The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tadnee Khotchasee, 2019-06-04 02:59:53

project

project

[ช่ือรองของเอกสาร]

ศึกษาการใช้พืชสมุนไพรยับย้ังเชื้อแบคทีเรียในกบนาท่ีเป็ นโรคตาขุ่น ทจ่ี ดั รูปแบบ: ฟอนต:์ 18 pt, ฟอนตภ์ าษาทซ่ี บั ซอ้ น: 18 pt
ทจ่ี ดั รปู แบบ: ฟอนต:์ 18 pt, ฟอนตภ์ าษาทซี่ บั ซอ้ น: 18 pt
ทจี่ ดั รูปแบบ: สว่ นหวั ของหนา้ แรกตา่ งกัน

ทศั นยี ์ คชสีห์ ทจ่ี ดั รปู แบบ: ฟอนต:์ 7 pt, ฟอนตภ์ าษาทซี่ บั ซอ้ น: 7 pt
ทจี่ ดั รูปแบบ: ฟอนต:์ (คา่ เรมิ่ ตน้ ) EucrosiaUPC, 16 pt, ตัวหนา,
ฟอนตภ์ าษาทซี่ บั ซอ้ น: EucrosiaUPC, 16 pt, ตัวหนา
ทจี่ ดั รูปแบบ: ฟอนต:์ 7 pt, ฟอนตภ์ าษาทซ่ี บั ซอ้ น: 7 pt

ผลการเสริมบวั บก (Centella asiatica) และไพล (Zingiber montanum) ในอาหาร
ต่อสมรรถภาพการผลิตและสขุ ภาพโดยรวมของกบนา (Rana rugulosa)

Effect of Indian Penny Wort (Centella asiatica) and Phlai (Zingiber montanum)
Supplementation in feed on Growth Performance and Health
of Common Lowland Frog (Rana rugulosa)

ทศั นีย์ คชสีห1์ * ปภาศริ ิ บารเ์ นต2 อรพนิ ท์ จนิ ตสถาพร3 วรมติ ร ศลิ ปชยั 4 และ สุรเชษฐ์ จนั ทรป์ ระเสรฐิ 4
Tadsanee Choshasee1*, Praparsiri Barnette2, Orapin Jintasthaporn3, Woramit Silapachai4
and Surachead Junprasirt4

บทคดั ย่อ

การเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารตอ่ สมรรถภาพการผลติ และสุขภาพโดยรวมของกบนา ทาการศกึ ษา
โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ ตลอด ซ่งึ แบ่งเป็น 7 กลุ่มทดลอง กลมุ่ ละ 3 ซ้า ไดแ้ ก่ อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ
บวั บกและไพล และอาหารเสรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั เสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 1.5
และ 2.5 %โดยน้าหนกั พบวา่ กบทดลองมนี ้าหนกั เพมิ่ เฉลย่ี อตั ราการรอดตาย คา่ ฮมี าโตครติ และจานวน
เมด็ เลอื ดขาวเมอ่ื สน้ิ สดุ ระยะเวลาทดลอง 3 เดอื น ไมม่ คี วามแตกต่างกนั ทางสถติ ิ (p>0.05) แตใ่ นเดอื นท่ี 2
ของการทดลองการเสรมิ บวั บกในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 2.5 % และเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 1.5 และ 2.5 % มผี ล
ทาใหฮ้ โี มโกลบนิ มคี า่ ต่า (p<0.05) สาหรบั ผลการเสรมิ บวั บกและไพลตอ่ จานวนกบทต่ี รวจพบเช้อื แบคทเี รยี ทเ่ี กบ็
เลอื ดทห่ี วั ใจและเกบ็ จากใตผ้ วิ หนงั ซง่ึ ตรวจพบเชอ้ื Flovobacterium multivorum, Kluyvera cryocrescens และ
Streptococus mutans พบวา่ การเสรมิ บวั บกในอาหารทร่ี ะดบั 2.5 % และการเสรมิ ไพลในอาหารทร่ี ะดบั 1.5
และ 2.5 % จานวนกบนาทต่ี รวจพบเชอ้ื แบคทเี รยี F. multivorum บรเิ วณใตผ้ วิ หนังน้อยกว่ากลุม่ ควบคุม
อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05) ดงั นนั้ การเสรมิ บวั บกในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 0.5 และ 1.5 % และ
การเสรมิ ไพลในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 0.5 % เป็นระดบั ทไ่ี มม่ ผี ลกระทบตอ่ การเตบิ โตและสขุ ภาพของกบนา
และการเสรมิ บวั บกในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 2.5 % และการเสรมิ ไพลในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 1.5 และ 2.5 %
สามารถยบั ยงั้ เชอ้ื แบคทเี รยี F. multivorum ทผ่ี วิ หนงั ได้

คาสาคญั : บวั บก ไพล กบนา

1* แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา ต้ปู ณ.21 ปทจ. พนมสารคาม
จ.ฉะเชิงเทรา 24120 e-mail : [email protected]

2 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา อ.เมือง จ.ชลบรุ ี
3 ภาควิชาเพาะเลีย้ งสตั ว์นา้ คณะประมง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร ฯ
4 งานประมง ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซ้อนอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

