The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best Practices เรื่องกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chainee_33, 2022-04-19 00:40:49

Best Practices เรื่องกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ

Best Practices เรื่องกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ

การอนุมตั ผิ ลการปฏบิ ตั งิ านที่ดี (Best Practice) ประจำปงี บประมาณ 2565
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอขุขนั ธ์

เพือ่ ให้การจดั การศึกษาบรรลุเป้าประสงคต์ ามที่สถานศึกษากำหนด สถานศึกษาไดใ้ หจ้ ดั ทำผลการ
ปฏบิ ตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) ประจำปงี บประมาณ 2565 ท่สี อดคล้องกับนโยบายสำนกั งาน กศน. ซ่งึ ผ้บู รหิ าร
สถานศกึ ษาได้พิจารณาในผลการปฏบิ ัติงานท่ดี ี (Best Practice) ประจำปงี บประมาณ 2565 ของศนู ยก์ ารศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอขุขนั ธ์แล้ว จงึ เหน็ ชอบผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice)
ประจำปีงบประมาณ 2565 ดังกล่าว

ลงช่อื ..................................ผอู้ นุมตั ิ
(นางปติ ิคลอ จกั ขุพันธ์)

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอขขุ ันธ์

คำนำ

รายงานผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ ( Best Practice ) เรื่องการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ ของครู
อาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี นเล่มน้ี จดั ทำขนึ้ เพือ่ เปน็ ข้อมูลสรุปผลรายงานผลการปฏิบัตงิ านที่เป็นเลิศ ภาคเรียน
ท่ี 2/2564

หวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่า รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านที่เปน็ เลศิ (Best Practice) เล่มน้ี จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษาต่อไป

นางสาววลิ ยั ปรางมาศ
ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอขุขันธ์

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
สารบญั 1
2
- ช่อื ผลงาน อา่ นแจกลูกถกู ใจผูเ้ รยี น 2
- ความเปน็ มา/ความสำคัญของผลงาน 2
- วัตถปุ ระสงค์ 2
- เป้าหมาย 3
- แผนการปฏบิ ตั ิงาน 5
- หลกั การและแนวคดิ 5
- กระบวนการผลิตงานหรือขั้นตอนการดำเนินงานปฏิบัติท่ีเปน็ เลิศ 5
- ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ 6
- ปัจจยั ความสำเร็จ 6
- ทำไมถึงเลือกเปน็ Best Practice 12
- บทเรียนทไี่ ดร้ ับ
- การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรบั /รางวัลท่ีไดร้ บั
- ขอ้ เสนอแนะ
คณะทำงาน

ผลงานการปฏบิ ตั ิงานที่เปน็ เลศิ
(Best Practice)

ชือ่ ผลงาน : การจดั กจิ กรรมส่งเสริมการรหู้ นังสือ

ช่อื ผนู้ ำผลงาน : นางสาววิลัย ปรางมาศ .

ตำแหนง่ : ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน .

สถานศกึ ษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอขุขนั ธ์

สงั กัด : สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรสี ะเกษ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. ความเปน็ มา/ความสำคัญของผลงาน

การรู้หนังสือ เป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนพึงได้รับ และเป็นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ การสื่อสารตลอดจน
เป็นเครื่องมือที่จำเป็นในการแสวงหาความรู้ ซึ่งประชาชนชาวไทยทุกคนมีสิทธิ์ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่า
เทียมกันและมีคณุ ภาพ ส่งเสริมใหท้ ุกคนไดเ้ รียนรู้ภาษาไทยเพื่อใชใ้ นการติดต่อสือ่ สารได้เข้าใจตรงกัน และนำความรู้
ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวิตไดต้ รงตามความต้องการของบุคคล อกี ทั้งภาษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ เป็นกลางใน
การส่ือสารและสืบสานวัฒนธรรม ตลอดทัง้ การรหู้ นังสอื เปน็ คุณสมบัติพ้นื ฐานที่จำเปน็ ต่อการเรียนรู้และการส่ือสารใน
สังคมปัจจบุ นั เป็นบันไดขนั้ แรกของการแสวงหาความรู้และเปน็ การเช่ือมโยงการส่ือสารขอองผู้คนตา่ งๆในสังคมน้ีเข้า
ด้วยกัน องค์การยูเนสโกถือว่าการรู้หนังสือเป็นประตูสูอ่ ิสรภาพของมนุษยชาติ ประชาชนขาวไทยทกุ คนมีสิทธิไดร้ ับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทยี มและมีคณุ ภาพ ซึ่งรัฐบาลทกุ ยคุ ทุกสมัยใหเความสำคัญในการส่งเสริมสนับสนนุ ให้
บุคคลได้เรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการติดต่อสื่อสารเข้าใจตรงกัน และสามารถนำความรู้ไปใช้พัฒนาแสวงหาความรู้ได้
อย่างตอ่ เนือ่ ง

