งานแกะสลกั
นายวิทวสั อนิ ใชย
64304060011
งานแกะสลกั
นายวทิ วัส อินใชย
64304060011
รายงานฉบับน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของรายวชิ า 3400 – 1001 สัมมนาวิชาชพี
สาขาวชิ าบรหิ ารงานคหกรรมศาสตร์ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาลำปาง
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565
ก
คำนำ
การแกะสลักเดิมเป็นวิชาการขั้นสูงของกุลรั้วในวัง ต้องฝึกฝนและเรียนรู้จนเกิดความชำนาญบรรพ
บุรษุ ของไทยเราได้มกี ารแกะสลักกนั มานานแลว้ แต่จะเรมิ่ กันมาต้ังแต่สมัยใดนัน้ ไม่มีผู้ร้เู น่ืองจากไม่มีหลักฐาน
แน่ชัด จนถึงสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ในรัชสมัยของสมเด็จพระร่วงเจ้า พระราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือน
สิบสอง เป็นนักขัตกฤษ์ชกั โคมลอย นางนพมาศได้คดิ ตกแต่งโคมลอยให้งามประหลาดกว่าโคมของพระสนมทั้ง
ปวง ไดเ้ ลือกผกาเกสรสีตา่ ง ๆ ประดับเปน็ รูปดอกกระมทุ บานกลีบรบั แสงพระจันทร์ ลว้ นแตพ่ รรณของดอกไม้
ซ้อนสีสลับให้เป็นลวดลายแล้วจึงนำเอาผลพฤกษาลดาชาติ มาแกะสลักเป็นระมยุระคณานกวิหคหงส์ให้จับจิก
เกสรบุปผาชาติอยู่ตามกลีบดอกกระมุท เป็นระเบียบร้อยวิจิตรไปด้วยสีย้อมสดส่ง ควรจะทอดทัศนายิ่งนัก ท้ัง
เสียบแซมเทียนธูปและประทับน้ำมันเปรียงเจือด้วยไขข้อระโค (กรมศิลปากร, 2531 : 97 – 98) จึงได้มี
หลกั ฐานการแกะสลักมาตัง้ แตส่ มยั น้ัน
งานแกะสลัก เล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งขอวิชชาสัมมนาวิชาชีพ รหัสวิชา3400 – 1001 สัมมนาวิชาชีพ
ผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องของงานแกะสลัก และศึกษาเนื้อหาที่น่าสนใจ นำมารียบเรียงเป็นลำดับขั้นตอน
พร้อมวิดีโอเพื่อให้สามารถเข้าใจได้ง่าย ลักษณะของเอกสารรายงานเล่มนี้เป็นการรวบรวมสาระสำคัญของ
หลกั กาประดษิ ฐห์ ลายๆอยา่ ง การเลอื กใชว้ ัสดุ
ขอขอบคุณท่านอาจารย์ฉันทนา หอมขจร ผู้ให้คำปรึกษาชี้แนะและตรวจแก้ไขในรายงานเล่มน้ี
ตลอดจนทำให้รายงานเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์
แก่ผู้อ่านและผู้ที่มีความสนใจจะศึกษาไม่มากก็น้อย หากรายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทำต้องขอ
อภยั ไว้ ณ ทีน่ ด้ี ้วย
สารบัญ
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ ๑
บทที่ 1 ๓
ความรูเ้ กี่ยวกบั การแกะสลัก ๓
๓
ความเป็นมา ๔
ความสำคัญ ๕
ลักษณะของงาน ๕
ประโยชน์ ๕
การเกบ็ รกั ษา ชิน้ งานแกะสลกั ๖
บทท่ี 2 ๖
ประเภท / วัสดอุ ปุ กรณ์ ๖
ประเภทของงานแกะสลัก ๖
๙
ประเภทท่ี 1 งานแกะสลกั สบู่ ๑๑
ประเภทที่ 2 งานแกะสลกั ผลไม้ ๑๓
ประเภทท่ี 3 งานแกะสลักไม้ ๑๓
วสั ดุอปุ กรณ์ ๑๔
2.1 วัสดุสำหลบั งานแกะสลัก ๑๕
2.2 อปุ กรณ์ทใี่ ชแ้ กะสลกั ๑๕
บทที่ 3 ๑๕
เทคนคิ การประดษิ ฐ์ ๑๕
องคป์ ระกอบศิลป์ ๑๖
ส่วนประกอบของ องคป์ ระกอบศลิ ป ๑๖
การเลอื กใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ ๑๖
การเลอื กใชว้ ัสดุในการแกะสลกั ๑๗
การเลอื กใช้อุปกรณใ์ นการแกะสลกั ๑๗
บทที่ 4
วิธีการแกะสลัก
๑
บทนำ
งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนงการแกะสลักก็เป็นงาน
ศิลปะอย่างหนึ่งที่ถือเป็นมรดกมีค่าที่สืบทอดกันมาช้านาน เป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความถนัด สมาธิ
ความสามารถเฉพาะตัว และความละเอียดออ่ นมาก การแกะสลักผกั และผลไม้ เป็นการแสดงออกทาง