Abstract

The effect of Indian Penny Wort (Centella asiatica) and Phlai (Zingiber montanum) on
growth performance and health of common lowland frog (Rana rugulosa) was determined using
completely randomized design. A three-month study was conducted. There were 7 treatments (T1
to T7) with 3 replications. T1 was commercial frog pellet (control diet). T2 to T4 were control diet
supplemented with 0.5, 1.5 and 2.5% (weight basis) Indian Penny Wort T5 to T7 were control diet
supplemented with 0.5, 1.5 and 2.5% (weight basis) Phlai. On month 3 the addition of Indian Penny
Wort and Phlai had no effect on weight gain, survival rate, hematocrit and total white blood cell
(p>0.05). However, on month 2 the addition of 2.5% Indian Penny and 1.5 and 2.5% Phlai
significantly reduced hemoglobin of the frog (p<0.05). Flavobacterium multivorum, Kluyvera
cryocrescens and Streptococus mutans was found in Hemolymp and in subcutaneous tissue. In
subcutaneous tissue, the numbers of frogs that were infected by F. multivorum were significant low
in the frogs fed the control diet supplemented with 2.5 % Indian Penny Wort and 1.5 and 2.5% Phlai.
The results indicate that the supplementation of 0.5 and 1.5 % Indian Penny Wort and 0.5% Phlai in
feed had no adverse effect on growth performance and health of frog. The supplementation of 2.5%
Indian Penny Wort and 1.5 and 2.5 % Phlai could inhibit F. multivorum in subcutaneous tissue.

Key Words : Indian Penny Wort, Phlai, Common Lowland Frog

บทนา

บวั บกและไพลมสี รรพคุณชว่ ยใหส้ ตั วม์ กี ารกนิ อาหารไดม้ ากขน้ึ ตา้ นเชอ้ื แบคทเี รยี แกรมลบ และเสรมิ สรา้ ง
ภมู คิ ุม้ กนั โดยรวม (นนั ทวนั , 2529) จากการวเิ คราะหใ์ บบวั บกพบสารทส่ี าคญั คอื triterpene และ saponin
(Yu et al., 2007) และ sapogenin คณุ สมบตั ทิ างยามผี ลตอ่ การเรง่ การสมานแผลผวิ หนัง
(Kimura et al., 2008) และกระตุน้ เพม่ิ กจิ กรรมในระบบภมู คิ ุม้ กนั ของหนูทดลองในเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว T และ
B lymphocytes ทดสอบทงั้ ใน in vitro และ in vivo (Wang et al., 2005) เหงา้ ไพล (Zingiber cassumunar
Roxb.) มนี ้ามนั หอมระเหย ซง่ึ ประกอบดว้ ย สารสาคญั เชน่ เทอรไ์ พนนี (terpinin-4-ol) ทม่ี คี ุณสมบตั ใิ นการ
ตา้ นการอกั เสบและแบคทเี รยี มสี ารในกลมุ่ เอรลิ บวิ ทานอยด์ (arylbutaniods) มฤี ทธใิ ์ นการลดการอกั เสบได้
ดกี วา่ สารสงั เคราะหไ์ ดโคฟิแนค (diclofenac) ซง่ึ เป็นยาลดปวด ลดการอกั เสบ (วชั รพี ร, 2549)

ในพน้ื ทอ่ี าเภอพนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มผี เู้ ลย้ี งกบนาจานวน 112 ครวั เรอื น พบกบ
ป่วยเป็นโรคและตายไมท่ ราบสาเหตุ ดว้ ยอาการตาขนุ่ เคลอ่ื นทไ่ี ปดา้ นขา้ ง และทอ้ งอดื แมม้ กี ารใชย้ าและ
สารเคมใี นการรกั ษาอยา่ งไดผ้ ล แตอ่ าจตกคา้ งในเน้อื ส่งผลกระทบตอ่ ผบู้ รโิ ภค จงึ มแี นวคดิ ทจ่ี ะนาพชื สมนุ ไพร
ของไทยทม่ี สี รรพคณุ ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการกนิ การดดู ซมึ ลดปรมิ าณเช้อื แบคทเี รยี ทเ่ี ป็นโทษในตวั กบ
สรา้ งเสรมิ ใหก้ บมสี ุขภาพแขง็ แรง มคี วามตา้ นทานโรคจากเช้อื แบคทเี รยี มกี ารเจรญิ เตบิ โตทด่ี ขี น้ึ หรอื ตาม
สภาวะปกติ และผลผลติ มคี วามปลอดภยั ต่อผบู้ รโิ ภคมาใชใ้ นการผลติ กบนา