การรู้หนังสือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานและเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งรัฐบาลให้
ความสำคัญและส่งเสริมสนับสนุนใหป้ ระชาชนทัว่ ไปได้เรียนรู้ภาษาไทย เพื่อการติดต่อสื่อสารและสามารถนำความรู้
ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้ตามความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคล รวมทั้งการใช้ภาษาไทยเป็น
เครอ่ื งมือในการแสวงหาความรู้ไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง

ดงั น้นั สำนกั งาน กศน. ซงึ่ มบี ทบาทหน้าที่ในการส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลที่ไม่รูห้ นังสือไทยหรือลืมหนังสือได้รู้หนังสือ
ไทยเห็นวา่ ควรกระจายโอกาสและเพิ่มความเสมอภาคทางการศึกษาให้มากขึ้น จึงให้ความสำคญั กับการสง่ เสริมการรู้
หนังสือ เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติให้รุ่งเรืองสืบไป ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่โดยตรงของครูอาสมัคร
กศน. ในการสง่ เสริมใหก้ ลุ่มเป้าหมาย อา่ น ออก เขียนได้

กศน.อำเภอขขุ ันธ์ มีบทบาทหน้าทใี่ นการสนับสนุน ส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาเพือ่ สง่ เสรมิ การรู้
หนงั สือ ร่วมกบั ภาครฐั เอกชน ชุมชน สงั คมและภาคเี ครือข่ายจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามความตอ้ งการศึกษา/การ
เรยี นรูข้ องประชาชนในพน้ื ที่ และบรบิ ทเฉพาะของหม่บู ้าน/ชมุ ชนแตล่ ะพนื้ ที่ ซ่ึงทำให้ได้ฝึกการอ่าน เขยี น คดิ
คำนวณได้อยา่ งมีมาตรฐาน เสริมสร้างนสิ ัยการอ่านและการเข้าถงึ ขา่ วสารขอ้ มลู และความรูข้ องประชาชนอยา่ งท่ัวถงึ
โดยเชอื่ มโยงการทำงานเป็นเครอื ข่ายกับ กศน.ตำบล/ศนู ย์การร้ชู มุ ชนในพืน้ ทเี่ พื่อสร้างกระบวนการเรยี นรู้อย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง

ผลงานการปฏิบตั ิงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice) หนา้ 1

ซ่งึ จากการลงพนื้ ทสี่ ำรวจสภาพปัญหา ยังพบว่า ประชาชน กลมุ่ ผพู้ ลาดโอกาส กลุ่มผสู้ งู อายุ พบวา่ มีกลุ่มทล่ี ืม
หนงั สอื อยเู่ ป็นจำนวนมาก จึงไดท้ ำ “การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการรูห้ นงั สอื ” ขน้ึ เพื่อรองรับสงั คมผู้สงู วัยอยา่ งเต็ม
รปู แบบ ในปี 2565 ส่งเสรมิ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ีห่ ลากหลายรูปแบบ มกี ิจกรรมการรวมกลุ่ม ลดภาวะการซึมเศรา้
สง่ เสรมิ กจิ กรรมอย่างสรา้ งสรรค์ และเห็นคุณค่าของตนเอง

2. วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี น มีความรคู้ วามเขา้ ใจทักษะในการฟัง พดู อา่ น เขียน คำท่ีใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถอา่ นคำภาษาไทย ในแบบฝกึ หัดได้อยา่ งถกู ต้อง
3. เพ่อื เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นำความร้แู ละประสบการณ์มาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ตามปรัชญาคิดเป็น

สง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของผเู้ รียน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม เป็นสำคญั
4. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนคงสภาพการรู้หนังสือ มกี ารพัฒนาทักษะการรู้หนังสือ มนี สิ ัยรกั การอ่าน สามารถ

