The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คร้งที่ 2 _โลกขอสิ่งมีชีวิต.ppt

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cih.school57, 2021-02-20 02:38:00

คร้งที่ 2 _โลกขอสิ่งมีชีวิต.ppt

คร้งที่ 2 _โลกขอสิ่งมีชีวิต.ppt

Introduction to
Biology

อ.จนั ทร์จริ า พรมอนิ ทร์
คณะวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ

1

Outline 2
1. หลกั การพืน้ ฐานทางชีววทิ ยา
2. องค์ประกอบของชีววทิ ยา
3. สาขาการศึกษาด้านชีววทิ ยา
4. ฐานรากของชีววทิ ยายคุ ใหม่

อ.ภก. จิรเดช มลู รัตน์

1. หลกั การพืน้ ฐานทางชีววทิ ยา

3

หลกั การพืน้ ฐานทางชีววทิ ยา

ชีววิทยา (Biology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คาคือ Bio = Life และ
Logos = Knowledge ซึ่งมคี วามหมายรวมกนั คือความรู้เกย่ี วกบั ชีวติ

ชีววิทยา จึงหมายถึงการศึกษาเก่ียวกับส่ิงมีชีวิต ซึ่งมีหั วข้อหลักคือ
การศึกษาส่ิงมีชีวติ ออกใน 2 ด้านคือ
❖ ส่ิงมชี ีวติ ดารงค์อยู่ได้อย่างไร
❖ ส่ิงมีชีวติ มอี นั ตรกริ ิยากบั ชีวติ อ่ืนและสภาพแวดล้อมอย่างไร

4

หลกั การพืน้ ฐานทางชีววทิ ยา

การศึกษาทางชีววิทยาเป็ นวิชาท่ีมีขอบข่ายกว้างมาก เนื่ องจาก
สิ่งมีชีวิตมีจานวนมากมาย สามารถแบ่งสาขาอย่างหยาบได้ 2
ประเภท คือ

– ชีววทิ ยาโบราณ ตัวอย่างเช่น พฤกษศาสตร์ (Botany) สัตววทิ ยา
(Zoology) แพทย์ศาสตร์ (Medicine)

– ชีววิทยาสมัยใหม่ เช่น ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ทฤษฎียีน
(Gene Theory)

อ.ภก. จิรเดช มลู รัตน์ 5

2. องค์ประกอบของชีววทิ ยา

6

องค์ประกอบของชีววทิ ยา มี 2 ส่วน คือ

2.1 กระบวนการ (Process) หมายถึง วธิ ีการทใ่ี ช้ในการค้นคว้าหาข้อเทจ็ จริงของ
ปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ เป็ นวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) โดยมี
ข้ันตอนดงั นี้

2.1.1 การสังเกต (Observation) เป็ นการรวบรวมข้อเทจ็ จริงที่เกดิ ขึน้ ในธรรมชาตอิ ย่าง
ละเอยี ดรอบคอบตรงกบั ความเป็ นจริง ไม่นาความคดิ เห็นเข้าไปปะปนกบั ข้อมูลจาก
การสังเกต

2.1.2 การกาหนดปัญหา (Problem)

❖เกดิ จากความช่างคดิ ช่างสงสัยหรือการสังเกตพบข้อเทจ็ จริงที่ขัดแย้งกบั ส่ิงท่ี
เคย

❖ปัญหาทด่ี ตี ้องชัดเจนไม่คลุมเครือมคี ุณค่าทางวทิ ยาศาสตร์ และตรวจสอบ
พสิ ูจน์ได้ด้วยการทดลอง

❖การเสาะหาปัญหาใหม่ๆ ตลอดเวลาช่วยให้เกดิ ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์

อ.ภก. จิรเดช มูลรัตน์ 7

2.1.3 การต้งั สมมติฐาน (Hypothesis)
❖ เป็ นการคาดคะเนคาตอบอย่างมีเหตุผล อาจถูกหรือผดิ กไ็ ด้
❖สมมติฐานทดี่ คี วรเป็ นดงั นี้