วฒั นธรรมท่ีเปน็ เอกลักษณ์ประจำของชาตไิ ทยเลยทีเดียว ซงึ่ ไม่มชี าติใดสามารถเทยี บเทยี มได้ แต่ส่ิงที่
น่าเป็นห่วงที่สุดในปัจจุบันนี้คงจะเป็นเรื่องของการอนุรักษ์ ศิลปะแขนงนี้ที่มีแนวโน้มจะสูญหายไป
และลดน้อยลงไปเรื่อยๆ การแกะสลักผักและผลไม้เดิมเป็นวิชาที่เรียนขั้นสูงของ กุลสตรีในรั้วในวัง ท่ี
ต้องมีการฝึกฝนและเรียนรู้จนเกิดความชำนาญ บรรพบุรุษของไทยเราได้มีการแกะสลักกัน มานาน
แล้ว แตจ่ ะเริม่ กนั มาตั้งแต่สมัยใดนัน้ ไมม่ ีใครรู้แน่ชัด
เนื่องจากไม่มีหลักฐานแน่ชัด จนถึงในสมัยสโุ ขทัยเป็นราชธานี ในสมัยของสมเด็จพระร่วงเจ้า
ได้มีนางสนมคนหนึ่งชื่อ นางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้แต่งหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า ตำรับท้าว
ศรีจุฬาลักษณ์ขึ้น และในหนังสือเล่มนี้ ได้พูดถึงพิธีต่าง ๆ ไว้ และพิธีหนึ่ง เรียกว่า พระราชพิธี
จองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง เป็นพิธีโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยที่งดงาม
ประหลาดกว่าโคมของพระสนมคนอื่นท้ังปวง และได้เลือกดอกไม้สีต่าง ๆ ประดับให้เป็นลวดลายแล้ว
จึงนำเอาผลไม้ มาแกะสลักเป็นนกและหงสใ์ ห้เกาะเกสรดอกไม้อยู่ตามกลีบดอก เป็นระเบียบสวยงาม
ไปดว้ ยสสี ันสดสวย ชวนน่ามองยง่ิ นกั รวมทงั้ เสียบธูปเทยี น จงึ ไดม้ หี ลักฐานการแกะสลักมาตั้งแต่สมัย
นั้น ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดการประพันธ์ยิ่งนัก
พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์กาพย์แห่ชมเครื่องคาวหวาน และแห่ชมผลไม้ได้พรรณนา ชมฝีมือการ
ทำอาหาร การปอกคว้านผลไม้ และประดิดประดอยขนมสวยงาม และอร่อยทั้งหลาย ว่าเป็นฝีมืองาม
เลิศของสตรีชาววังสมัยนั้น และทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง สังข์ทอง พระองค์ทรงบรรยายตอน
นางจนั ทร์เทวี แกะสลกั ช้นิ ฟกั เป็นเรื่องราวของนางกับพระสังข์ นอกจากน้นั ยังมีปรากฏในวรรณกรรม
ไทยแทบ ทุกเรื่อง เมื่อเอ่ยถึงตัวนางซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องว่า มีคุณสมบัติของกุลสตรี เพรียกพร้อม
ด้วยฝีมือการปรุงแต่งประกอบอาหารประดิดประดอยให้สวยงามทั้งมี ฝีมือในการประดิษฐ์งานช่างทั้ง
ปวง ทำให้ทราบวา่ กลุ สตรีสมยั นนั้ ไดร้ บั การฝกึ ฝนให้พิถีพถิ ันกบั การจดั ตกแตง่ ผัก ผลไม้ และการปรุง
แต่งอาหารเป็นพิเศษ จากขอ้ ความน้นี ่าจะเป็นทย่ี ืนยนั ได้ว่า
การแกะสลักผัก ผลไม้ เป็นศิลปะของไทยที่กุลสตรีในสมัยก่อนมีการฝึกหัด เรียนรู้ผู้ใดฝึกหัด
จนเกิดความชำนาญ ก็จะได้รับการยกย่อง งานแกะสลักใช้กับของอ่อน สลักออกมาเป็นลวดลายต่างๆ
อย่างงดงาม มีสลักผัก สลักผลไม้ สลักหยวกกล้วยถือเป็นงานช่างฝีมือของคนไทยที่มีมาแต่โบราณ
งานสลักจึงอยูใ่ นงานช่าง 10 หมู่ เรียกว่า ช่างสลัก ในช่างสลักแบ่งออกยอ่ ย คือ ช่างฉลุ ช่างกระดาษ
ช่างหยวก ชา่ งเครอื่ งสด ส่วนชา่ งอกี 9 หม่ทู เี่ หลอื ไดแ้ ก่ ชา่ งแกะ ท่ีมที ้งั ชา่ งแกะตรา ช่างแกะลาย ช่าง
แกะพระหรือภาพช่างหุ่น มีช่างไม้ ช่างไม้สูง ช่างปากไม้ ช่างปั้น มีช่างขี้ผึ้ง ช่างปูน เป็นช่างขึ้นรูปปูน
มีช่างปั้น ช่างปูนก่อ ช่างปูนลอย ช่างปั้นปูน ช่างรัก มีช่างลงรัก มีปิดทอง ช่างประดับกระจก ช่างมุก
ช่างบุ บุบาตรพระเพียงอย่างเดียว ช่างกลึง มีช่างไม้ ช่างหล่อ มีช่างหุ่นดิน ช่างข้ีผึ้ง ช่างผสมโลหะ
ช่างเขียน มีช่างเขียน ช่างปิดทองการสลักหรือจำหลัก จัดเป็นศิลปกรรมแขนงหนึ่งในจำพวก