นำไปพฒั นาคุณภาพชวี ิตจองตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

3. เป้าหมาย
3.1 เชิงปริมาณ
- กลมุ่ ผู้ลมื หนังสอื /ประชาชนท่ัวไป/ผสู้ ูงอายตุ ำบลนิคมพฒั นา จำนวน 35 คน
3.2 เชิงคณุ ภาพ
- ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถอ่าน ออก เขียนได้ และพัฒนาทักษะด้านการอ่าน

การเขยี น และการคิดคำนวณ (อา่ นภาษาไทยแบบแจกลูก - สะกดคำได้ ผสมคำใหม่ ) ไดอ้ ยา่ งมีมาตรฐาน
และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขึ้น

4. แผนการปฏบิ ตั ิงาน

แผนการปฏิบัตงิ าน พ.ค. มิ.ย. ก.ค 2564 ส.ค.2564 ก.ย.2564 ต.ค.2564
2564 2564
1. บนั ทกึ เสนอผู้บรหิ าร เพือ่ จัดทำ
แผนสง่ เสรมิ การรหู้ นังสอื ไทย
2. จัดทำแผนปฏิบตั ิการดำเนนิ งาน
3. ดำเนินการจดั กจิ กรรมตามแผน
ส่งเสรมิ การรูห้ นังสือไทย
4. นเิ ทศการดำเนินกจิ กรรมในพน้ื ที่
5. รายงานผลการดำเนนิ งาน

5.หลักการและแนวคดิ
3.1 สำรวจความสนใจและความต้องการของประชาชน
3.2 วเิ คราะห์ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความสนใจและความตอ้ งการของประชาชน
3.3 ประชมุ วางแผนหาแนวทางการดำเนินงาน

ผลงานการปฏบิ ัติงานทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) หน้า 2

3.4 ประสานและวางแผนแนวทางการปฏิบัติ
3.5 นำเสนอกิจกรรมหลกั สูตร
3.6 เตรียมเอกสารการดำเนินการจัดกจิ กรรม

- แบบจดั ตั้งกลุม่ ผู้เรียน
- จัดทำปฏิทนิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน/พบกลุม่
- จดั ทำแผนการเรียนรู้ตามหลักสตู รส่งเสรมิ การร้หู นงั สอื
- ส่ือการเรยี นการสอน
- บญั ชลี งเวลาพบกลุ่ม
- บันทกึ หลงั การพบกลุ่ม
- แบบฝกึ หัด
3.7 ประสานงานหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ยร่วมจัดกิจกรรม
- ประสานผูน้ ำชุมชนเพอื่ ประชาสัมพันธก์ ิจกรรม
- ประสานตัวแทนผเู้ รียนเพื่อจดั การเรียนการสอนผา่ นทางโทรศพั ท์
3.7 ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามแผนการจัดกจิ กรรม
3.8 การวัดผลประเมินผลผู้เรยี น

6. กระบวนการผลติ งานหรอื ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลศิ
ได้นำกระบวนการบริหารงานคุณภาพ PDCA มาใช้ในขั้นตอนในการดำเนินงานอ่านแจกลูก

ถกู ใจผเู้ รยี น ดังน้ี

โดยไดด้ ำเนนิ การดังน้ี
1. ครูทดสอบความรผู้ ู้เรยี นกอ่ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยใช้แบบทดสอบที่ครูจดั ทำขึ้น

เพ่อื วดั ความรู้พืน้ ฐานของผู้เรยี น และนำไปเป็นข้อมูลในการจัดการเรียนการสอนตามสภาพของผูเ้ รยี น โดยมี
การสำรวจข้อมูลความตอ้ งการทางการศึกษา /กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยผา่ นการทำเวทปี ระชาคมของหมู่บ้าน
กอ่ นบรรจลุ งในแผนปฏบิ ตั ิการ ( ขนั้ ตอนนอ้ี ยู่ใน P)

2. ครูจัดการเรียนการสอนโดยใช้หนังสือหลักสูตร การรู้หนังสือไทย จำนวน 12 สภาพ และสอน
โดยใช้ 4 ขั้นตอน คือ นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ขั้นสรุป และขั้นประเมินโดยดำเนินการ ดังนี้ (ขั้นตอนนี้อยู่
ใน D)

ผลงานการปฏิบัติงานทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) หนา้ 3

ขนั้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน
1. ครูร้องเพลง ที่สัมพันธ์กับเนื้อหาในแต่ละบท เช่น บทที่ 1 เรียนเรื่องสระอา กับ สระอื ใช้เพลง
สระอา กับ สระอื ให้ผเู้ รยี นรอ้ งตาม 2 รอบ จากนัน้ ใหผ้ ้เู รยี นร้องพร้อมกัน 2 รอบ
2. ครูพูดถึงสัตว์สิ่งของ ตัวละครในหนงั สือเพื่อเชื่อมโยงกับวิถชี ีวิตของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความ
กระตอื รือร้นในการเรียนรู้ โดยครูอธิบายเพือ่ ใหผ้ ู้เรียนร้จู ักและเข้าใจความหมายของคำ
ขั้นสอน
1. ครสู อนเน้ือหาจากหนังสอื หลกั สูตรการรู้หนงั สือไทย

ขนั้ ท่ี 1 ครอู า่ นใหผ้ ้เู รยี นฟงั ก่อน
ขนั้ ท่ี 2 ครูอา่ นและให้ผูเ้ รียนอา่ นตาม
ขั้นท่ี 3 ใหผ้ ู้เรียนช่วยกันอ่าน
ข้นั ท่ี 4 ครคู ดั เลือกตวั แทนอ่าน
ขั้นที่ 5 ใหผ้ เู้ รียนอ่านพรอ้ มกนั
2.ครอู า่ นบัตรคำเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นฟงั แล้วใหผ้ เู้ รยี นฝึกอา่ นตามครู
3.ครแู จกบัตรคำใหผ้ ู้เรยี น คนละ 1 บตั ร แล้วให้ออกมาอ่านให้เพอ่ื นฟัง
4.ครใู ห้ผเู้ รียนฝึกอา่ นจากแบบฝึกจากหนงั สือหลกั สูตรการรูห้ นังสือไทย
5.ครูให้ผู้เรียนคัดลายมือตามแบบจากหนังสือหลักสูตรการรู้หนังสือไทย ลงในสมุดด้วยตัวบรรจง
เต็มบรรทัด พร้อมทั้งวาดรูปประกอบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนฝึกการคัดลายมือ และเกิดความเพลิดเพลินและ
สนุกสนานในการเรยี น
6.ครูเขยี นตวั อย่างคำบนกระดานใหผ้ เู้ รียนเขยี นด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด
7.ครูแจกแบบฝึกหัดอ่าน เขียนให้ผู้เรียนแต่ละคน ฝึกเขียนประสมสระกับพยัญชนะ และฝึกอ่าน
สะกดคำ-แจกลูกให้เป็นคำ แล้วนำกลับไปทบทวนบทเรียนทีบ่ ้าน
8.ใช้กิจกรรมเสริมเพื่อการเรียนรู้ เช่นการทำยางยืดออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การวาดภาพ การ
ระบายสี และการเต้นบาสโลบ๊
9.ครูทดสอบหลังเรียนในแต่ละบท โดยใช้แบบทดสอบท้ายบท เพื่อทราบความก้าวหน้าในการอ่าน
และการเขียนคำของผู้เรียนแต่ละคนในแต่ละบทเรียน นอกจากนี้ครูได้สร้างแบบฝึกการเขียน อ่านเพิ่มเติม
เพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นไดฝ้ ึกทกั ษะการอ่าน เขยี น คดิ คำนวณ
ขนั้ สรุป
ครแู ละผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเนื้อหาและสรุปคำศัพท์ท่ไี ด้เรยี นรู้ในแต่ละบท
ขัน้ ประเมิน ( ขัน้ ตอนนอ้ี ยใู่ น C )
1.ครทู ดสอบความรู้ก่อนเรียนเน้อื หาในแตล่ ะบทที่ครูจดั ทำขึน้
2.ประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรมในการร่วมกจิ กรรม
3.ประเมนิ จากแบบฝกึ หดั
4.ประเมินจากผลการทดสอบหลงั เรียน
3.3 ครูทดสอบความรู้ผู้เรียน หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบทดสอบที่ครูเรา
จดั ทำข้ึน เพือ่ วดั ผลประเมินผล

ผลงานการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) หนา้ 4

3.4 ติดตามผลการนำความรู้ไปใชจ้ ากแบบติดตามผูเ้ รยี น (ขนั้ ตอนนีอ้ ยูใ่ น A)
3.5 จากการประเมินผลการจัดการสอนภาษาไทยแบบแจกลูก - สะกดคำ พบว่าผู้เรียนบางคนมี
ปัญหาในการเขียนคือ เขียนอักษรหัวกลับ ครูแก้ไขโดยสร้างแบบฝึกการเขียนคำเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ
เพ่มิ เตมิ จนผเู้ รียนสามารถเขยี นอกั ษรได้ถูกต้อง นอกจากนี้การสอนภาษาไทยแบบแจกลูก -สะกดคำ ครคู วร
สอนการออกเสียงให้ผู้เรียนฟังก่อน และควรสอนสระเสียงยาวก่อนเพราะออกเสียงง่าย ช่วยให้ผู้เรียน
สามารถจำไดง้ ่าย และในการฝกึ อา่ นครูควรเนน้ ยำ้ ซำ้ ทวน บ่อยๆอยา่ งนอ้ ย 3 คร้ังขนึ้ ไป

7. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสัมฤทธ/ิ์ ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั
1. ประชาชนทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายมีทักษะด้านการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ (อ่านภาษาไทย

แบบแจกลูก -สะกดคำได้ ผสมคำใหม่ ) ไดอ้ ยา่ งมมี าตรฐานและพฒั นาคุณภาพชวี ิตที่ดขี ้ึนของประชาชน
2. ประชาชนท่ัวไปและกล่มุ เป้าหมายได้นำความรู้และประสบการณ์มาแลกเปลยี่ นเรียนร้ตู ามปรัชญาคิดเป็น

ส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมของผเู้ รียน ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม เป็นสำคัญ
8. ปัจจยั ความสำเรจ็

1. มกี ารประสานเครือข่ายในการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย เชน่ ผ้ใู หญ่บา้ น และตัวแทนผ้เู รียน
2. มีการวิเคราะห์สภาพการรู้หนงั สอื ของผู้เรียนก่อนจดั กจิ กรรม
3. ใช้สื่อและแบบฝกึ หดั การอา่ นและเขียนชว่ ยฝกึ ทกั ษะใหผ้ เู้ รียนอ่าน เขยี น ภาษาไทยได้
4. ใช้เทคนิคการสอนแบบบูรณาการโดยการผสมผสานกับประเพณีวัฒนธรรมในชุมชน ในการผสมคำฝึกเขยี น
อ่าน หลายๆรอบ จนผเู้ รียนสามารถอ่านได้
5. มีการพบกลมุ่ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ตามปฏทิ ินการสอน
6. มกี ารเสริมแรงและสร้างขวัญกำลงั ใจใหก้ ับผูเ้ รยี นทกุ ครัง้
7. ในระหว่างการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ ครูผูส้ อนมมี าตราการในการปอ้ งกนั โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโร
นา่ เชน่ เจลล้างมอื เคร่ืองวดั อณุ หภูมิ และสวมหนา้ กากอนามยั ทกุ คร้ัง
8. ครูใชเ้ พลง เกม กจิ กรรมเสริม เชน่ การทำยางยืดออกกำลงั กายเพ่ือสุขภาพ การเต้นบาสโลบ๊ ในระหวา่ งการ
ทำกจิ กรรม
9. ครูเปลีย่ นบรรยากาศการเรียนการสอนจากในหอ้ งเรยี น มาเปน็ นอกห้องเรยี น
10. ใช้ส่ือการสอนจากประสบการณต์ รง
11 ครกู ศน.ตำบลนคิ มพฒั นา ใหค้ วามรว่ มมือในการจดั กจิ กรรมเปน็ อย่างดี โดยอำนวยความสะดวกและ
ประสานกลมุ่ เปา้ หมายเข้าร่วมกจิ กรรม

9.ทำไมถึงเลือกเปน็ Best Practice
ครพู ัฒนาการเรยี นของผเู้ รยี นโดยยึดหลักวงจรคุณภาพของเดมม่ิง (PDCA) พร้อมท้ังดำเนินการวเิ คราะห์สภาพ

