระดับพ้นื ทล่ี มุ น้ำ
2.1) ตดั ยอดนำ้ เพิ่มเติมปรมิ าณน้ำ
2.2) บรรเทาปญหาอทุ กภัย โดยการลดปรมิ าณน้ำหลากท่จี ะระบายลงสูแมน ำ้ สายหลัก
2.3) ลดการระเหยของน้ำทีก่ กั เกบ็ ไวใชในฤดูตาง ๆ โดยรวบรวมไปเก็บไวใตดิน
2.4) รกั ษาสมดุลของการไหลของลำน้ำในระบบนเิ วศวทิ ยา
2.5) ฟน ฟแู ละยกระดับนำ้ ใตด ินใหส งู ขึน้
2.6) ปอ งกันการรุกล้ำของนำ้ เค็มเขตชายฝง ทะเลในพื้นทีท่ มี่ ีปญหานำ้ เคม็
2.7) ปรบั ปรุงคณุ ภาพน้ำในบางพืน้ ที่
4.2 รปู แบบธนาคารน้ำใตดินระบบเปด (ระบบเตมิ นำ้ ผานสระ)
1) ขุดลอกตะกอนที่สะสมอุดตนั บรเิ วณกนสระ ใหอยูในสภาพพรอมใชงานอยูเสมอท้ังในสระเตมิ น้ำ และ
บอตกตะกอน
2) กรณสี ระเกบ็ น้าํ ทรี่ วบรวมนํ้าสำหรับเติมผานบอบาดาล จะตองดำเนินการเปา ลางบอเพื่อใหการเติมน้ำ
มีประสิทธภิ าพ
แผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารน้ำใตด ินแบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบรหิ ารสว นจังหวดั ลพบุรี
27
บทท่ี 5 การเลือกพ้ืนทีเ่ พื่อจดั ทำธนาคารนำ้ ใตด ินระบบปด และระบบเปด
แนวทางการพิจารณาพ้ืนท่ี
1. ความสงู ตำ่ ของพ้นื ท่ี
2. ทิศทางการไหลของนำ้
3. พืชพันธไุ ม และพน้ื ท่ีทางการเกษตร
4. สิ่งปลูกสราง และชุมชน
5. ขอมลู แหลงนำ้ ธรรมชาติ และทม่ี นษุ ยส รา งขน้ึ
6. ขอมลู นำ้ ผวิ ดนิ และน้ำใตด นิ
7. ปริมาณฝนที่ตกในพื้นทีเ่ ฉลี่ยตอ ป
8. ความสามารถในการกกั เกบ็ นำ้
9. ปริมาณความตองการการใชน ำ้
ปจจยั ในการคัดเลอื กพื้นท่เี ตมิ นำ้
1) พืน้ ทท่ี ม่ี กี ารใชนำ้ ใตด นิ ระดบั ตื้นเปน จำนวนมาก
2) ระดบั น้ำใตด ินมกี ารลดลงมาก
3) ขาดแคลนนำ้ ในชวงฤดแู ลง และมนี ้ำหลากในชว งฤดูฝน
4) ความลกึ ของช้นั นา้ํ ใตดนิ ตองไมล กึ เกิน 15 เมตร และมคี ณุ สมบตั ิการซึมผานทดี่ หี ลกี เล่ียงพ้นื ทเี่ ปน
ดินเหนียว
5) มแี หลงนำ้ ดบิ ท่ีสามารถใชเติมลงสชู น้ั น้ำใตด นิ
6) พ้ืนทม่ี คี วามเหมาะสม ไดร ับความรวมมอื จากประชาชน และหนวยงานในทอ งถ่ินในการจดั ทำ และ
การบำรงุ รกั ษาในระยะยาว
ศักยภาพของ 4 อำเภอเปา หมาย
อำเภอโคกเจริญ คือ อบต.ยางราก และอบต.โคกเจริญ เปนพื้นที่กลุมเขา อยูในพื้นที่เขตหินปูน หินเชิรต
หินดินดาน หนิ ทราย หินทรายเน้อื ภเู ขาไฟและหินภเู ขาไฟ โดยบรเิ วณนีม้ ีชั้นหินใหน ้ำท่ีเปนหินคารบอเนต มีบอน้ำ
บาดาลเดมิ จำนวน 74 แหง ความลกึ ในการพัฒนาช้ันดนิ เฉล่ียประมาณ 54.79 เมตร
อำเภอสระโบสถ คือ อบต.มหาโพธิ และอบต.ทุงทาชาง เปนพื้นที่กลุมเขา อยูในพื้นที่เขตหินปูน หินเชิรต
หินดินดาน หินทราย หินทรายเนื้อภูเขาไฟและหินภูเขาไฟ โดยบริเวณนี้มีช้ันหินใหน้ำที่เปนหินคารบอเนต มีบอ
บาดาลเดมิ จำนวน 20 แหง ความลึกในการพัฒนาชั้นดินเฉล่ียประมาณ 47.35 เมตร