1. กะทดั รัด ชัดเจน เข้าใจง่าย
2. แนะช่องทางตรวจสอบสมมตฐิ านได้ นิยมใช้ “ถ้า....แสงแดดมี

ความสาคญั ในการสังเคราะห์แสง....ดงั น้ัน....พืชทแ่ี สงแดดส่องถงึ จะ
เจริญเตบิ โตมากกว่าพืชทแี่ สงแดดส่องไม่ถึง”
3. สมมตฐิ านที่ดจี ะต้องมคี วามสัมพนั ธ์กบั ปัญหาและข้อเทจ็ จริงทรี่ วบรวม
ได้จากการสังเกต

8

2.1.4 การตรวจสอบสมมตฐิ าน (Testing The Hypothesis)

❖เป็ นข้นั ตอนการพสิ ูจน์ว่าสมมติฐานถูกต้องหรือไม่ ซ่ึงทาได้หลายวิธี คือ
1. รวบรวมข้อเทจ็ จริงจากการสังเกตปรากฏการณ์ในธรรมชาตโิ ดยตรง
2. การศึกษาค้นคว้ารวบรวมจากเอกสารหรือผลงานวจิ ยั ต่างๆ ทมี่ ีผู้อื่นศึกษา
มาก่อน
3. การทดลอง (Experiment) นิยมใช้กนั มากทสี่ ุดในทางวทิ ยาศาสตร์โดยมี
การวางแผน หรือออกแบบการทดลองอย่างรอบคอบรัดกมุ เพ่ือให้ผลการ
ทดลองเป็ นทยี่ อมรับได้และมีความน่าเช่ือถือทางวทิ ยาสาสตร์

9

2.4 การตรวจสอบสมมติฐาน (Testing The Hypothesis) (ต่อ)

❖ ตวั แปรที่เกยี่ วกบั การทดลอง (Variable) ซึ่งมีอยู่ 3 ชนิด ดงั นี้

1. ตัวแปรต้นหรือตวั แปรอสิ ระ (Independent Variable) หมายถึง ตวั แปรท่ี

ต้องการศึกษาหรือเป็ นสาเหตุของส่ิงทตี่ ้องการตรวจสอบ

2. ตวั แปรตาม (Dependent Variable) หมายถงึ ตัวแปรทเ่ี ป็ นผลซ่ึงเกดิ จาก
ตวั แปรต้น

3. ตัวแปรควบคุม (Controlled Variable) หมายถึง ตวั แปรอ่ืนๆ ทีอ่ าจมีผล
ต่อการทดลอง และไม่ต้องการศึกษาผลของตวั แปรเหล่านีจ้ ึงต้องควบคุม
ให้คงท่ี

2.1.5 การวเิ คราะห์และสรุปผล (Analysis And Conclusion) เป็ นการนาข้อมูล

จากการทดลองมาหาความสัมพนั ธ์กนั เพื่ออธิบายและสรุปว่าสมมตฐิ าน

ถูกต้องหรือไม่ 10

ตัวอย่าง

1. การสังเกต : นักศึกษาสังเกตุเห็นต้นกหุ ลาบทไ่ี ส่ป่ ุยจะเจริญเติบโตและออกดอก
มากมาย

2. กาหนดปัญหา : ป๋ ุยคอกทาให้กหุ ลาบออกดอกมากขึน้ หรือไม่

3. ต้งั สมมติฐาน : ถ้าป๋ ุยคอกมีผลต่อการออกดอกของกหุ ลาบ ดงั น้ันกหุ ลาบ
ทไ่ี ด้รับป๋ ุยคอกย่อมออกดอกมากกว่ากหุ ลาบทไี่ ม่ได้รับป๋ ุย
คอก

3.1 ตวั แปรต้น : ป๋ ุยคอก
3.2 ตัวแปรตาม : การออกดอกของกหุ ลาบ
3.3 ตวั แปรควบคุม : ชนิดกหุ ลาบ ดนิ นา้ แสง แหล่งทป่ี ลูก อณุ หภูมิ ฯลฯ