ทศั นยี ์ และคณะ (2548) ทดสอบประสทิ ธภิ าพในการยบั ยงั้ เช้อื แบคทเี รยี ของสารสกดั หยาบจาก
ขมน้ิ ชนั บอระเพด็ บวั บก ไพล และฟ้าทะลายโจรกบั เช้อื แบคทเี รยี Aeromonas hydrophyla ทแ่ี ยกไดจ้ าก
กบนาทแ่ี สดงอาการตาขนุ่ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยวธิ ี disc diffusion พบวา่ เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของโซนใสมคี า่ เทา่ กบั
14, 15, 15, 17 และ12 มลิ ลเิ มตร ตามลาดบั และจากรายงานของนนั ทวนั (2529) ทก่ี ล่าววา่ บวั บกและไพล
มสี รรพคุณใหส้ ตั วม์ กี ารกนิ อาหารไดม้ ากขน้ึ ตา้ นเชอ้ื แบคทเี รยี แกรมลบ และเสรมิ สรา้ งภมู คิ ุม้ กนั โดยรวม จงึ ได้
นาบวั บกและไพลเสรมิ ในอาหารแลว้ นาไปเลย้ี งกบนา เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพดา้ นการเสรมิ สรา้ งการเจรญิ เตบิ โต
และสขุ ภาพโดยรวมของกบนา เชน่ องคป์ ระกอบของเลอื ด ตรวจปรมิ าณและชนิดของเช้อื แบคทเี รยี ในตวั กบนา
หลงั จากไดร้ บั บวั บกและไพล สาหรบั เป็นแนวทางในการผลติ กบนาใหม้ กี ารตา้ นทานโรคจากเช้อื แบคทเี รยี และมี
การเจรญิ เตบิ โตทด่ี ขี น้ึ

วิธีการศึกษา

ศกึ ษาผลการเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารสาหรบั เลย้ี งกบนา ทาการทดลองเป็นเวลา 3 เดอื น ดงั น้ี
1. วางแผนการทดลองแบบสมุ่ ตลอด (completely randomized design) โดยแบง่ เป็น 7 กลมุ่ ทดลอง
ไดแ้ ก่ อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพล (เป็นกลมุ่ ควบคมุ ) และอาหารเสรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %
โดยน้าหนกั อาหารเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั กลมุ่ ทดลองละ 3 ซา้ อาหารท่ี
ใชเ้ ป็นอาหารเมด็ สาหรบั กบนาทซ่ี อ้ื จากทอ้ งตลาด ใชเ้ ป็นอาหารพน้ื ฐานในทุกกลมุ่ ทดลอง โดยใชอ้ าหารกบ
เลก็ พเิ ศษในเดอื นท่ี 1 ของการทดลอง และใชอ้ าหารกบเลก็ ในเดอื นท่ี 2 และ 3 ของการทดลอง
2. เตรยี มอาหารทดลอง โดยวเิ คราะหห์ าองคป์ ระกอบทางเคมใี นอาหารเมด็ ทงั้ 2 ระยะ แบบ
Proximate Analysis ตามวธิ ขี อง A.O.A.C. (1980) จากนนั้ เตรยี มอาหารทดลอง โดยนาบวั บกผงและไพลผง
มาผสมกบั อาหารเมด็ สาหรบั กบนาตามอตั ราทก่ี าหนดตามแผนการทดลอง คลุกใหบ้ วั บกและไพลเกาะทผ่ี วิ
ของเมด็ อาหารอยา่ งสม่าเสมอ เกบ็ อาหารทดลองไวใ้ นถงั พลาสตกิ ทอ่ี ุณหภมู หิ อ้ ง ทาการเตรยี มอาหารทดลอง
ทกุ 3 วนั
3. เตรยี มสตั วท์ ดลอง สตั วท์ ดลองทใ่ี ชเ้ ป็นลกู กบนาระยะหางหดทม่ี นี ้าหนกั 1.79-2.10 กรมั
ซง่ึ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ทางสถติ ิ (p>0.05) สมุ่ กบนาจากบอ่ พกั มาเลย้ี งในบอ่ ทดลอง บอ่ ละ 30 ตวั แลว้ ใหก้ นิ
อาหารทดลองกอ่ นเรมิ่ การทดลอง เป็นเวลา 7 วนั
4. เตรยี มสถานทท่ี ดลองและสภาวะทท่ี าการทดลอง ทาการทดลองในบอ่ ซเี มนตท์ ป่ี กู ระเบอ้ื งเคลอื บ
ขนาด 1.5x1.5x0.75 ลกู บาศกเ์ มตร น้าทใ่ี ชท้ ดลองเป็นน้าประปาทพ่ี กั ไว้ 1 สปั ดาห์ ใสน่ ้าในบอ่ ทดลองให้
มรี ะดบั สงู 5-7 เซนตเิ มตร โดยใหร้ ะดบั น้าสงู ทว่ มบรเิ วณขาหน้าของกบแตล่ ะขนาด วางแผ่นโฟมสาหรบั ให้
อาหาร ขนาด 0.60x0.60 ตารางเมตร บ่อละ 1 แผน่ ใหอ้ าหารแบบใหก้ บกนิ อม่ิ เตม็ ท่ี วนั ละ 2 ครงั้ เวลา
08.00 และ 17.00 นาฬกิ า โดยนาอาหารไปวางไวบ้ นแผน่ โฟม กอ่ นใหอ้ าหารมอ้ื เยน็ ทาการเปลย่ี นถา่ ยน้า
100 % และทุกสปั ดาหท์ าการขดั บอ่
5. เกบ็ ขอ้ มลู ดา้ นคุณภาพอาหาร การเตบิ โต อตั ราการรอดตาย และสขุ ภาพของกบนา ดว้ ยการ
ชงั ่ น้าหนกั รวมของกบนาเมอ่ื เรม่ิ ทดลอง และชงั ่ ทุกเดอื นจนสน้ิ สุดการทดลอง และจดบนั ทกึ จานวนกบนาทต่ี าย
ตงั้ แตเ่ มอ่ื เรมิ่ ทดลองจนสน้ิ สุดการทดลอง ตรวจสขุ ภาพของกบนาในเดอื นท่ี 2 และ 3 ของการทดลอง โดย
การสุ่มเกบ็ ตวั อยา่ งกบนาจากหน่วยทดลองละ 4 ตวั เกบ็ เลอื ดจากหวั ใจของกบนาเพอ่ื หาองคป์ ระกอบของเลอื ด
โดยตรวจวดั คา่ ฮโี มโกลบนิ คา่ ฮมี าโตครติ และจานวนเมด็ เลอื ดขาวทงั้ หมด โดยใชเ้ ทคนิคการยอ้ มสขี อง

