The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิชาการเรื่อง นครนายก เมืองมรดกธรรมชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peanankt, 2021-10-22 01:59:02

รายงานวิชาการเรื่อง นครนายก เมืองมรดกธรรมชาติ

รายงานวิชาการเรื่อง นครนายก เมืองมรดกธรรมชาติ

นครนายก เมอื งมรดกธรรมชาติ

อนนั ต์ ขนั ตี กลมุ่ 23 เลขท่ี 4
ชญานนิ จนี โน กลุ่ม 23 เลขท่ี 8

รายงงานน้เี ปน� ส่วนหนงึ่ ของการศึกษาวชิ าการคน้ ควา้ และการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ
สาขาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี
ภาคเรียนที่ 1 ปก� ารศกึ ษา 2564



คำนำ

รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อปฏิบัติการเขียนรายงานการค้นคว้าท่ีถูกต้องอย่างเป�นระบบ การ
ที่ผู้จัดทำได้เลือกทำเร่ืองนครนายก เมืองมรดกธรรมชาติ เน่ืองจากประเทศไทยมีสถานท่ีท่องเท่ียว
มากมายท่ีบางคนอาจไม่รู้จักในจังหวัดนครนายกเราจึงจัดทำเพ่ือให้บุคคลท่ีสนใจได้สืบค้นข้อมูล เป�น
ต้น

รายงานเล่มนี้ได้กล่าวถึง ประวัติความเป�นมาจังหวัดนครนายก ลักษณะท่ีต้ังและอาณาเขต
ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณีของสถานท่ีท่องเที่ยวจังหวัดนครนายก และกิจกรรมแนะนำใน
จงั หวัดนครนายก

ขอขอบคุณ อาจารย์พนิดา สมประจบ ท่ีกรุณาให้ความรู้และข้อแนะนำโดยตลอดในการทำ
รายงานคร้ังน้ี สุดท้ายนี้หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขออภัยและขอรับฟ�งทุกความคิด
เหน็ เพอ่ื นำไปปรับปรุงต่อไป

อนนั ต์ ขันตี
ชญานนิ จนี โน
18 ตุลาคม 2564



สารบญั

คำนำ...................................................................................................................................... หน้า
สารบัญภาพประกอบ............................................................................................................. ก
บทที่ ค

1 บทนำ……………………………………………………………………………… 1
1.1 ประวัติความเป�นมาจงั หวดั นครนายก…………………………………………. 1
1.2 ลักษณะทตี่ ง้ั และอาณาเขต.................................................................................. 1
1.3 สัญลักษณป์ ระจำจังหวดั นครนายก..................................................................... 3
5
2 ขนบธรรมเนยี ม วฒั นธรรม ประเพณขี องจังหวัดนครนายก..................................... 5
2.1 ประเพณกี วนขาวทิพย.์ ....................................................................................... 9
2.2 ประเพณีสารทไทยและแขง่ เรือยาว..................................................................... 11
2.3 ประเพณเี อาะเฮือน.............................................................................................. 15
2.4 ประเพณสี ารทพวน............................................................................................. 17
17
3 สถานท่ที ่องเทยี่ วจงั หวดั นครนายก........................................................................... 19
3.1 เขอ่ื นขนุ ดา่ นปราการชล..................................................................................... 20
3.2 นำ้ ตกสารกิ า........................................................................................................ 20
3.3 นำ้ ตกนางรอง..................................................................................................... 21
3.4 อุทยานวังตะไคร.้ ................................................................................................ 23
3.5 อุทยานพระพิฆเนศ............................................................................................. 23
24
4 กจิ กรรมแนะนำในจงั หวัดนครนายก........................................................................ 25
4.1 ล่องแกง่ .............................................................................................................. 27
4.2 จักรยานเสอื ภูเขา................................................................................................. 35
4.3 ทอ่ งไพรเขาใหญ-่ นครนายก...............................................................................