11

ตวั อย่าง

4. ทดลอง : แบ่งดอกกหุ ลาบออกเป็ นสองกล่มุ คือ 1. กหุ ลาบทใี่ ส่ป๋ ุยคอกออกและ
2. กหุ ลาบทไ่ี ม่ใส่ป๋ ุยคอกออก ปลูกไว้ระยะเวลาหน่ึงแล้ววดั การเจริญเตบิ โต
และการออกดอกของกหุ ลาบท้งั สองกล่มุ พร้อมกนั

5. ผลการทดลอง : กหุ ลาบทใ่ี ส่ป๋ ุยคอกออกดอกมากกว่ากหุ ลาบทไ่ี ม่ใส่ป๋ ุยคอก
6. สรุปผลการทดลอง : ป๋ ุยคอกทาให้กหุ ลาบออกดอกมากขนึ้

12

2. องค์ประกอบของชีววทิ ยา

2.2 องค์ประกอบด้านความรู้ (Knowledge) หมายถึง ผลทเ่ี กดิ จากการศึกษา
ค้นคว้าโดยใช้กระบวนการทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คือ
2.2.1 ข้อเทจ็ จริง (Fact) หมายถงึ ความจริงทปี่ รากฏในธรรมชาติ สามารถ
สังเกตได้โดยตรง ข้อเทจ็ จริงในธรรมชาติย่อมถูกต้องเสมอ

2.2.2 ข้อมูล (Data) หมายถงึ ส่ิงทไี่ ด้จากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ
หรือการทดลองหรือเอกสารจากการวิจยั ต่างๆ ซึ่งนามารวบรวมไว้อย่าง
เป็ นระบบ การสังเกตน้ันอาจผดิ พลาดได้ถ้าผู้ทส่ี ังเกตไม่มีความละเอยี ดถี่
ถ้วนพอ

13

2. องค์ประกอบของชีววทิ ยา

2.2.3 ทฤษฎี (Theory) หมายถงึ สมมตฐิ านทผี่ ่านการตรวจสอบ
หลายๆ คร้ังจนสามารถนามาอธิบายหรือทานายข้อเทจ็ จริงอ่ืนได้

2.2.4 กฎ (Law) หมายถงึ ทฤษฎที สี่ ามารถอธิบายปรากฏการณ์ใน
ธรรมชาตไิ ด้อย่างกว้างขวางเป็ นเวลานานจนเป็ นที่ยอมรับสามารถ
ทดสอบผลได้เหมือนเดมิ ทุกๆ คร้ังโดยไม่มขี ้อโต้แย้งใดๆ

14

3. สาขาการศึกษาด้านชีววทิ ยา

15

3. สาขาการศึกษาด้านชีววทิ ยา

การศึกษาด้านชีววทิ ยา มีหลายสาขาวชิ า ได้แก่
3.1 สัตววทิ ยา (Zoology) ศึกษาเกย่ี วกบั เร่ืองสัตว์ เช่น

– Protozoology ศึกษาเกย่ี วกบั โพรโทซัว
– Entomology ศึกษาเกยี่ วกบั แมลง
– Carcinology ศึกษาเกยี่ วกบั ก้งุ ปู ก้งั ตก๊ั แตน
– Acarology ศึกษาเกยี่ วกบั เห็บและไร

16

สัตววทิ ยา (Zoology)

อ.ภก. จิรเดช มลู รัตน์ 17

3. สาขาการศึกษาด้านชีววทิ ยา

การศึกษาด้านชีววิทยา มีหลายสาขาวชิ า ได้แก่
3.1 สัตววทิ ยา (Zoology) ศึกษาเกย่ี วกบั เรื่องสัตว์ (ต่อ)

– Apiculture ศึกษาเกย่ี วกบั ผงึ้
– Malacology ศึกษาเกยี่ วกบั หอย
– Ichthyology ศึกษาเกยี่ วกบั ปลา
– Mammalogy ศึกษาเกย่ี วกบั สัตว์เลยี้ งลกู ด้วยนา้ นม