Natt-Herricks (Noga, 1996) และตรวจปรมิ าณและจาแนกชนดิ เชอ้ื แบคทเี รยี โดยเขย่ี เชอ้ื แบคทเี รยี จากเลอื ด
ทห่ี วั ใจและทใ่ี ตผ้ วิ หนงั นามาเพาะเลย้ี งในอาหารเลย้ี งเชอ้ื TSA (Tryptic Soy Agar) บม่ ทอ่ี ุณหภูมิ 32
องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 24 ชวั ่ โมง นบั จานวนโคโลนขี องเชอ้ื แบคทเี รยี บนอาหารตามรปู รา่ งลกั ษณะและสี
ของโคโลนี และจาแนกชนิดเชอ้ื แบคทเี รยี ดว้ ยการยอ้ มสี gram strain และนาเชอ้ื แบคทเี รยี ทล่ี กั ษณะของ
โคโลนีแตกตา่ งกนั ไปจาแนกชนิดทก่ี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ จงั หวดั นนทบุรี

6. วเิ คราะหค์ วามแปรปรวนของขอ้ มลู (analysis of variance) ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มนั ่ 95 เปอรเ์ ซน็ ต์
และเปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี ดว้ ยวธิ ี Duncan’s new multiple range test (อนันตช์ ยั , 2542)

ผลการศึกษาและวิจารณ์

1. การวิเคราะหค์ ณุ ภาพอาหาร

ผลการวเิ คราะหค์ ุณภาพอาหารกบพน้ื ฐานทน่ี ามาใชใ้ นการทดลอง พบวา่ ความชน้ื โปรตนี ไขมนั
เถา้ และเยอ่ื ใยในอาหารกบขนาดเลก็ พเิ ศษมคี า่ เทา่ กบั 6.28 40.06 1.08 12.30 และ 0.40 %
ตามลาดบั และอาหารกบขนาดเลก็ มคี า่ 6.02 32.59 2.40 10.08 และ 2.93 % ตามลาดบั สาหรบั
ปรมิ าณโปรตนี ในอาหารทเ่ี หมาะสมสาหรบั กบนานนั้ พสิ มยั (2543) รายงานวา่ ระดบั โปรตนี ในอาหารท่ี
เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของกบนาคอื 37 %

2. การเติบโต และอตั ราการรอดตายของกบนา

ผลการเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารสาหรบั เลย้ี งกบนาตอ่ การเตบิ โตของกบนาพบวา่ ในเดอื นท่ี 1
น้าหนกั เพม่ิ เฉลย่ี ของกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารเสรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 0.5 1.5 2.5 %โดยน้าหนัก และเสรมิ ไพลท่ี
ระดบั 0.5 และ 1.5 %โดยน้าหนกั ไม่มคี วามแตกตา่ งทางสถติ ิ (p>0.05) กบั กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ
บวั บกและไพล แต่กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารเสรมิ ไพลท่รี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนัก มนี ้าหนักเพมิ่ เฉลย่ี ต่ากว่ากลุม่
ทดลองอ่นื อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05) ส่วนในเดอื นท่ี 2 และเดอื นท่ี 3 พบวา่ น้าหนักเพม่ิ เฉลย่ี ของ
กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกและไพลทกุ ระดบั ไม่แตกตา่ งทางสถติ ิ (p>0.05) กบั กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี ม่
เสรมิ บวั บกและไพล ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 น้าหนกั เพมิ่ เฉลย่ี ของกบนาทเ่ี ลย้ี งดว้ ยอาหารเสรมิ บวั บกและไพลทร่ี ะดบั ตา่ ง ๆ (คา่ เฉลย่ี + SE)

ระดบั การเสรมิ สมนุ ไพร น้าหนกั เพม่ิ เฉลย่ี ของกบนา (กรมั /ตวั )

(%โดยน้าหนกั ) เดอื นท่ี 0-1 เดอื นท่ี 0-2 เดอื นท่ี 0-3

อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 47.97 + 3.18 a 59.11 + 4.59 67.96 + 5.94

(กลมุ่ ควบคมุ )

อาหารเสรมิ บวั บก 0.5% 48.53 + 1.81 a 60.24 + 3.19 67.02 + 4.01

อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 47.56 + 2.53 a 56.95 + 2.73 72.01 + 6.80

อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 46.15 + 1.37 a 56.88 + 1.38 65.61 + 2.44

อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 52.16 + 2.10 a 63.64 + 1.45 72.94 + 2.03

อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 44.95 + 1.20 a 57.09 + 0.63 68.69 + 1.16

อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 36.95 + 3.95 b 47.17 + 6.54 55.43 + 8.16

p-value 0.0228 0.1180 0.3085

หมายเหตุ ตวั อกั ษรทต่ี า่ งกนั ในแนวตงั้ เดยี วกนั แสดงถงึ ความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05)

การเสรมิ บวั บกในอาหารกบทุกระดบั จาก 0.5 ถงึ 2.5 %โดยน้าหนกั ใหผ้ ลการเตบิ โตของกบนา
มกี ารเพม่ิ น้าหนกั ตามปกติ แมว้ า่ จะเสรมิ ทค่ี วามเขม้ ขน้ ของบวั บกทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั กไ็ มม่ ผี ลกระทบ
ตอ่ น้าหนกั ของกบนา แตม่ แี นวโน้มวา่ การเสรมิ ไพลในอาหารระดบั ทส่ี งู ขน้ึ จะมผี ลใหน้ ้าหนกั กบนาลดลง โดยเฉพาะ
ในกบนาขนาดเลก็

ผลการเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารสาหรบั เลย้ี งกบนาพบวา่ อตั ราการรอดตายในแตล่ ะเดอื น และเมอ่ื
สน้ิ สดุ การทดลองไมม่ คี วามแตกตา่ งทางสถติ ิ (p>0.05) ดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 อตั ราการรอดตายของกบนาทด่ี ว้ ยอาหารเสรมิ บวั บกและไพลทร่ี ะดบั ตา่ ง ๆ (คา่ เฉลย่ี + SE)

ระดบั การเสรมิ สมนุ ไพร อตั ราการรอดตาย (%)
(%โดยน้าหนกั )
เดอื นท่ี 0-1 เดอื นท่ี 1-2 เดอื นท่ี 2-3 เมอ่ื สน้ิ สดุ การทดลอง
อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 60.0 + 8.0
(กลมุ่ ควบคมุ ) 100.0 + 0.0 98.2 + 1.7 58.7 + 6.7
อาหารเสรมิ บวั บก 0.5%
อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 65.3 +10.7 100.0 + 0.0 100.0 + 0.0 65.3 + 10.7
อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 54.7 + 4.8 97.9 + 2.1 94.7 + 2.7 50.7 + 4.8
อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 60.0 + 6.1 94.4 + 5.5 100.0 + 0.0 57.3 + 8.7
อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 56.0 + 8.0 100.0 + 0.0 100.0 + 0.0 56.0 + 8.0
อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 66.7 + 9.6 98.3 + 1.7 100.0 + 0.0 65.3 + 8.7
p-value 65.3 + 6.7 100.0 + 0.0 100.0 + 0.0 65.3 + 6.7

0.8903 0.5947 0.0538 0.7844

สาหรบั อตั ราการรอดตายของกบนาเม่อื สน้ิ สุดการทดลองมคี ่าต่า ทงั้ น้ีเน่ืองจากกบนาทใ่ี ชใ้ นการทดลอง
เป็นลูกกบนาระยะหางหด และไม่มกี ารคดั ขนาดลกู กบนา เพราะตอ้ งการทราบผลของการเสรมิ บวั บกและ
ไพลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต กบนาตวั โตจะกนิ กบตวั เลก็ ทาใหอ้ ตั ราการรอดตายในเดอื นแรกของการทดลองมคี า่
ต่าในทุกกลุ่มทดลอง แต่ในเดอื นท่ี 2 และ 3 กบมขี นาดใกล้เคยี งกนั แล้วอตั ราการรอดตายจงึ มคี ่าสูง
ทุกกลมุ่ ทดลอง

3. สขุ ภาพของกบนา

3.1 การตรวจองคป์ ระกอบของเลอื ด พบวา่ การเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารสาหรบั เลย้ี งกบนา
ในเดอื นท่ี 2 ของการทดลอง คา่ ฮโี มโกลบนิ ของกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 0.5 และ 1.5
%โดยน้าหนกั และเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 %โดยน้าหนกั ไมม่ คี วามแตกต่างทางสถติ ิ (p>0.05) จากกบนาท่ี
ไดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพล สว่ นกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั และเสรมิ
ไพลทร่ี ะดบั 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั มคี า่ ฮโี มโกลบนิ ต่ากวา่ กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและ
ไพล สาหรบั คา่ ฮมี าโตครติ ของกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารเสรมิ บวั บกและไพลในทกุ ระดบั มคี า่ ไมแ่ ตกตา่ งทางสถติ ิ (p>0.05)
สว่ นจานวนเมด็ เลอื ดขาวทงั้ หมดของกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกและไพลในทกุ ระดบั มคี า่ ต่ากว่ากบนาท่ี
ไดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพลอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05) ดงั ตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 ฮโี มโกลบนิ ฮมี าโตครติ และจานวนเมด็ เลอื ดขาวของกบนาทด่ี ว้ ยอาหารเสรมิ บวั บกและไพล
ทร่ี ะดบั ตา่ ง ๆ ในเดอื นท่ี 2 ของการทดลอง (คา่ เฉลย่ี + SD)