5 บทสรปุ .....................................................................................................................
บรรณานกุ รม.........................................................................................................................



สารบัญภาพประกอบ

ภาพ หน้า
ท่ี

1 อาณาเขตติดต่อจงั หวัดใกลเ้ คยี ง…………………………………………….…… 2
2 ตราประจำจังหวัดนครนายก..................................................................................... 3
3 ต้นไม้ประจำจงั หวัดนครนายก................................................................................. 3
4 สัตวน์ ำ้ ประจำจงั หวดั นครนายก............................................................................... 4
5 ธงประจำจงั หวดั ....................................................................................................... 4
6 การปลุกเสกกระทะในการกวนขา้ วทิพย์.................................................................. 8
7 พธิ ีกวนข้าวทพิ ย์....................................................................................................... 8
8 ขา้ วทพิ ย์................................................................................................................... 8
9 การแข่งเรือประจำป�.................................................................................................. 10
10 ขบวนแห่พิธเี อาะเฮอื น.............................................................................................. 14
11 อุปกรณใ์ นพธิ เี อาะเฮือน........................................................................................... 14
12 การทำพิธีเอาะเฮือน.................................................................................................. 14
13 การทำกระยาสารท................................................................................................... 16
14 ภาพมุมสงู ของเขอ่ื นขุนดา่ นปราการชล.................................................................... 18
15 ปา้ ยเขอ่ื นขุนด่านปราการชล..................................................................................... 18
16 ทางเดนิ จุดชมวิวของเขอ่ื นขุนดา่ นปราการชล.......................................................... 18
17 นำ้ ตกสาลิกา............................................................................................................. 19
18 น้ำตกนางรอง........................................................................................................... 20
19 อุทยานวงั ตะไคร้...................................................................................................... 21
20 อุทยานพระพิฆเนศ.................................................................................................. 22
21 พพิ ธิ ภัณฑพ์ ระพิฆเนศ 108 ปาง............................................................................... 22
22 กิจกรรมล่องแก่ง...................................................................................................... 24
23 กิจกรรมปน� จกั รยานเสือภูเขา.................................................................................... 25
24 การศกึ ษาธรรมชาตกิ บั กิจกกรมท่องไพรเขาใหญ-่ นครนายก................................... 26

บทที่ 1
บทนํา

จงั หวดั นครนายกในอดีตมีการถูกสันนิษฐานวา่ เคยเป็ นเมืองสมยั ทวารวดี มีหลกั ฐานแนว
กาํ แพงเนินดินและสันคูอยู่ท่ีตาํ บลดงละคร แต่นครนายกน้ันปรากฏหลกั ฐานในสมยั อยุธยาเป็ น
เมืองหน้าด่านทางทิศตะวนั ออกในสมยั พระเจา้ อู่ทอง ต่อมาในปี พ.ศ. 2437 รัชกาลที่ 5 ทรงจดั
ลกั ษณะการปกครองโดยแบ่งเป็ นมณฑล นครนายกไดเ้ ขา้ ไปอยใู่ นเขตมณฑลปราจีนบุรีจนเมื่อปี
พ.ศ. 2445 ทรงเลิกธรรมเนียมการมีเจา้ ครองเมืองและให้มีตาํ แหน่งผูว้ ่าราชการจงั หวดั ข้ึนแทน
ในช่วงพ.ศ. 2486-2489 นครนายกไดโ้ อนไปรวมกบั จงั หวดั ปราจีนบุรีและสระบุรี หลงั จากน้ัน
จึงแยกเป็นจงั หวดั อิสระ (จงั หวดั นครนายก, 2564: ออนไลน)์
1.1 ประวตั ิความเป็ นมาของจงั หวดั นครนายก