18

3.2 พฤกษศาสตร์ (Botany) ศึกษาเกย่ี วกบั เร่ืองพืช เช่น

- Phycology หรือ Algology ศึกษาเกยี่ วกบั สาหร่าย
- Mycology ศึกษาเกย่ี วกบั เห็ดรา
- Bryology ศึกษาเกยี่ วกบั มอสส์ ลเิ วอร์เวิร์ตและฮอร์นเวริ ์ต
- Pteridology ศึกษาเกย่ี วกบั เฟิ ร์น
- Dendrology ศึกษาเกย่ี วกบั ไม้ยืนต้น

19

พฤกษศาสตร์ (Botany)

อ.ภก. จิรเดช มลู รัตน์ 20

3.3 จุลชีววทิ ยา (Microbiology) ศึกษาเกย่ี วกบั สิ่งมีชีวติ ขนาดเลก็ ที่มองด้วยตา
เปล่าไม่เห็น เช่น
- Virology ศึกษาเกย่ี วกบั ไวรัส
- Bacteriology ศึกษาเกย่ี วกบั แบคทเี รีย

21

จุลชีววทิ ยา (Microbiology)

อ.ภก. จิรเดช มูลรัตน์ 22

3.4. การศึกษาชีววทิ ยาด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น

- สรีรวทิ ยา (Physiology) ศึกษาเกย่ี วกบั กลไกการทางานและหน้าท่ขี อง
อวัยวะต่างๆ ของส่ิงมีชีวติ

- สัณฐานวทิ ยา (Morphology) ศึกษาเกยี่ วกบั รูปร่างลกั ษณะโครงสร้าง
ภายนอกของส่ิงมชี ีวติ

- กายวภิ าคศาสตร์ (Anatomy) ศึกษาเกยี่ วกบั โครงสร้างภายในของส่ิงมีชีวติ
- ปรสิตวทิ ยา (Parasitology) ศึกษาเกย่ี วกบั ปรสิตชนิดต่างๆ ในสิ่งมีชีวติ

23

3.4. การศึกษาชีววทิ ยาด้านการแพทย์และสาธารณสุข เช่น

- คพั ภะวทิ ยา (Embryology) ศึกษาเกย่ี วกบั การเจริญเตบิ โตของตวั อ่อนของ
สิ่งมีชีวติ ชนิดต่างๆ

- เซลล์วทิ ยา (Cytology) ศึกษาเกย่ี วกบั โครงสร้างและหน้าทข่ี องเซลล์
- พนั ธุศาสตร์ (Genetics) ศึกษาเกย่ี วกบั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

ของส่ิงมชี ีวติ

24

4. ฐานรากของชีววทิ ยายคุ ใหม่

❖วชิ าชีววทิ ยาเป็ นวทิ ยาศาสตร์ การศึกษาหาความรู้ทางชีววทิ ยาจึงต้องใช้
วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ มีหลกั การกว้างๆในทางชีววทิ ยาอยู่ 4 หลกั การคือ

4.1. ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ) คือทฤษฎีท่ีบอกว่าส่ิงมีชีวิตท้ังหลาย
ประกอบไปด้วยเซลล์อย่างน้อยสุดหน่ึงเซลล์ นอกจากนีส้ ่วนประกอบทาง
เคมีของเซลล์ในสิ่งมีชีวิตท้ังหลายจะเหมือนกัน และเกิดจากเซลล์ที่มีอยู่
ก่อน โดยกระบวนการแบ่งเซลล์

4.2. วิวัฒนาการ (Evolution) คือทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ และ
การเปล่ียนความถ่ียีนอย่างไม่เจาะจง (Genetic Drift) หรือลักษณะทาง
พนั ธุกรรมจะเปลยี่ นแปลงจากรุ่นสู่รุ่น