จดั การเรยี นการสอนตามเทคนคิ วธิ กี ารและส่อื ทไ่ี ดร้ บั ความรจู้ ากการอบรมประเมินผลการเรียนร้ขู องผู้เรียน พรอ้ มท้งั
ติดตามผลการนำความร้ไู ปใช้ ผเู้ รียนมีทกั ษะด้านการอา่ น การเขียน และการคดิ คำนวณ (อา่ นภาษาไทยแบบแจกลูก -
สะกดคำได้ ผสมคำใหม)่ ไดอ้ ย่างมมี าตรฐานและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีขน้ึ และนำความรแู้ ละประสบการณ์มา
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ตามปรัชญาคิดเป็น สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน และสงั คม เปน็ สำคัญ

ผลงานการปฏิบัติงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หน้า 5

10. บทเรียนท่ีไดร้ บั
1) ผู้เรียนมที ักษะ ในการอ่าน เขียน
2) ผู้เรียน ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
3) ผเู้ รียนไดแ้ ลกเปล่ียนเรยี นรูซ้ ่งึ กนั และกนั ไดพ้ บปะพูดคุย เกิดกระบวนการกลมุ่
4) ผูเ้ รยี นสามารถนำความรู้ทไี่ ด้รับไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
5) ลดปญั หาภาวการณ์ซมึ เศร้า

11. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ/รางวลั ที่ไดร้ ับ
กลุ่มส่งเสริมการรู้หนังสือมีความรู้ มีความสามารถ ในการฟังพูด อ่าน เขียนภาษาไทยได้ดี มีทักษะในการรู้

หนังสือ รักการอ่าน คงสภาพการรู้หนังสือ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตลอดจนมีความภาคภูมิใจท่ี
เรยี นจบหลักสูตร และได้รับวฒุ บิ ัตรในการรว่ มกจิ กรรม

ขา้ พเจา้ ไดเ้ ผยแพรภ่ าพกิจกรรมการสอนผา่ นทางเพจ และไลนค์ รอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน
และจดั ทำสรุปผลการดำเนนิ การจัดกจิ กรรม เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาและเผยแพร่กับผสู้ นใจต่อไป

12.ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน

ผลงานการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice) หน้า 6

ผลงานการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หนา้ 7

ผลงานการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หนา้ 8

ผลงานการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หนา้ 9

ผลงานการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หนา้ 10

ผลงานการปฏิบตั ิงานท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) หนา้ 11

12. ข้อเสนอแนะ
จากแบบสอบถามปลายเปิดข้อเสนอแนะของผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนมีความสนใจในการจัดกิจกรรมและมีพ้ืน

ฐานความร้เู ดิม เพยี งแต่อาจมกี าร หลง ลมื หนงั สอื ไปบ้าง เนอื่ งจากสภาพรา่ งกาย สายตา และอายทุ ี่มากข้นึ เปน็ ปัจจัย
สำคัญ ซึ่งมีขอ้ เสนอแนะดังน้ี

1) อยากให้มีการนำเทคโนโลยีชว่ ยในการสอนทท่ี ันสมัยมากขนึ้
2) อยากมกี ลมุ่ ไลน์ ของกลุ่มผู้ลมื หนังสือ / ประชาชนทว่ั ไป/ผูส้ ูงอายุ
3) อยากให้มีการจัดกิจกรรมอื่นที่เหมาะกับผู้สูงอายุแทรก เพิ่มเติมขึ้น เช่น การออกกำลัง กายเบาๆ

สำหรบั ผู้สูงอายุและกจิ กรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่ใกลบ้ ้าน

ผลงานการปฏบิ ัติงานทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) หน้า 12

ทปี่ รึกษา คณะผ้จู ดั ทำ
1. นางปติ คิ ลอ จักขุพนั ธ์
2. นายเนตร แสงทอง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอขุขันธ์
3. นางญดานฎิ ฐ์ บงั คะดารา ครูชำนาญการ
4. นางประไพพักตร์ แทน่ แก้ว ครูผ้ชู ว่ ย
บรรณารกั ษช์ ำนาญการ
รวบรวมข้อมูล
นางสาววลิ ัย ปรางมาศ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น

พมิ พ์ / ออกแบบ /เข้าเล่ม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
นางสาววลิ ัย ปรางมาศ


Click to View FlipBook Version