ที่มาของชื่อนครนายกน้นั ไม่ชดั เจนทางประวตั ิศาสตร์ แนวคิดหลกั ของท่ีมาของช่ือมีดงั น้ี
จงั หวดั นครนายกเดิมชื่อบ้านนาแต่ภายหลงั ได้เปล่ียนช่ือเป็ นจงั หวดั นครนายก ในสมยั กรุงศรี
อยธุ ยาดินแดนของนครนายกเป็นป่ ารกชฏั เป็นท่ีดอนทาํ นาหรือทาํ การเพาะปลูกอะไรไม่ค่อยไดผ้ ล
มีไขป้ ่ าชุกชุมผคู้ นจึงพากนั อพยพไปอยทู่ ่ีอื่นจนกลายเป็นเมืองร้าง ต่อมาพระมหากษตั ริยท์ รงทราบ
ความเดือดร้อนของชาวเมืองจึงโปรดให้ยกเลิกภาษีค่านา เพื่อจูงใจให้ชาวเมืองอยู่ที่เดิมทาํ ให้มีคน
อพยพมาอยู่เพ่ิมมากข้ึนจนเป็ นชุมชนใหญ่และเรียกเมืองน้ีจนติดปากว่า เมืองนา-ยก ภายหลงั จึง
กลายเป็ นนครนายกจนทุกวนั น้ี สมยั ก่อนรัชกาลท่ี 5 การปกครองส่วนภูมิภาคถูกแบ่งเป็ นสมุหนา
ยกและสมุหกลาโหม โดยสมุหกลาโหมปกครองท้งั ฝ่ ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองดา้ นใตแ้ ละ
สมุหนายกปกครองท้งั ฝ่ ายพลเรือนและทหารในหวั เมืองดา้ นเหนือ พ้ืนท่ีเดิมของจงั หวดั นครานายก
น้นั เป็นพ้นื ที่ที่เคยอยสู่ งั กดั กบั สมุหกลาโหมแต่ภายหลงั ถูกโอนใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ารดูแลของสมุหนายก
พ้ืนที่ตรงน้ีจึงไดช้ ื่อวา่ นครนายกนบั แต่น้นั เป็นตน้ มา (วิกีพเี ดียสารานุกรมเสรี, 2564: ออนไลน์)
1.2 ลกั ษณะทีต่ ้งั และอาณาเขต

จงั หวดั นครนายกต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ออกของประเทศไทยระหว่างเส้นรุ้งท่ี 14 องศาเหนือ
และเส้นแวงที่ 101 องศาตะวนั ออก มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวง แผ่นดิน
หมายเลข 305 เลียบคลองรังสิตผา่ นอาํ เภอองครักษถ์ ึงจงั หวดั นครนายกระยะทาง 105 กม. มีเน้ือท่ี
ประมาณ 2,122 ตร.กม.หรือประมาณ 1,326,250 ไร่ ห่างจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประมาณ 52
กิโลเมตร ท่าอากาศยานดอนเมือง 82 กิโลเมตร ท่าเทียบเรือคลองเตย 120 กิโลเมตร ท่าเทียบเรือ