ประติมากรรม เป็นการประดิษฐ์วัตถุเนื้ออ่อนอย่างผัก ผลไม้ ที่ยังไม่เป็นรูปร่าง หรือมีรูปร่างอยู่แล้ว
สร้างสรรค์ให้สวยงามและพิสดารขึ้น โดยใช้เครื่องมือที่มีความแหลมคม โดยใช้วิธีตัด เกลา ปาด แกะ
คว้าน ทำให้เกิดลวดลายตามต้องการ ซึ่งงานสลักนี้เป็นการฝึกทักษะสัมพันธ์ของมือและสมอง เป็น
การฝึกจิตให้นิ่ง แน่วแน่ต่องานข้างหน้า อันเป็นการฝึกสมาธิได้อย่างดีเลิศ การสลักผักผลไม้นอกจาก
จะเป็นการฝึกสมาธแิ ล้วยังเป็นการฝกึ ฝมี อื ให้เกิดความชำนาญเป็นพเิ ศษ และต้องมีความมานะ อดทน
ใจเย็น และมีสมาธิเป็นที่ต้ัง รู้จักการตกแต่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การทำงานจ้องให้จิตใจทำไปพรอ้ ม
กับงานที่กำลังสลักอยู่ จึงได้งานสลักที่สวยงามเพริศแพร้วอย่างเป็นธรรมชาติ ดัดแปลงเป็นลวดลาย
ประดิษฐ์ต่างๆ ตามใจปรารถนา ปัจจุบันวิชาการช่างฝีมือเหล่านี้ ถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตร ตั้งแต่ช้ัน
ประถมศึกษา มัธยมศึกษามาจนถึงอุดมศึกษาเป็นลำดับ ประกอบกับรัฐบาลและภาคเอกชนได้ให้การ
สนบั สนุน จึงมกี ารอนุรกั ษ์ศลิ ปะตา่ ง ๆ อย่างแพรห่ ลาย โดยเฉพาะการแกะสลักผลงานประเภทเคร่ือง
จิ้ม จนกระทั่งงานแกะสลักได้กลายเป็นสิ่งที่ต้องประดิษฐ์ ตกแต่งบนโต๊ะอาหารในการจัดเลี้ยงแขก
ต่างประเทศ ตามโรงแรมใหญ่ ๆ ภัตตาคาร ตลอดจนร้านอาหาร ก็จะใช้งานศิลปะการแกะสลักเข้าไป
ผสมผสานเพื่อให้เกิดความสวยงาม หรูหรา และประทับใจแก่แขกในงาน หรือสถานที่นั้นๆ งาน
แกะสลกั ผลไม้ จงึ มีสว่ นชว่ ยตกแตง่ อาหารได้มาก คงเปน็ เชน่ น้ีตลอดไป
บทท่ี 1
ความรเู้ กย่ี วกับการแกะสลัก
ความเป็นมา
งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การแกะสลักก็เป็นงานศิลปะอย่าง
หนึ่งที่ถือเป็นมรดกมีค่าที่สืบทอดกันมาช้านาน เป็นงานฝีมือที่ต้องใช้ความถนัด สมาธิ ความสามารถเฉพาะตวั
และความละเอียดอ่อนมาก การแกะสลักผักและผลไม้ เป็นการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์
ประจำของชาติไทยเลยทีเดียว ซึ่งไม่มีชาติใดสามารถเทียบเทียมได้ แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงที่สุดในปัจจุบันนี้คงจะ
เปน็ เรื่องของการอนรุ กั ษ์ ศลิ ปะแขนงนท้ี มี่ ีแนวโนม้ จะสูญหายไปและลดน้อยลงไปเรือ่ ยๆ
การแกะสลักผักและผลไม้เดิมเป็นวิชาที่เรียนขั้นสูงของ กุลสตรีในรั้วในวัง ที่ต้องมีการฝึกฝนและ
เรียนรู้จนเกิดความชำนาญ บรรพบุรุษของไทยเราได้มีการแกะสลักกัน มานานแล้ว แต่จะเริ่มกันมาตั้งแต่สมัย
ใดนั้น ไม่มีใครรู้แน่ชัด เนื่องจากไม่มีหลักฐานแน่ชัด จนถึงในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ในสมัยของสมเด็จพระ
ร่วงเจา้ ไดม้ นี างสนมคนหน่ึงช่อื นางนพมาศ หรอื ทา้ วศรจี ุฬาลกั ษณ์ ได้แต่งหนังสือเลม่ หน่ึงชือ่ วา่ ตำรับท้าวศรี
จุฬาลักษณ์ขึ้น และในหนังสือเล่มนี้ ได้พูดถึงพิธีต่าง ๆ ไว้ และพิธีหนึ่ง เรียกว่า พระราชพิธีจองเปรียงในวัน
เพ็ญเดือนสิบสอง เป็นพิธีโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยที่งดงามประหลาดกว่าโคมของพระสนม
คนอื่นทั้งปวง และได้เลือกดอกไม้สีต่าง ๆ ประดับให้เป็นลวดลายแล้วจึงนำเอาผลไม้ มาแกะสลักเป็นนกและ
หงส์ให้เกาะเกสรดอกไม้อยู่ตามกลีบดอก เป็นระเบียบสวยงามไปด้วยสีสันสดสวย ชวนน่ามองยิ่งนัก รวมท้ัง
เสียบธูปเทยี น จึงไดม้ ีหลกั ฐานการแกะสลกั มาต้งั แตส่ มัยนนั้