ระดบั การเสรมิ สมนุ ไพร ฮโี มโกลบนิ ฮมี าโตครติ จานวนเมด็ เลอื ดขาว

(%โดยน้าหนกั ) (กรมั /เดซลิ ติ ร) (%) (เซลลx์ 107)

อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 43.17 + 4.31a 34.50 + 3.68 9,293.3 + 1,580.6a

(กลมุ่ ควบคุม)

อาหารเสรมิ บวั บก 0.5% 43.33 + 2.32a 35.25 +1.89 4,793.3 + 357.9b

อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 40.67 +1.28 ab 33.67 + 3.16 3,793.3 + 712.8b

อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 38.17 + 0.14 bc 34.92 + 1.01 5,373.3 + 1,023.8b

อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 38.92 +1.46 abc 35.83 + 0.63 4,793.3 + 1,252.2 b

อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 35.56 + 3.51 cd 33.39 + 7.55 5,846.7 + 2,144.4 b

อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 33.25 + 0.90 d 26.75 + 2.22 5,133.3 + 1,961.7 b

p-value 0.0011 0.1042 0.0090

หมายเหตุ ตวั อกั ษรทต่ี า่ งกนั ในแนวตงั้ เดยี วกนั แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05)

ผลการเสรมิ บวั บกผงและไพลในอาหารสาหรบั เลย้ี งกบนาตอ่ องคป์ ระกอบของเลอื ดพบวา่ ในเดอื นท่ี 3
ของการทดลอง คา่ ฮโี มโกลบนิ ไมม่ คี วามแตกต่างทางสถติ ิ (p>0.05) ระหวา่ งกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารเสรมิ บวั บก
ทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั และอาหารทเ่ี สรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 และ 1.5 %โดยน้าหนกั
กบั กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพล แตก่ ารเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั คา่ ฮโี มโกลบนิ มี
คา่ ตา่ กวา่ ทุกกลมุ่ ทดลอง (p<0.05) สว่ นคา่ ฮมี าโตครติ และจานวนเมด็ เลอื ดขาวในทกุ กลมุ่ ทดลองไมม่ คี วามแตกต่าง
ทางสถติ ิ (p>0.05) ดงั ตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 ฮโี มโกลบนิ ฮมี าโตครติ และจานวนเมด็ เลอื ดขาวของกบนาทด่ี ว้ ยอาหารเสรมิ บวั บกและไพล
ทร่ี ะดบั ตา่ ง ๆ ในเดอื นท่ี 2 ของการทดลอง (คา่ เฉลย่ี + SD)

ระดบั การเสรมิ สมนุ ไพร ฮโี มโกลบนิ ฮมี าโตครติ จานวนเมด็ เลอื ดขาว

(%โดยน้าหนกั ) (กรมั /เดซลิ ติ ร) (%) (เซลลx์ 107)

อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 40.06 + 4.12a 33.72 + 5.09 9,793.3 + 2,149.0

(กลมุ่ ควบคุม)

อาหารเสรมิ บวั บก 0.5% 41.25 + 1.32a 34.00 + 1.25 13,046.3 + 3,329.2

อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 41.58 + 1.13a 34.75 + 2.38 9,000.0 + 1,683.2

อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 40.08 + 1.91a 31.14 + 3.92 7,880.0 + 1,773.2

อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 41.89 + 1.29a 34.61 + 3.71 8,700.0 + 1,532.1

อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 39.83 + 1.61a 32.67 + 0.95 10,833.3 + 1,076.0

อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 27.92 + 3.39 b 28.00 + 3.44 15,333.3 + 6,291.5

p-value 0.0001 0.2094 0.0930

หมายเหตุ ตวั อกั ษรทต่ี า่ งกนั ในแนวตงั้ เดยี วกนั แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05)

จากผลการศกึ ษาองคป์ ระกอบของเลอื ดในกบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกและไพล พบวา่ ตลอด
การทดลองทงั้ 3 เดอื น การเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั ทาใหค้ า่ ฮโี มโกลบนิ คา่ ฮมี าโตครติ มคี า่ ต่า
กว่ากบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพลและกลุม่ ทดลองอน่ื ๆ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การเสรมิ ไพลในอาหาร
ทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนัก น่าจะเป็นระดบั ความเขม้ ขน้ ทส่ี งู เกนิ ไป และน่าจะมคี วามเป็นพษิ ตอ่ เลอื ดของกบนา
โดยทาใหเ้ มด็ เลอื ดแดงแตก จงึ ไมค่ วรเสรมิ ไพลในอาหารทร่ี ะดบั ถงึ 2.5 %โดยน้าหนกั

3.2 การตรวจปรมิ าณและจาแนกชนิดเชอ้ื แบคทเี รยี ในเลอื ดทห่ี วั ใจ และใตผ้ วิ หนงั ของกบนาพบ
เช้อื แบคทเี รยี 3 ชนิด ไดแ้ ก่ Flavobacterium multivorum, Kluyvera croocrescens และ
Streptococus mutans โดยพบเชอ้ื แบคทเี รยี บรเิ วณใตผ้ วิ หนังในปรมิ าณทม่ี ากกวา่ ในเลอื ดทห่ี วั ใจ