2
แหลมฉบงั 163 กิโลเมตร สภาพโดยทวั่ ไปเป็นที่ราบ ทางตอนเหนือและตะวนั ออกเป็นภูเขาสูงชนั
ในเขตอาํ เภอบา้ นนา อาํ เภอเมืองนครนายกและอาํ เภอปากพลี ส่วนหน่ึงอยใู่ นเขตอุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ ซ่ึงเป็ นเขตรอยต่อกบั อีก 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สระบุรี นครราชสีมาและปราจีนบุรี มีเทือกเขา
ติดต่อกับเทือกเขาดงพญาเย็น มียอดเขาสูงท่ีสุดของจังหวดั คือ ยอดเขาเขียว มีความสูงจาก
ระดบั น้าํ ทะเล 1,351 เมตร ส่วนทางตอนกลางและตอนใตเ้ ป็นที่ราบอนั กวา้ งใหญ่เป็นส่วนหน่ึงของ
ท่ีราบสามเหลี่ยมลุม่ แม่น้าํ เจา้ พระยาท่ีเรียกวา่ “ที่ราบกรุงเทพ” ( Bangkok Plain) ลกั ษณะดินเป็นดิน
ปนทรายและดินเหนียวเหมาะแก่การ ทาํ นา ทําสวนผลไม้และการอยู่อาศัย ซ่ึงติดกับจังหวดั
ฉะเชิงเทราและปทุมธานี มีอาณาเขตติดต่อจงั หวดั ใกลเ้ คียง ดงั น้ี ทิศเหนือติดต่อกบั จงั หวดั สระบุรี
และจงั หวดั นครราชสีมา ทิศกบั ตะวนั ออกติดต่อจงั หวดั นครราชสีมาและจงั หวดั ปราจีนบุรีทิศใต้
ติดต่อกับจังหวดั ปราจีนบุรีและจังหวดั ฉะเชิงเทรา ทิศตะวนั ตกติดต่อกับ จังหวดั ปทุมธานี
(จงั หวดั นครนายก, 2564: ออนไลน์)

ภาพที่ 1 อาณาเขตติดต่อจงั หวดั ใกลเ้ คียง

3
1.3 สัญลกั ษณ์ประจําจงั หวดั นครนายก

จงั หวดั นครนายกมีสญั ลกั ษณ์ (จงั หวดั นครนายก, 2564: ออนไลน)์ ดงั น้ี
คาํ ขวญั ประจําจงั หวดั : นครนายก เมืองในฝันที่ใกลก้ รุง ภูเขางาม น้าํ ตกสวย รวยธรรมชาติ
ปราศจากมลพษิ
ตราประจําจังหวดั : รูปชา้ งชูรวงขา้ ว
ต้นไม้ประจาํ จังหวดั : ตน้ สุพรรณิการ์ (Cochlospermum religiosum)
สัตว์นํา้ ประจาํ จังหวดั : ปลาตะเพยี นทอง (Barbonymus altus)

ภาพที่ 2 ตราประจาํ จงั หวดั นครนายก

ภาพที่ 3 ตน้ ไมป้ ระจาํ จงั หวดั นครนายก

4
ภาพท่ี 4 สตั วน์ ้าํ ประจาํ จงั หวดั นครนายก

ภาพที่ 5 ธงประจาํ จงั หวดั

บทท่ี 2
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องจังหวดั นครนายก

จงั หวดั นครนายกมีประชากรหลายเช้ือชาติ ซ่ึงแต่ละเช้ือชาติมีประวตั ิความเป็ นมาท่ีเป็ น
เอกลกั ษณ์และมีวฒั นธรรมเป็นของตนเองเช่น ภาษา การแต่งกาย อาหารการกิน ที่อยอู่ าศยั ความเชื่อ
ทางศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี นอกจากน้ียงั มีแหล่งท่องเที่ยวท้ังแหล่งท่องเท่ียวทาง
ธรรมชาติ แหล่งท่องเท่ียวทางประวตั ิศาสตร์ ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีท่ีเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะถิ่น
2.1 ประเพณกี วนข้าวทพิ ย์