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดการประพันธ์ยิ่งนัก
พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์กาพย์แห่ชมเครื่องคาวหวาน และแห่ชมผลไม้ได้พรรณนา ชมฝีมือการทำอาหาร
การปอกคว้านผลไม้ และประดิดประดอยขนมสวยงาม และอร่อยทั้งหลาย ว่าเป็นฝีมืองามเลิศของสตรีชาววัง
สมัยนั้น และทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง สังข์ทอง พระองค์ทรงบรรยายตอนนางจันทร์เทวี แกะสลักชน้ิ
ฟักเป็นเร่อื งราวของนางกบั พระสังข์ นอกจากน้ันยงั มปี รากฏในวรรณกรรมไทยแทบ ทกุ เร่ือง เมือ่ เอ่ยถึงตัวนาง
ซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องว่า มีคุณสมบัติของกุลสตรี เพรียกพร้อมด้วยฝีมือการปรุงแต่งประกอบอาหาร
ประดิดประดอยให้สวยงามทั้งมี ฝีมือในการประดิษฐ์งานช่างทั้งปวง ทำให้ทราบว่า กุลสตรีสมัยนั้นได้รับการ
ฝึกฝนให้พิถีพิถันกับการจัดตกแต่งผัก ผลไม้ และการปรุงแต่งอาหารเป็นพิเศษ จากข้อความนี้น่าจะเป็นที่
ยืนยันได้ว่า การแกะสลักผัก ผลไม้ เป็นศิลปะของไทยที่กุลสตรีในสมัยก่อนมีการฝึกหัด เรียนรู้ผู้ใดฝึกหัดจน
เกดิ ความชำนาญ กจ็ ะไดร้ บั การยกยอ่ ง
งานแกะสลักใช้กับของอ่อน สลักออกมาเป็นลวดลายต่างๆอย่างงดงาม มีสลักผัก สลักผลไม้ สลัก
หยวกกล้วยถือเป็นงานช่างฝีมือของคนไทยที่มีมาแต่โบราณ งานสลักจึงอยู่ในงานช่าง 10 หมู่ เรียกว่า ช่าง
สลัก ในช่างสลักแบ่งออกย่อย คือ ช่างฉลุ ช่างกระดาษ ช่างหยวก ช่างเครื่องสด ส่วนช่างอีก 9 หมู่ที่เหลือ
ได้แก่ ช่างแกะ ที่มีทั้งช่างแกะตรา ช่างแกะลาย ช่างแกะพระหรือภาพช่างหุ่น มีช่างไม้ ช่างไม้สูง ช่างปากไม้
ชา่ งปน้ั มีช่างขีผ้ ึ้ง ช่างปูน เป็นช่างข้นึ รูปปูน มชี า่ งป้นั ช่างปูนกอ่ ชา่ งปนู ลอย ช่างป้ันปูน ช่างรกั มชี า่ งลงรัก มี
ปิดทอง ช่างประดับกระจก ช่างมุก ช่างบุ บุบาตรพระเพียงอย่างเดียว ช่างกลึง มีช่างไม้ ช่างหล่อ มีช่างหุ่นดนิ
ช่างข้ีผงึ้ ช่างผสมโลหะ ชา่ งเขียน มชี า่ งเขียน ชา่ งปิดทอง
การสลักหรือจำหลัก จัดเป็นศิลปกรรมแขนงหนึ่งในจำพวกประติมากรรม เป็นการประดิษฐ์วัตถุ
เนื้ออ่อนอย่างผัก ผลไม้ ที่ยังไม่เป็นรูปร่าง หรือมีรูปร่างอยู่แล้วสร้างสรรค์ให้สวยงามและพิสดารขึ้น โดยใช้
เครื่องมือที่มีความแหลมคม โดยใช้วิธีตัด เกลา ปาด แกะ คว้าน ทำให้เกิดลวดลายตามต้องการ ซึ่งงานสลักน้ี
เป็นการฝกึ ทักษะสมั พนั ธ์ของมอื และสมอง เป็นการฝกึ จติ ใหน้ ่งิ แนว่ แน่ตอ่ งานขา้ งหนา้ อันเป็นการฝึกสมาธิได้
อย่างดเี ลศิ
การสลักผักผลไม้นอกจากจะเป็นการฝึกสมาธิแล้วยังเป็นการฝึกฝีมือให้เกิดความชำนาญเป็นพิเศษ
และต้องมีความมานะ อดทน ใจเย็น และมีสมาธิเป็นที่ตั้ง รู้จักการตกแต่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การทำงาน
จอ้ งใหจ้ ติ ใจทำไปพรอ้ มกับงานท่กี ำลังสลักอยู่ จงึ ไดง้ านสลักทีส่ วยงามเพรศิ แพร้วอย่างเป็นธรรมชาติ ดัดแปลง
เป็นลวดลายประดษิ ฐต์ ่างๆ ตามใจปรารถนา
ปัจจุบันวิชาการช่างฝีมือเหล่านี้ ถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตร ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษามาจนถึง
อดุ มศึกษาเปน็ ลำดับ ประกอบกบั รฐั บาลและภาคเอกชนไดใ้ ห้การสนบั สนนุ จึงมกี ารอนุรกั ษศ์ ลิ ปะตา่ ง ๆ อยา่ ง
แพร่หลาย โดยเฉพาะการแกะสลักผลงานประเภทเครื่องจิ้ม จนกระทั่งงานแกะสลักได้กลายเป็นสิ่งที่ต้อง
ประดิษฐ์ ตกแต่งบนโต๊ะอาหารในการจัดเลี้ยงแขกต่างประเทศ ตามโรงแรมใหญ่ ๆ ภัตตาคาร ตลอดจน