ผลการตรวจปรมิ าณเช้อื แบคทเี รยี ทงั้ สามชนิดทเ่ี กบ็ จากเลอื ดทห่ี วั ใจ และใตผ้ วิ หนงั ของกบนา
พบวา่ การเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารกบนาทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั ปรมิ าณเช้อื แบคทเี รยี
แต่ละชนดิ ไมแ่ ตกต่างทางสถติ ิ (p>0.05) และพบแบคทเี รยี ในกบนาไดต้ งั้ แต่ 0-2 ตวั ยกเวน้ การตรวจปรมิ าณ
เช้อื แบคทเี รยี ทเ่ี กบ็ จากใตผ้ วิ หนังของกบนาในเดอื นท่ี 3 ของการทดลอง จานวนกบนาทต่ี รวจพบ เช้อื แบคทเี รยี
F. multivorum ทไ่ี ดร้ บั อาหารเสรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั และเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 1.5 และ 2.5
%โดยน้าหนกั พบเชอ้ื แบคทเี รยี ในกบนาจานวน 0.67-1 ตวั มคี า่ ต่ากวา่ ทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและ

ไพล (p<0.05) ทพ่ี บแบคทเี รยี ได้ 2.67-4 ตวั สว่ นปรมิ าณเช้อื แบคทเี รยี K. cryocrescens ทไ่ี ดร้ บั
อาหารทเ่ี สรมิ บวั บกทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั และเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 1.5 และ 2.5 %โดยน้าหนกั
พบแบคทเี รยี ในกบนาจานวน 2.33-4 ตวั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กบนาทไ่ี ดร้ บั อาหารทไ่ี มเ่ สรมิ บวั บกและไพล
และเสรมิ ไพลทร่ี ะดบั 0.5 %โดยน้าหนกั (p<0.05) ซง่ึ พบแบคทเี รยี ในกบนาจานวน 0.33-1.33 ตวั
ดงั ตารางท่ี 5-6

ตารางท่ี 5 จานวนกบนาทพ่ี บเช้อื แบคทเี รยี แตล่ ะชนิดทเ่ี กบ็ จากเลอื ดทห่ี วั ใจของกบนา หน่วยทดลองละ 4 ตวั

ในเดอื นท่ี 2 และ 3 ของการทดลอง (คา่ เฉลย่ี + SD)

ระดบั การเสรมิ สมุนไพร จานวนกบนา (ตวั ) ทพ่ี บเชอ้ื แบคทเี รยี แตล่ ะชนดิ มากกว่า 10 CFU

(%โดยน้าหนกั ) F. multivorum K. cryocrescens S. mutans

เดอื นท่ี 2 เดอื นท3่ี เดอื นท2่ี เดอื นท3่ี เดอื นท2่ี เดอื นท3่ี

อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 0.00+0.00 0.00+0.00 0.67+0.58 0.00+0.00 1.67+0.58 0.00+0.00

(กลมุ่ ควบคุม)

อาหารเสรมิ บวั บก 0.5% 0.33+0.58 1.00+1.00 0.33+0.58 0.33+0.58 0.33+0.58 0.33+0.58

อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 0.33+0.58 1.00+0.00 0.00+0.00 0.00+0.00 1.67+1.15 0.00+0.00

อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 0.67+0.58 0.67+1.15 0.33+0.58 0.67+1.15 1.00+1.00 0.67+1.15

อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 0.00+0.00 1.00+1.00 1.00+1.00 0.33+0.58 2.00+1.00 1.00+1.00

อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 0.00+0.00 0.67+0.58 0.33+0.58 0.00+0.00 2.00+0.00 0.33+0.58

อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 0.33+0.58 0.67+0.58 1.00+0.00 0.33+0.58 1.00+1.00 0.33+0.58

p-value 0.4628 0.6781 0.3251 0.7468 0.2132 0.5858

ตารางที่ 6 จานวนกบนาทพ่ี บเชอ้ื แบคทเี รยี แตล่ ะชนิดทเ่ี กบ็ จากใตผ้ วิ หนงั หน่วยทดลองละ 4 ตวั

ในเดอื นท่ี 2 และ 3 ของการทดลอง (คา่ เฉลย่ี + SD)

ระดบั การเสรมิ สมุนไพร จานวนกบนา (ตวั ) ทพ่ี บเช้อื แบคทเี รยี แตล่ ะชนดิ มากกว่า 10 CFU

(%โดยน้าหนกั ) F. multivorum K. cryocrescens S. mutans

เดอื นท่ี 2 เดอื นท่ี 3 เดอื นท่ี 2 เดอื นท่ี 3 เดอื นท่ี 2 เดอื นท3่ี

อาหารไมเ่ สรมิ สมนุ ไพร 1.00+0.00 3.33+0.58a 1.00+0.00 0.33+0.58 c 3.00+0.00 1.33+2.31

(กลมุ่ ควบคมุ )

อาหารเสรมิ บวั บก 0.5 % 0.67+1.15 4.00+0.00a 1.00+0.00 0.33+0.58 c 3.33+0.58 0.67+0.58

อาหารเสรมิ บวั บก 1.5% 1.67+1.15 4.00+0.00a 1.00+1.73 1.33+1.15 bc 3.33+1.15 0.00+0.00