ประเพณีกวนขา้ วทิพยเ์ ป็ นพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ที่มีสอดแทรกเขา้ มาปะปนใน
พิธีกรรมทางพทุ ธศาสนา เพอื่ ถวายแด่พระภิกษสุ งฆแ์ ละบูชาพระรัตนตรัยอุทิศส่วนกศุ ลใหแ้ ก่ผตู้ าย
ประเพณีกวนขา้ วทิพยเ์ ป็นพระราชพิธีที่กระทาํ กนั ในเดือน 10 ซ่ึงมีมาต้งั แต่สมยั สุโขทยั และกรุงศรี
อยธุ ยาเป็ นราชธานีและไดร้ ับการฟ้ื นฟูคร้ังใหญ่ในสมยั รัชกาลที่ 1 และมาละเวน้ เลิกราไปในสมยั
รัชกาลท่ี 2 และรัชกาลที่ 3 แลว้ มาไดร้ ับการฟ้ื นฟูอีกคร้ังหน่ึงในสมยั รัชกาลท่ี 4 เป็ นตน้ มา แต่ใน
ปัจจุบนั น้ีส่วนใหญ่จะจดั กนั ในเดือน 12 บางแห่งก็เดือนหน่ึง ซ่ึงคงจะถือเอาระยะท่ีขา้ วกลา้ ในทอ้ ง
นามีรวงขาวเป็นน้าํ นมของแต่ละปี และชาวบา้ นก็มีความพร้อมเพรียงกนั ในจงั หวดั สิงห์บุรีบริเวณท่ี
ยงั คงรักษาประเพณีกวนขา้ วทิพย์ มีเหลืออยเู่ พียง 3 หมู่บา้ นคือหมู่บา้ นพฒั นา โภคาภิวฒั น์ หมู่บา้ น
วดั กุฎีทองหมู่บา้ นในอาํ เภอพรหมบุรี ยงั คงรูปเคา้ โครงของการรักษาประเพณีและมีความเช่ือถือ
อยา่ งมน่ั คง เป็ นแบบอยา่ งที่ดี ซ่ึงแฝงดว้ ยจริยธรรมและคติธรรมอยมู่ ากที่สมควรนาํ มากล่าวถึงคือ
ความพร้อมเพรียงของชาวบา้ นท้งั ที่ทาํ นาและไม่ไดท้ าํ นาถึงเวลาก็มาร่วมจดั ทาํ และช่วยเหลือโดย
ยึดถือความสามัคคีเป็ นหลัก (ขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมประเพณีจังหวัดนครนายก, 2564:
ออนไลน)์

ข้นั ตอนการปฏบิ ัติหรือจดั พธิ ีกรรม
เป็ นพิธีท่ีมีความยุ่งยากสลบั ซับซ้อนมาก ตอ้ งมีการตระเตรียมขา้ วของต่างๆจาํ นวนมาก
อาทิ นม เนย ขา้ วตอก น้าํ นม น้าํ ออ้ ย น้าํ ผ้ึง มะพร้าว งา ถว่ั ต่างๆแต่สิ่งของเคร่ืองปรุงขา้ วทิพยไ์ ด้
เลือก คงไว้ 9 ส่ิงคือ ถว่ั , งา, นม, น้าํ ตาล, น้าํ ผ้ึง, น้าํ ออ้ ย, เนยและน้าํ นมที่ค้นั จากรวงขา้ วและยงั คง
รักษารูปเดิมไว้ โดยมีพราหมณ์เขา้ พิธี มีสาวพรหมจารีซ่ึงจะพิถีพิถนั คดั เลือกจากหญิงสาวที่ยงั ไม่มี
ดอกไม้ (ระดู)ดว้ ยตอ้ งการบริสุทธ์ิสาํ หรับสาวพรหมจารีท่ีจะเขา้ ร่วมพิธีตอ้ งสมาทานศีล 8 และตอ้ ง
ถือปฏิบตั ิตามองคศ์ ีลอย่างมน่ั คง แมท้ ี่พกั ก็จดั ให้อย่สู ่วนหน่ึง จนกระทงั่ ถึงเวลาถวายขา้ วทิพยแ์ ก่
พระสงฆ์ ในตอนเชา้ จึงจะหมดหนา้ ท่ีวตั ถุท่ีกวน ไดแ้ ก่ น้าํ นมโคสด (ปัจจุบนั ใชน้ มขน้ หวานแทน)