ร้านอาหาร ก็จะใช้งานศิลปะการแกะสลักเข้าไปผสมผสานเพื่อให้เกิดความสวยงาม หรูหรา และประทับใจแก่
แขกในงาน หรอื สถานทีน่ ัน้ ๆ งานแกะสลักผลไม้ จึงมสี ว่ นชว่ ยตกแต่งอาหารได้มาก คงเปน็ เช่นน้ตี ลอดไป
ความสำคัญ
เนื่องจากว่าสบู่เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถทำเองได้ง่าย และสามารถมาสร้างรายได้ ทำให้มีคู่แข่ง
ทางด้านการตลาดเยอะ การแกะสลักสบู่ให้สวยงามโดดเด่น ทำให้เป็นที่สนใจของผู้ที่พบเจอสบู่แกะสลักหาก
ซื้อไปแล้วไม่จำเป็นจะต้องใช้ทำความสะอาดร่างกายได้อย่างเดียว สามารถนำไปไว้ตามมุมห้อง ภายในรถยนต์
เพื่อใช้แทนน้ำหอมดับกลิ่น และเป็นของตกแต่งได้อีกด้วยการแกะเป็นการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่เป็น
เอกลกั ษณ์ประจำชาติไทยเลยทีเดียว ซึง่ ไม่มชี าติใดสามารถเทยี มได้ แตส่ ิง่ ท่ีนา่ เปน็ ห่วงทีส่ ดุ ในปัจจุบนั น้ีเห็นจะ
เป็นเร่ืองของการอนุรกั ษศ์ ิลปแขนงน้ีทม่ี แี นวโนม้ จะสูญหายไปหรือลดน้อยลงไปเรอื่ ยการแกะสลักผักและผลไม้
เดิมเป็นวิชาการขั้นสูงของกุลสตรีในรั้วในวัง ต้องฝึกฝนและเรียนรู้จนเกิดความชำนาญบรรพบุรุษาของไทยเรา
ได้มีการแกะสลักกันมานานแล้ว แต่จะเริ่มกันมาตั้งแต่สมัยใดนั้น ไม่มีผู้รู้เนื่องจากไม่มีหลักฐานแน่ ชัด จนถึง
สมัยสุโขทยั เป็นราชธานี ในรัชสมยั ของสมเด็จพระร่วงเจ้า
ได้มีนางสนมคนหนึ่งชื่อ นางนพมาศ หรือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ได้แต่งหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า ตำรับท้าว
ศรีจุฬาลักษณ์ หรือนางนพมาศข้ึน และในหนังสอื เล่มน้ี ได้กล่าวถึงพิธีตา่ ง ๆ ไว้ และพิธีหน่ึง เรียกว่า พระราช
พิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดือนสิบสอง เป็นนักขัตกฤษ์ชักโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยให้งาม
ประหลาดกว่าโคมของพระสนมทั้งปวง ได้เลือกผกาเกสรสีต่าง ๆ ประดับเป็นรูปดอกกระมุทบานกลีบรับแสง
พระจันทร์ ล้วนแต่พรรณของดอกไม้ซ้อนสีสลับให้เป็นลวดลายแล้วจึงนำเอาผลพฤกษาลดาชาติมาแกะสลัก
เป็นระมยุระคณานกวิหคหงส์ให้จับจิกเกสรบุปผาชาติอยู่ตามกลีบดอกกระมุทเป็นระเบียบร้อยวิจิตรไปด้วยสี
ย้อมสดส่งควรจะทอดทัศนายิ่งนักทั้งเสียบแซมเทียนธูปและประทับน้ำมันเปรียงเจือด้วยไขข้อระโคจึงได้มี
หลักฐานการแกะสลกั มาต้ังแต่สมัยน้ันสบู่แกะสลักหากซื้อไปแล้วไม่จำเป็นจะต้องใช้ทำความสะอาดร่างกายได้
อย่างเดียว สามารถนำไปไว้ตามมุมห้อง ภายในรถยนต์เพื่อใช้แทนน้ำหอมดับกลิ่น และเป็นของตกแต่งได้อีก
ดว้ ย
ลักษณะของงาน
การแกะสลกั คอื เทคนคิ การใช้มีดแกะลงบนวัสดเุ พ่ือใหเ้ กิดลวดลายความสวยงามของช้ินงาน
และอปุ กรณ์ในการแกะสลักสามารถแบง่ ประเภทไดอ้ ีก ขึน้ อยกู่ บั วสั ดทุ ่ใี ช้ ไดแ้ ก่ สบู่ ผลไม้ แผน่ ไม้ เปน็ ตน้
ประโยชน์
1. เป็นงานศิลปะเพ่อื การดแู ล้วเกิดความเพลิดเพลินสุขใจ ส่งผลให้อารมณ์ออ่ นโยนละมุนละไมกบั
ความสวยงามท่ีไดส้ ัมผัส
2. ปรับอากาศภายในหอ้ งใหห้ อมกรุน่ ช่นื ใจ สร้างบรรยากาศแสนสบายภายในห้อง
3. เปน็ ของทร่ี ะลกึ ของชำรว่ ย ชองขวัญ ในโอกาสต่าง ๆ
4. เพอ่ื พฒั นาตอ่ ยอดศิลปะการแกะสลกั ของออ่ น
5. พัฒนาระดับจติ ใจ ผู้ลงมอื ปฏบิ ัติงานแกะสลกั สบูย่ ่อมมีสมาธเิ พ่ิมขน้ึ มคี วามเพลดิ เพลินขณะ
ทำงาน จิตใจจึงผูกติดกับอารมณ์ท่ีเป็นสขุ ขณะทำงาน
6. สรา้ งรายไดเ้ สรมิ จากการแกะสลักเพ่อื จดั จำหนา่ ยในโอกาสตา่ ง ๆ
การเกบ็ รักษา ชิ้นงานแกะสลัก