25

4. ฐานรากของชีววทิ ยายุคใหม่

4.3. ทฤษฎียีน (Gene Theory) คือทฤษฎีท่ีบอกว่าลักษณะทาง
พันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตเป็ นรหัสในรูป DNA ซ่ึงเป็ นส่วนประกอบหลัก
ของยนี และสามารถถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมจากช่ัวรุ่นหนง่ึ สู่ชั่ว
รุ่นถัดไป
4.4. ภาวะธารงดุล (Homeostasis) คือกระบวนการทางสรีรวิทยาที่จะ
ทาให้กระบวนการภายในสิ่งมีชีวติ ดารงอยู่ได้ต่อสภาพแวดล้อมภายนอก
ทอี่ ยู่รอบๆ

26

ทฤษฎเี ซลล์ (Cell Theory)

มีใจความสาคญั 3 ประการคือ
1. สิ่งมีชีวิตท้ังหลายอาจมีเพียงเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ซึ่งภายในเซลล์มีสาร

พนั ธุกรรมและกระบวนการเมทาบอลซิ ึม ทาให้ส่ิงมีชีวติ ดารงชีวติ อยู่ได้
2. เซลล์เป็ นหน่วยพื้นฐานที่เล็กทีสุดของสิ่งมีชีวิต ท่ีมีการจัดระบบการทางาน

ภายในโครงสร้างของเซลล์
3. เซลล์มีกาเนิดมาจากเซลล์แรกเร่ิม เซลล์เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ เดิม

แม้ว่าชีวิตแรกเริ่มจะมีวิวัฒนาการมาจากส่ิงไม่มีชีวิต แต่นักชีววิทยายังเช่ือว่า
การเพม่ิ ขึน้ ของจานวนเซลล์เป็ นผลสืบเน่ืองมาจากเซลล์รุ่นก่อน

27

ววิ ฒั นาการ (Evolution)

ใจความสาคญั คือ
ส่ิงมีชีวิตท้ังหลายเม่ือเกิดมาจะมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปซ่ึงเป็ นไป
ตามทฤษฎขี อง ชาร์ล ดาร์วนิ (Charls Darwin) คือมแี รงผลกั ดนั ทาให้เกดิ การ
คดั เลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection)

วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการคือวิชาวิวัฒนาการชาติพันธ์ุ (Phylogeny)
เป็ นการศึกษาถึงประวัติวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงอธิบายถึงสิ่งมีชีวิต
หลายๆ ชนิดทมี่ แี หล่งววิ ฒั นาการร่วมกนั มา

อ.ภก. จิรเดช มลู รัตน์ 28

ววิ ฒั นาการ (Evolution)

การศึกษาเก่ียวกับวิวัฒนาการต้องมีข้อมูลเป็ นจานวนมากรวมท้ังการ
เปรียบเทียบลาดับเบส (DNA Sequencing) ซึ่งเก่ยี วข้องกับชีววิทยาโมเลกุล
(Molecular Biology) และจีโนม (Genomics) และเปรียบเทียบกบั ซากดึกดา
บรรพ์ (Fossils) หรือบันทึกส่ิงมีชีวิตโบราณในสาขาวิชาบรรพชีวินวิทยา
(Paleontology)

29

ทฤษฎยี นี (Gene Theory)

ใจความสาคญั คือ
ยนี ในสิ่งมีชีวติ ท้งั หลายมี C เป็ นองค์ประกอบพืน้ ฐาน C เป็ น
แกนหลกั ของโมเลกลุ ทจี่ ะทาให้เกดิ ชีวติ ท้งั หลายทเ่ี รารู้จกั กนั ดี

ส่ิงมชี ีวติ ทอ่ี ยู่บนโลกท้งั หมดมีสารทางพนั ธุกรรม คือ DNA และ
RNA เป็ นข้อมูลทางพนั ธุกรรม

30

แสดงแผนผงั ของดเี อน็ เอ วสั ดุทางพนั ธุกรรม

31

ภาวะธารงดุล (Homeostasis)