อาหารเสรมิ บวั บก 2.5% 1.00+1.00 1.00+1.73b 2.33+1.15 3.00+1.00 ab 3.67+0.58 1.00+1.00

อาหารเสรมิ ไพล 0.5% 0.67+0.58 2.67+0.58a 2.33+1.53 2.33+1.15 ab 4.00+0.00 2.67+1.15

อาหารเสรมิ ไพล 1.5% 0.00+0.00 0.67+1.15b 2.67+0.58 4.00+0.00 a 3.67+0.58 1.33+1.53

อาหารเสรมิ ไพล 2.5% 0.67+1.15 0.67+1.15b 2.00+2.00 2.67+1.53 ab 2.33+0.58 1.33+1.53

p-value 0.4628 0.0008 0.4406 0.0026 0.0898 0.4114

หมายเหตุ ตวั อกั ษรทต่ี ่างกนั ในแนวตงั้ เดยี วกนั แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิ (p<0.05)

สรปุ

1. จากผลการเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารตอ่ การเตบิ โต อตั ราการรอดตาย และองคป์ ระกอบ
ของเลอื ดของกบนา สรุปไดว้ า่ การเสรมิ บวั บกในอาหารทร่ี ะดบั 0.5 และ 1.5 %โดยน้าหนกั และไพลทร่ี ะดบั
0.5 %โดยน้าหนกั เป็นระดบั ทส่ี ง่ เสรมิ สขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรงและไมม่ ผี ลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของกบนา

2. จากผลการเสรมิ บวั บกและไพลในอาหารตอ่ ปรมิ าณเช้อื แคทเี รยี ทต่ี รวจจากเลอื ดทห่ี วั ใจ
และใตผ้ วิ หนงั พบวา่ การเสรมิ บวั บกในอาหารทร่ี ะดบั 2.5 %โดยน้าหนกั และไพลทร่ี ะดบั 1.5 และ 2.5
%โดยน้าหนกั มผี ลในการยบั ยงั้ เชอ้ื แบคทเี รยี F. multivorum บรเิ วณใตผ้ วิ หนงั ได้

เอกสารอ้างอิง

ทศั นยี ์ คชสหี ์ เพลนิ พศิ ธารเี ธยี ร สรุ เชษฐ์ จนั ทรป์ ระเสรฐิ และ ปฐมาพร เอมะวศิ ษิ ฎ์. 2548. การใช้
พชื สมนุ ไพรยบั ยงั้ เชอ้ื แบคทเี รยี ในกบนาทเ่ี ป็นโรคตาขนุ่ , น. 51-55. ใน รายงานการวิจยั ประจาปี
2548 ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาเขาหินซ้อนอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ. หา้ งหนุ้ สว่ นจากดั
เจตนารมณ์ภณั ฑ,์ ประจนี บุร.ี

นนั ทวนั บุณยะประภทั ร. 2529. ก้าวไปกบั สมนุ ไพร. ธรรมกมลการพมิ พ์, กรุงเทพ ฯ.
พศิ มยั สมสบื . 2543. ระดบั โปรตีนและพลงั งานท่ีเหมาะสมในอาหารสาหรบั กบนา. วทิ ยานิพนธ์

ปรญิ ญาโท. ภาควชิ าเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้า, คณะประมง, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 76 น.
วชั รพี ร คงวลิ าด. 2549. ไพลภมู ิปัญญารากหญ้าส่นู วตั กรรมป้องกนั ฝ่ นุ . เกษตรกรรมธรรมชาติ 9(5) :

66-68.
อนนั ตช์ ยั เขอ่ื นธรรม. 2542. หลกั การวางแผนการทดลอง. ภาควชิ าสถติ ิ คณะวทิ ยาศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 348 น.
A.O.A.C. 1980. Official Methods of Analysis Association of Official Analytical Chemists Inc.,

Washington D.C. 1,018 p.
Kimura, Y., Sumiyoshi, M., Samukawa, K-I., Satake, N. and Sakanaka, M. 2008. Facilitating

action of asiaticoside at low doses on burn wound repair and its mechanism.
European Journal of Pharmacology. 584: 415-423.
Noga, E.J. 1996. Fish Disease: Diagnosis and treatment. Iowa State Press. 367 p.
Wang, X. S., Zheng, Y., Zuo, JP. And Fang, JN. 2005. Structural features of an immunoactive
acidic arabinogalactan from Centella asiatica. Carbohydrate Polymers. 59: 281-288.
Yu, Q.L., Duan, H.Q., Gao, W.Y. and Takaishi Y. 2007. A new triterpene and saponin from
Centella asiatica. Chinese Chemical Letters. 18: 62-64.

กข

คง

จฉ

ภาพท่ี 1 สถานทท่ี ดลอง วสั ดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง

ก. สถานทท่ี ดลอง มตี าขา่ ยพรางแสง ข. สภาพภายในบอ่ ทดลองทป่ี ดู ว้ ยกระเบอ้ื ง

ค. อาหารทใ่ี ชใ้ นการทดลอง ง. สมุนไพรทใ่ี ชใ้ นการทดลอง

จ. ใหอ้ าหารทดลองโดยวางบนแผน่ โฟม ฉ. สภาพภายในบ่อทดลองหลงั จากถา่ ยเปลย่ี นน้า


Click to View FlipBook Version