สบแู่ ละไมค้ วรเก็บไวใ้ นอุณหภูมปิ กติไม่ควรโดนน้ำหรือความร้อนเพราะจะทำใหช้ ิ้นงานเสียหาย
ผลไม้เมื่อแกะเสรจ็ นำผา้ ขาวบางชบุ นำ้ แลว้ คลมุ ใส่ถุงแชต่ ้เู ยน็
บทที่ 2
ประเภท / วัสดุอปุ กรณ์
ประเภทของงานแกะสลกั
การแกะสลกั แบง่ ตามลักษณะของเนอ้ื วสั ดุแบงออกเปน็ 3 ประเภท
ประเภทท่ี 1 งานแกะสลกั สบู่
งานแกะสลกั สบู่
งานแกะสลกั สบู่
ประเภทท่ี 2 งานแกะสลักผลไม้
งานแกะสลกั ผลไม้
ประเภทท่ี 3 งานแกะสลกั ไม้
งานแกะสลกั ไม้
วสั ดุอปุ กรณ์
2.1 วสั ดุสำหลบั งานแกะสลัก
2.1.1 สบู่
2.1.2 ผลไม้
2.1.3 แผน่ ไม้
2.2 อปุ กรณท์ ีใ่ ชแ้ กะสลกั
2.2.1 มดี แกะสลัก (ผลไม้และสบู่ใชอ้ ปุ กรณ์เหมอื นกัน)
2.2.2 ส่ิวแกะไม้
บทที่ 3
เทคนคิ การประดษิ ฐ์
องคป์ ระกอบศลิ ป์
งานประดิษฐ์ทุกชนิด ทุกประเภท จำเป็นต้องใช้องค์ความรู้ เรื่ององค์ประกอบศิลป์ผู้ประดิษฐ์ จึงต้อง
ศึกษา ทำความเข้าใจเรื่ององค์ประกอบศิลป์ เพื่อเป็นแนวทางในการประดิษฐ์ชิ้นงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งจะช่วยให้ได้งานประดิษฐท์ ป่ี ระณตี สวยงาม และมคี ณุ ภาพ
องค์ประกอบศิลป์ หรือ Composition หมายถึง การนำสิ่งต่างๆ มาประยุกต์และดัดแปลง ผนวก
ความสร้างสรรค์ในแต่ละบุคคล แล้วนำมารวมกันตามสัดส่วนและความเหมาะสม จากนั้นสร้างสรรค์เป็น
ผลงาน ออกมาให้เกิดเป็นความน่าสนใจและมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวมากที่สุด อีกทั้งความน่าสนใจใน
แต่ละ ชน้ิ งานน้ันอาจจำเปน็ ต้องตอบโจทย์และตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผู้รับสารด้วย
ส่วนประกอบของ องคป์ ระกอบศลิ ป
1. จดุ (Point, Dot) เป็นสว่ นประกอบที่เล็กท่ีสดุ เปน็ สว่ นเริ่มตน้ ไปสสู่ ว่ นอื่นๆ เช่น การนำจุดมาเรียง
ต่อกนั ตามตำแหน่งท่ีเหมาะสม และซ้ำๆ กนั จะทำใหเ้ รามองเห็นเป็น เสน้ รปู รา่ ง รูปทรง ลักษณะผิว และการ
ออกแบบทนี่ ่าตน่ื เตน้ ได้ จากจดุ หนงึ่ ถงึ จดุ หน่งึ มีเสน้ ทม่ี องไมเ่ หน็ ดว้ ยตา แตเ่ หน็ ไดด้ ว้ ยจนิ ตนาการ เราเรียกวา่
เสน้ โครงสร้าง นอกจากจุดท่เี รานำมาจดั วางเพ่อื การออกแบบ เราสามารถพบเหน็ ลกั ษณะการจดั วางจุดจากสิ่ง
เป็นธรรมชาติ ที่อยู่รอบๆ ตัวเราได้ เช่น ข้าวโพด รวงข้าว เมล็ดถั่ว ก้อนหิน เปลือกหอย ใบไม้ ลายของสัตว์
นานาชนิด ได้แก่ เสือ ไก่ นก สุนัข งู ม้าลาย และแมว เป็นต้น สิ่งเหล่านีธ้ รรมชาติได้ออกแบบไว้อย่างสวยงาม
มีระเบียบ มีการซ้ำกันอย่าง มีจังหวะและมีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์เราเป็นอย่างมาก เช่น การออกแบบ
ลกู คดิ ลูกบดิ ประตู การร้อยลูกปัด สรอ้ ยคอ และเคร่ืองประดับต่างๆ ส่งิ เหลา่ นลี้ ้วนแลว้ แต่เกดิ มาจากจุดทง้ั สนิ้
2. เส้น (Line) เกิดจากจุดที่เรียงต่อกัน หรือเกิดจากการลากเส้นไปยังทิศทางต่างๆ มีหลายลักษณะ
เช่น ตั้ง นอน เฉียง โค้ง ฯลฯ เส้น เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้านำจุดมาวางเรียงต่อๆ กันก็จะเกิดเป็นเส้น
ขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้าง ทำหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง สี น้ำหนัก
รวมทั้ง 21 เป็นแกนหลกั โครงสร้างของรูปรา่ งรปู ทรงต่างๆ เส้นเปน็ พนื้ ฐานที่สำคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้น
สามารถให้ ความหมาย แสดงความรู้สึกและอารมณ์ด้วย การสร้างเป็นรูปทรงต่างๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ
เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้เมื่อนำมาจัดวางในลักษณะที่ต่างกัน ก็
จะให้ ความหมาย และความรู้สึก ท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปดว้ ย และเป็นอกี หน่ึงใน องค์ประกอบศลิ ป์ ที่สำคัญมาก
3. รูปร่างและรปู ทรง (Shape and Form) รปู รา่ ง คอื พ้นื ท่ี ท่ลี อ้ มรอบดว้ ยเส้นทแ่ี สดงความกวา้ ง
และความยาว รปู ร่างจึงมสี องมิตริ ูปทรง คือ ภาพสามมิตทิ ่ีต่อเนื่องจากรูปร่าง โดยมีความหนา หรือความลึก
ทำใหภ้ าพทเี่ ห็นมี ความชัดเจน และสมบรู ณ์รปู รา่ งและรปู ทรงแบ่งออกเปน็ 3 ลกั ษณะใหญ่คือ
การเลอื กใชว้ ัสดุอุปกรณ์
การประดิษฐส์ ิง่ ต่างๆ จำเป็นตอ้ งใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ ผปู้ ระดิษฐ์ จึงตอ้ งศึกษา ทำความเข้าใจ และเลือกใช้
อุปกรณ์ให้ถูกวิธี เพื่อจะได้ใช้อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย มีประสิทธิภาพ รวมทั้งจะช่วยให้ได้
งานประดิษฐ์ทป่ี ระณตี สวยงาม และมคี ุณภาพ
การเลือกใชว้ ัสดุในการแกะสลกั
1. สบูค่ วรเลอื กใช้ทมี่ ีเน้ือแนน่ ไม่แข็งจนเกนิ ไป
2. ผลไม้ควรเลอื กทีส่ ดใหม่ไมม่ ีรอยช้ำหรือเนา่ เสยี
3. เน้อื ไม้ควรเลือกไม้ทีม่ เี น้อื ข้างในสวยงาม และควรเป็นไมส้ กั
การเลือกใช้อุปกรณ์ในการแกะสลกั
1. มีดแกะสลักควรเป็นมดี ทีม่ ีความคมอยา่ งมาก และต้องปลายแหลม
2. ส่ิวแกะไม้ควรเลือกท่ีมีขนาดเหมาะกบั มอื และคมทกุ ดา้ น
บทที่ 4
วิธกี ารแกะสลัก
วดี ีโอการแกะสลักสบู่
วดี โี อการแกะสลักสบู่
วดี โี อการแกะสลักสบู่
วดี ีโอการแกะสลักไม้
วดี โี ฮฃอการแกะสลักผลไม้
การแกะสลกั สบู่
การแกะสลกั สบู่ ดอกกุหลาบ
วิธที ำ
1. ตัดเน้ือสบู่ตามขวางออกเป็นสองสว่ นแลว้ เกลาสบเู่ ป็นรปู ทรงกลมนูนแล้วทำวงเกสร
2. แกะสลักกลบี เกสรทำใหเ้ ปน็ ลกั ษณะกลบี ซ้อนโดยปาดเน้ือสบอู่ อก โดยใช้มดี โค้ง ตาม
วงกลมแล้วทำให้ครบ 5 กลบี
3. แกะสลกั กลบี เกสรช้นั ตอ่ ไป โดยทำในลกั ษณะกลบี ซ้อนไปเรอ่ื ยๆจนถงึ ใจกลางตวั เกสร
4. ปาดเนือ้ สบใู่ หเ้ ปน็ วงกวา้ งแล้วบากตรงกลางใหเ้ ป็นปลายแหลมเพอ่ื ทำกลบี ดอก
5. แกะสลักกลีบดอกลงไปให้มีลักษณะแหลมแลว้ ทำกลบี ซอ้ นกนั ไปให้ครบ 5 กลีบ
6. แกะสลกั กลีบดอกสับหว่างกนั จนถึงช้ันสดุ ทา้ ย
7. ตดั เนอ้ื ใต้ฐานกลีบดอกออกให้หมด
8. ดอกกุหลาบกลบี แหลมท่ีสำเรจ็
การแกะสลกั สบู่ ลายดอกรกั เร่
วธิ ีทำ
1. รา่ งวงกลมช้นั ใน
2. แกะสลกั รปู ทรงดอกชนั้ ใน
3. กรีดมลี งในขอบด้านในวงกลมให้เป็นสามเหลี่ยนทำใหค้ รบรอบแล้วเกาออก
ใหเ้ กดิ ลอยกลีบรักเรจ่ ากนัน้ ทำชั้นต่อไปจนไมส่ ามารถไปต่อได้
4. เการูปทรงชน้ั นอกก่อนลงกลบี
5. แกะกลีบดอกรกั เร่ชน้ั นอก ช้นั ที่ 1
6. เกบ็ ลวดลายกอ่ นลงกลบี ชนั้ ที่ 2
7. ทำกลบี ดอกรักเรใ่ ห้ใหญก่ วา่ เดมิ แลว้ เก็บลายละเอียดงาน
การแกะสลกั สบู่ ลายดอกบานชนื่
วธิ ีทำ
1. รา่ งวงกลมชน้ั ใน
2. แกะสลกั รปู ทรงดอกชน้ั ใน
3. กรีดมลี งในขอบด้านในวงกลมให้เป็นรปู ทรงโคง้ ทำให้ครบรอบแล้วเกาออก
ให้เกดิ ลอยกลีบรักเร่จากนนั้ ทำช้ันตอ่ ไปจนไมส่ ามารถไปต่อได้
4. เการปู ทรงชัน้ นอกก่อนลงกลบี
5. แกะกลีบดอกบานชืน่ ชนั้ นอก ชนั้ ที่ 1
6. เกบ็ ลวดลายกอ่ นลงกลีบชนั้ ท่ี 2
7. ทำกลีบดอกบานชืน่ ให้ใหญก่ ว่าเดิมแลว้ เกบ็ ลายละเอียดงาน
การแกะสลกั สบู่ กหุ ลาบเป็นชอ่ พร้อมดอกตมู
วธิ ีทำ
1. เการูปทรงสบู่
2. วาดวงกลมทำกุหลาบชนั้ ใน
3. แกะกลีบดอกกุหลาบดา้ นในวงกลมเป็นชน้ั ๆ
4. แกะกลบี ชนั้ นอกเพื่อใหด้ อกกหุ ลาบบาน