❖คือความสามารถในการควบคุมสภาพแวดล้ อมภายในร่ างกายเพ่ือ
รักษาสภาวะคงที่เพื่อให้สามารถดารงค์ชีวิตได้ในส่ิงแวดล้อม หรือที่
เรียกว่าสมดุลพลวตั ิ (Dynamic Equilibrium) เช่น
❖เซลล์จะรักษาเสถยี รภาพความเป็ นกรดเบสไว้คงทคี่ วามเป็ นกลาง
❖สัตว์เลือดอุ่นจะรักษาอุณหภูมิร่างกายให้คงท่ี เช่น คนและ สัตว์
เลยี้ งลูกด้วยนม นกและสัตว์ปี ก จะมอี ณุ หภูมคิ งทต่ี ลอดเวลา

32

ชีววทิ ยา มีความสาคญั ต่อชีวติ ความเป็นอยขู่ องมนุษย์

ชีววทิ ยา มีความสาคญั ต่อชีวิตความเป็นอยขู่ องมนุษย์ ท้งั โดย
ทางตรงและทางออ้ มเป็น อยา่ งมากเช่น
1.ด้านโภชนาการ เรานาความรู้ทางชีววทิ ยาไปใชป้ ระโยชนใ์ นทาง
โภชนาการ เช่น การเลือก ชนิดของอาหาร การบริโภค อาหารใหถ้ ูก
สดั ส่วน นาความรู้ทางชีววิทยาไปใชเ้ พมิ่ ผลผลิตอาหาร ในทาง
การเกษตรโดยการปรับปรุงพนั ธุพ์ ืชและสัตว์ โดยอาศยั ความรูใ้ นสาขา
พนั ธุศาสตร์ ชีวเคมีและ โภชนาการ ฯลฯ

33

2.ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เกี่ยวกบั การดูแลรักษาร่างกาย การ
ป้องกนั โรคและการ รักษาโรค ซ่ึงชีววิทยา เป็นพ้ืนฐานสาคญั ในทาง
แพทยศาสตร์และสาธารณสุข
3.การควบคุมศัตรูพืชและสัตว์์ โดยอาศยั ความรู้ทางชีววทิ ยาในสาขา
อนุกรมวิธาน นิเวศวทิ ยา โดยเฉพาะการควบคุม ศตั รูพชื และสตั วโ์ ดย
วิธีทางชีววธิ ี (Biological Control)

34

4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกนั มลภาวะของ
สิ่งแวดล้อม หมายถึงการใชท้ รัพยากร ใหค้ ุม้ คา่ และใชไ้ ดน้ านโดยไม่
เป็นอนั ตรายต่อสิ่งแวดลอ้ ม
5.การพฒั นาประเทศในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะดา้ นเศรฐกิจ เช่น พชื ผกั
ธญั พืช ท่ีใช้ บริโดภคและส่งเป็นสินคา้ ออก การใชพ้ ลงั งานทดแทน เช่น
มูลสตั ว์ ซากสตั ว์ ใชผ้ ลิตก๊าซ ชีวภาพออ้ ยและมนั สาปะหลงั ใชผ้ ลิต
แอลกอฮอล์ สิ่งเหล่าน้ีตอ้ งใชค้ วามรู้พ้ืนฐานทาง พฤกษศาสตร์และสาขา
อ่ืน ๆ ทางชีววทิ ยาร่วมกนั เป็นอยา่ งมาก

35

การจาแนกทางชีววทิ ยา

การศึกษาชีววิทยาจาแนกออกเป็นแขนงต่างๆมากมายโดยจดั เป็นกลมุ่
ใหญ่ ๆได้ 2 กลุ่ม คือ
1.จาแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวติ

1) พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวิทยา (Botany)
2 ) สัตวศาสตร์ หรือ สัตววทิ ยา (Zoology)
2. จาแนกตามวธิ ีการของการศึกษาถงึ ส่ิงมชี ีวติ
1) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวติ แต่ละหน่วย
2) ศึกษาถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่เป็นเหล่าสมั พนั ธ์กนั

36

จาแนกตามธรรมชาตขิ องส่ิงมีชีวติ
จาแนกได้ 2 กลุ่ม คือ

1. พฤกษศาสตร์ หรือ พฤกษวทิ ยา (Botany)