อำเภอโคกสำโรง คือ อบต.ถลุงเหล็ก และอบต.หลุมขาว เปนพื้นที่ราบลุม อยูในพื้นที่เขตตะกอนน้ำพา กรวด
ทราย ทรายแปง และ ดนิ เหนียวสะสมตัวตามรองน้ำ คนั ดนิ แมน ำ้ และแอง น้ำทว มถึง โดยบริเวณนี้มีชั้นหินใหน้ำที่
เปนหินคารบอเนต มีพื้นที่น้ำทวมซ้ำซาก มีบอบาดาลเดิมจำนวน 6 แหง ความลึกในการพัฒนาชั้นดินเฉล่ีย
ประมาณ 56 เมตร
อำเภอบานหม่ี คือ อบต.บางกะพี้ดงพลับ อบต.พุคา อบต.หนองกระเบียน และอบต.หนองเมือง เปนพื้นท่ี
ราบลุม อยูในพื้นที่เขต ตะกอนน้ำพา กรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียวสะสมตัวตามรองน้ำคันดินแมน้ำ และ
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตดนิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบรหิ ารสวนจงั หวัดลพบุรี
28
แองน้ำทวมถึง โดยบริเวณนี้มีชั้นหินใหน้ำที่เปนหินคารบอเนต มีพื้นที่น้ำทวมซ้ำซากเปนบริเวณกวาง มีบอ
นำ้ บาดาลเดมิ จำนวน 25 แหง ความลกึ ในการพฒั นาชน้ั ดินเฉล่ยี ประมาณ 74.85 เมตร
แผนทีแ่ สดงอาณาเขตของ 4 อำเภอเปาหมาย
ทศิ ทางการไหลของนำ้ ของจังหวดั ลพบรุ ีกบั แนวทางการดำเนินโครงการพนื้ ท่ี 4 อำเภอเปา หมาย
ทิศทางการไหลของน้ำของพื้นท่ีจงั หวัดลพบุรี เปนการไหลจากทิศเหนอื ลงมาทิศใต และไหลจากทางทิศตะวันออก
มายงั ทิศตะวนั ตก ดงั น้ี
การไหลของน้ำจากทิศเหนือลงมาทิศใต คือ น้ำที่ไหลมาจากจังหวัดนครสวรรค จังหวัดเพชรบูรณ ไหลเขาสูพื้นที่
จังหวัดลพบุรี เริ่มนับจากอำเภอโคกเจริญ มาอำเภอสระโบสถ อำเภอหนองมวง อำเภอโคกสำโรง
อำเภอบานหม่ี และอำเภอเมอื งลพบรุ ี
การไหลของน้ำจากทางทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก คือน้ำที่ไหลมาจากจังหวัดชัยนาท สิงหบุรี นครสวรรค
ไหลผา นพ้นื ทจี่ ังหวัดลพบุรี ไปยงั จงั หวัดสระบรุ ี
สวนปญหาน้ำทวมซ้ำซากของอำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี เกิดจากน้ำที่ไหลมาจากจังหวัดนครสวรรค
อำเภอตากฟา ตำบลลาดทพิ รส ไหลมายงั อำเภอบานหมี่ ซ่งึ ในพ้นื ท่ไี มม ีฝายกัน้ น้ำ เม่ือมวลน้ำเดนิ ทางมาถึงผลคือ
เกิดน้ำทวมขึ้นทันที จากนั้นมวลน้ำจะไหลเขาสูตำบลหนองเมืองซึ่งเปนจุดศูนยรวมน้ำที่ไหลมาจาก
ตำบลชอนมวง และตำบลดอนดึงอีกดวย มวลน้ำกอนนี้จะไหลไปรวมกับน้ำที่ระบายมาจากอางเกาะแกว
แผนงานโครงการบริหารจัดการธนาคารนำ้ ใตด ินแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององคก ารบริหารสวนจงั หวดั ลพบรุ ี
29
ตรงบริเวณตำบลบานกลวย กลายเปนมวลน้ำขนาดใหญ ซึ่งไมสามารถไหลตอไปไดเนื่องจากมีคลองอนุศาสนนันท
กั้นทางน้ำอยู แนวทางการแกไขก็คือพยายามสงมวลน้ำผิวดินที่มีอยูอยางมากมายนี้ลงไปเก็บไวใตดิน ซึ่งสามารถ
เก็บน้ำไดโดยไมตองขุดสระขนาดใหญใหเสียพื้นที่ เมื่อสามารถเติมน้ำลงสูไดดินไดมากก็จะสามารถขุดบอบาดาล
เอานำ้ ขึ้นมาใชไ ดใ นอนาคต