5. ทำวงกลมขนาดเล็กดา้ นขา้ งเพือ่ ทำกหุ ลาบดอกเลก็
6. วาดกลีบสามเหลีย่ มเพื่อทำใบไม้
การแกะสลักผลไม้
การแกะสลกั แคนตาลปู
วิธีทำ
1. รา่ งวงกลมดอกกุหลาบดอกแรก
2. แกะดอกกหุ ลาบชน้ั ขา้ งใน ดอกทีห่ นง่ึ
3. แกะดอกกหุ ลาบทส่ี องและสาม
4. เการอบขา้ งดอกกุหลาบใหเ้ รยี บรอ้ ย
5. วาดกรีดสามเหล่ยี มเพอ่ื ทำใบไม้
6. เกาเก็บงานให้เรยี บร้อย
การแกะสลกั ไม้
การแกะสลกั ไม้ รปู ชา้ ง
วธิ ที ำ
1. เตรยี มเครือ่ งมอื และวัสดอุ ุปกรณต์ ่างๆใหพ้ ร้อม
2. ออกแบบลวดลายลงบนกระดาษแขง็ เพอ่ื ใช้เปน็ แบบทาบ
3. ใช้แบบทาบแล้วลอกลายลงบนแผ่นไม้
4. ใชเ้ ล่อื ยเลือ่ ยไม้สว่ นทไี่ มต่ อ้ งการออกเสยี ก่อนเพ่ือเป็นการ ขน้ึ รูปหรือโครงลาย
5. ใชส้ วิ่ ขนาดใหญส่ กัดลวดลาย เป็นการคดั ลายให้ทราบวา่ ส่วนใดเปน็ ลาย สว่ นใดเปน็ พน้ื
6. ทำการขุดพนื้ โดยขุดเพียงตืน้ ๆก่อนแล้วตรวดดูความถูกต้องแล้วจงึ ลงมือขุดพ้ืนใหล้ กึ ตามความตอ้ งการ
7. แกะตัวลายหรือโกลนลายด้วยการใช้สว่ิ ฉากปาดตวั ลายโดยให้ตัง้ ฉากดา้ นหนง่ึ เอยี งดา้ นหนึ่ง เปน็ การคดั
ลายใหเ้ ห็นเด่นชดั ยงิ่ ขึ้น
8. เกบ็ รายละเอยี ดของลวดลายให้เรยี บรอ้ ย สมบูรณ์ ดว้ ยส่วิ แบบต่างๆเช่นส่วิ เล็บมอื สวิ่ ขมวด
9. ขัดกระดาษทรายและทาดนิ สอพองเพื่ออุดรอ่ งเน้ือไม้
10.ทานำ้ มันเคลือบเนอ้ื ไม้ หรอื ทาน้ำมันชกั เงา หรือยอ้ มสีไม้ หรือทาสที บั หรือลงรักปดิ ทอง ตามชนิดของงาน
วธิ ที ำ
1. กำหนดลวดลายรูปแบบของงานท่ีตอ้ งการแกะ ประเดน็ แรกคือต้องรจู้ กั กบั ลกั ษณะของไมเ้ สยี กอ่ น
อาททิ างไมห้ รอื เส้ยี นไม้ทีส่ วนกลบั มา เปน็ สง่ิ ท่ีนกั แกะสลกั ไม้จะตอ้ งร้ใู นอนั ดบั แรกเพื่อสามารถ
กำหนดลวดลายของการแกะสลักไดอ้ ยา่ งชดั เจน
2. การถา่ ยลายลงบนพนื้ ไม้ คอื การนำแบบท่ีได้ร่างมาผนกึ เขา้ กับไม้ หรือตอกสลักกระดาษแข็งให้
โปรง่ แล้วเอาลวดลายมาวางบนพ้นื หนา้ ไมท้ าดว้ ยกาวแลว้ ลูบดว้ ยดินสอพอง จากนัน้ ก็นำกระดาษ
ต้นแบบออก
3. โคลนหุน่ เพือ่ ข้นึ รูป คอื การตัดทอนตรงเนื้อไม้ด้วยเครอ่ื งมือของช่างไม้ จากน้นั กเ็ อาเนือ้ ไมท้ ่ีไม่
ต้องการออกไปใหเ้ หลอื แตต่ ัวไมท้ ีม่ ลี กั ษณะตามต้องการแลว้ ค่อยนำไปแกะสลักตอ่ ไป
4. แกะสลักลวดลาย ใช้สิว่ ที่คมทำการเจาะเปน็ ลายไมต้ ามทตี่ ้องการโดยหนา้ ของสิว่ ก็จะมคี วามกวา้ ง
แตกต่างกนั ออกไปขน้ึ อยู่กับประเภทในการใชง้ าน โดยการแกะสลักลวดลายหน่ึงคร้งั สามารถ
เลอื กใช้สว่ิ ได้หลากหลายประเภทตามแต่ว่าในช่วงลวดลายไหนต้องเลอื กใชส้ ิว่ ประเภทใดเพ่อื ให้
เขา้ กนั ไดด้ ที ่สี ุด
เทคนคิ ในการแกะสลกั ไม้
• เวลาทท่ี ำการปาดไม้หรือแกะแรตัวลาย ตอ้ งเลือกดทู างของเนื้อไม้เนือ่ งจากตอนใช้สวิ่ ปาด
จะตอ้ งไปตามทางของเนือ้ ไม้ ไม่ปาดย้อนเส้ยี นไมอ่ ย่างนน้ั อาจทำใหไ้ มห้ ลุดหรอื บ่นิ ได้
• การปาดแต่งแรลาย ตอ้ งตง้ั สิ่วเผลใ้ ห้เอียงขา้ งหน่ึง ต้ังฉากข้างหนง่ึ จะทำใหเ้ กิดความสูงตำ่ ใน
การแกะสลักไม่เทา่ กนั ถือว่าเปน็ การเล่นแสง และเงาได้ดอี ีกวธิ กี ารหนึ่งสำหรับการแกะสลัก
ไม้
• ไมแ้ ตล่ ะชนิดจะมีวธิ เี ล็กๆ นอ้ ยๆ ในการแกะสลกั ต่างกันออกไป อาทิ ถ้าเปน็ บานประตู
หนา้ ตา่ งใช้ไมแ้ ผ่นเดียวก็ทำได้ แตถ่ า้ เป็นองค์พระทีม่ ีขนาดใหญ่ตอ้ งใช้เพลาะไม้ในการแกะ
หลายแผ่น ถือว่าเปน็ เทคนคิ ที่มคี วามแตกตา่ งกันโดยส้ินเชิง ซง่ึ ตรงจุดนี้ต้องดูใหด้ วี ่าการ
แกะสลกั ไมใ้ นแต่ละครง้ั เปน็ การแกะในรูปแบบใด