ศึกษาเก่ียวกบั พืช ซ่ึงยงั แยกออกเป็น กลุ่มยอ่ ย ๆ ไดอ้ ีกมากมายเช่น
ตฤณวทิ ยา (Agrostology) ศึกษาเก่ียวกบั หญา้

37

2. สัตวศาสตร์ หรือ สัตววทิ ยา (Zoology)

ศึกษาเกี่ยวกบั สตั ว์ ซ่ึงแยกออกเป็น.กลุ่มยอ่ ย ๆ ไดอ้ ีก
มากมาย เช่น สงั ขวทิ ยา ศึกษาเกี่ยวกบั หอย มีนวทิ ยา ศึกษา
เก่ียวกบั ปลา ปักษีวทิ ยาศึกษาเกี่ยวกบั นก เป็นตน้

38

จาแนกตามวธิ ีการของการศึกษาถึงสิ่งมีชีวติ
จาแนกได้ 2 กลุ่มคือ

1. ศึกษาถงึ ส่ิงมชี ีวติ แต่ละหน่วย แบ่งเป็น 3 แขนง ยอ่ ยๆ คือ
- สั ณฐานวิทยา (Morphology) ศึกษาเก่ียวกับ รู ปร่ าง ลักษณะและ

โครงสร้าง ของสิ่งมีชีวิตท้งั ภายในและภายนอก ยงั จาแนก ยอ่ ยลงไปได้
อีกคือ

ก. กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ศึกษา เก่ียวกับ โครงสร้าง ได้แก่
กระดูกและกลา้ มเน้ือ โครงสร้าง ของ ระบบต่าง ๆ

39

ข. เซลลว์ ทิ ยา (Cytology) ศึกษาเก่ียวกบั เซลล์

40

ค. มิชญวทิ ยา (Histology) ศึกษาเกี่ยวกบั เน้ือเยอ่ื

41

- สรีรวทิ ยา (Physiology) ศึกษาเกี่ยวกบั หนา้ ท่ีและ การทางาน
ของระบบต่างๆ ภายใน สิ่งมีชีวติ

42

- คพั ภวทิ ยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกบั การ เจริญเติบโต
เปล่ียนแปลงข้นั ต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิตต้งั แต่ ตวั อ่อนจนถงึ ตวั เตม็ วยั

43

2. ศึกษาถงึ ส่ิงมีชีวติ เป็ นหมู่เป็ นเหล่าสัมพนั ธ์กนั จาแนก เป็นสาขายอ่ ย
ๆ 5 สาขา ดว้ ยกนั คือ
- อนุกรมวธิ าน (Taxonomy) ศึกษาเก่ียวกบั การจดั หมวดหมู่ของ
สิ่งมีชีวิต

44

- นิเวศนว์ ิทยา (Ecology) ศึกษาเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ ง
สิ่งมีชีวติ กบั สิ่งมีชีวติ และ ส่ิงมีชีวติ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม

45

- ชีวภูมิศาสตร์ (Biogeography) ศึกษา เกี่ยวกบั การกระจายพนั ธุ์
ของส่ิงมีชีวติ ไปตามเขต ภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก

46

- พนั ธุศาสตร์ (Genetics) ศึกษาเก่ียวกบั การถ่ายทอด ลกั ษณะต่าง ๆ
ของ ส่ิงมีชีวติ จาก บรรพบุรุษไปสู่ลูกหลาน และ ปัจจยั ในการควบคุม
ลกั ษณะความคลา้ ยคลึง และความแตกต่าง ของส่ิงมีชีวิตน้นั ๆ

47

- ววิ ฒั นาการ (Evolution) ศึกษาเกี่ยวกบั ความกา้ วหนา้ ในการ
เจริญเติบโต ของส่ิงมีชีวิตจากอดีตจนถึง ปัจจุบนั วา่ มี การเปล่ียนแปลง
อยา่ งไรบา้ ง

48

จบแล้วค่ะ


Click to View FlipBook Version