แรกเรมิ่ ของการดำเนนิ โครงการคงไมสามารถทำธนาคารนำ้ ใตด ินเตม็ ระบบได เนอื่ งจากพ้นื ท่ที ี่เปน ปญ หา
ของจังหวัดลพบรุ ีกวา งใหญมาก การดำเนนิ โครงการจึงตอ งทำในลักษณะภาพรวม คอื การทำธนาคารน้ำใตด ินเพื่อ
ชะลอการไหลของนำ้ เปนระยะ ๆ ตัง้ แตพ น้ื ที่ของอำเภอโคกเจรญิ อำเภอสระโบสถ อำเภอโคกสำโรง และอำเภอ
บา นหม่ี ควรกำหนดพ้นื ทีห่ ลักเพื่อทำการกกั น้ำและเตมิ น้ำลงไตด ินขนาดใหญเพ่อื ชว ยลดปรมิ าณนำ้ กอ นจะไหลลง
มาทตี่ ำบลดอนดึง ตำบลหนองกระเบียน สว นตำบลหนองเมอื งกเ็ ปนอกี พ้ืนทห่ี นึง่ ทเี่ หมาะสมทจ่ี ะกำหนดใหเปน
พื้นที่หลักในการกกั นำ้ ไวท ้ังผวิ ดนิ และเติมน้ำลงสูใตดนิ ขนาดใหญ กอนทน่ี ้ำจะไหลลงมาทางทศิ ใต เขา สอู ำเภอ
เมอื งลพบรุ ผี า นทางตำบลเขาพระงาม ตำบลทา แค และบรเิ วณหมบู านสิรัญญา ตำบลถนนใหญ ดงั นั้นจงั หวัด
ลพบรุ จี ึงควรมกี ารบรหิ ารจัดการน้ำดว ยระบบธนาคารนำ้ ใตด ินใหครอบคลุมพ้นื ทีท่ ้งั 4 อำเภอดังกลา ว เพือ่ ชว ย
ชะลอการไหลของน้ำ ลดพ้นื ทแ่ี ละระยะเวลาการทว มขงั ของน้ำ ซึ่งจะชว ยลดความเสยี หายและผลกระทบที่เกิด
จากนำ้ ทว มใหก บั ประชาชนได
แผนงานโครงการบรหิ ารจัดการธนาคารนำ้ ใตด นิ แบบบูรณาการ พ.ศ. 2564 ขององคการบริหารสวนจงั หวัดลพบุรี
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด นิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
30
สรปุ ธนาคารน้ำใตดนิ
ที่จะดำเนินการ
- ระบบปด จำนวน 43 แหง
- ระบบเปด จำนวน 9 แหง
คก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั ลพบรุ ี
พ้นื ท่อี ำเภอโคกเจร
รายชื่อ อปท. พน้ื ทด่ี ำเนินโครงการแกไขปญ หาภัยแลงและนำ้ ทวมแบบยงั่
อำเภอโคกเจรญิ จำนวนระบบปด จำนวนระบบเปด
อบต.ยางราก (บอ) (บอ )
2 1. ทีด่ นิ สาธารณประโยชน
2. ทีด่ ินสาธารณประโยชน
อบต.โคกเจริญ 4 1. ท่ดี ินสาธารณประโยชน
2. ท่ดี นิ สาธารณประโยชน
3. ทด่ี นิ สาธารณประโยชน
4. ทด่ี ินสาธารณประโยชน
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารนำ้ ใตดนิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค
31
รญิ ทจ่ี ะดำเนนิ การ เบอรโทรผตู ดิ ตอ
ประสานงาน
งยนื (ธนาคารน้ำใตดนิ ) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
สถานที่ดำเนนิ โครงการ
บรเิ วณสระเพลง หมู 4 บานสระเพลง นายกณั ตภณ ใจหาญ
บริเวณสระเก็บนำ้ วังตาอินทร หมู 1, 10 บานวงั ตาอินทร, บานวงั ตาอนิ รองนายก อบต.ยางราก
084-4932216
หมู 5 บา นโคกเจริญ นายเจริญชัย แกวคง
หมู 5 บา นโคกเจรญิ ผชู วยนักสนั ทนาการ
หมู 5 บา นโคกเจริญ อบต.โคกเจริญ
หมู 5 บานโคกเจริญ โทร 061-4703715
คก ารบรหิ ารสว นจังหวัดลพบุรี
แผนงานโครงการบริหารจดั การธนาคารน้ำใตด นิ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2564 ขององค