6

น้าํ ผ้ึง น้าํ ออ้ ย ชะเอมเทศ น้าํ ตาลกรวด น้าํ ตาลหมอ้ ขา้ วตอก ขา้ วเม่า ธัญพืชต่างๆที่คว่ั สุก ถว่ั งา
ลูกเดือย เมล็ดแตง เผือกมนั เมล็ดบวั มะพร้าวแก่ มะพร้าวอ่อน ผลไมส้ ด ผลไมแ้ ห้ง เช่น มะม่วง
กลว้ ย ทุเรียน ละมุด ลาํ ไย ส้ม ขนุน เป็นตน้ ท้งั น้ีแลว้ แต่ความเหมาะสมเท่าท่ีจะหาไดห้ รือปรับปรุง
ให้ มีรสชาติหอมหวานอร่อย ตามความตอ้ งการของผูก้ วนในแต่ละทอ้ งถ่ิน บางทอ้ งที่อาจใช้
ผลไมช้ นิดต่างๆท่ีมีการจดั เตรียมการในพิธีกวนขา้ วทิพยต์ อ้ งจดั เตรียมส่ิงสาํ คญั ดงั น้ี ตอ้ งปลูกโรง
พิธีข้ึน 1 หลงั ให้กวา้ งใหญ่พอสมควร เพื่อต้งั โต๊ะบูชาพระพุทธรูปอาสน์สงฆ์ โต๊ะบูชาเทวรูปและ
ที่ซ่ึงผูเ้ ขา้ ร่วมพิธีคือ พราหมณ์ โหร (ผูท้ ่ีมีความรู้ในพิธีกรรมอย่างดี) เทพยดา นางฟ้า นางสุชาดา
สาวพรหมจารีและทายก ทายิกา ฯลฯ นง่ั ฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนตแ์ ละก่อเตาต้งั กะทะกวน
ภายในโรงพิธีจดั หาพายสําหรับกวนกะทะละ 3 เล่ม จดั หาฟื นให้เพียงพอและตากให้แห้งสนิท
โรงพิธีทาสีขาว เครื่องประดบั ตกแต่งควรใชเ้ คร่ืองขาว ต้งั ราชวฏั ฉัตร ธง ผูกตน้ กลว้ ย ออ้ ย ท้งั 4
มุมหรือครบ 8 ทิศย่ิงดี แลว้ ยกศาลเพียงตาข้ึนไวใ้ นทิศท่ีเป็ นศรีของวนั คือ ทิศท่ีเทวดาสถิตในวนั
กวน ต้งั เครื่องสังเวยคือ หัวหมู บายศรี เป็ ด ไก่ ขนมตม้ แดง ขนมตม้ ขาว มะพร้าวอ่อน กลว้ ย และ
มีการจดั ท่ีนงั่ การใหโ้ หร นงั่ 1ท่ีและจดั ใหเ้ ทวดาและนางฟ้านงั่ เรียงแถวหนา้ กระดานดงั น้ี แถวที่ 1
จดั ใหท้ า้ วมหาพรหมกบั พระอินทร์นงั่ ขา้ งหนา้ แถวท่ี 2 มหาราชท้งั สี่ แถวที่ 3 นางฟ้า แถวท่ี 4 นาง
สุชาดา นั่งขา้ งหนา้ สาวพรหมจารีจดั เตรียมตะลอมพอก หรือยอดเทวดา 6 ยอดที่สมมติว่าเป็ นทา้ ว
มหาพรหม พระอินทร์ (ทา้ วสักกะ) ทา้ วธตรฐ ทา้ ววิรุฬหก ทา้ ววิรูปักข์ ทา้ วเวสวณั มงกุฎนางฟ้า 4
และมงคลสวมศีรษะสาวพรหมจารีใช้มงคลด้ายแบบมงคล ตัดจุกหรือใช้ดอกมะลิร้อยให้เป็ น
วงกลม เรียก มงคลดอกไม้ ใหค้ รบจาํ นวนเตาละ 2 คน สมมติวา่ เป็นบริวารของนางสุชาดา

ศาสนพธิ ี
โต๊ะบูชาจดั ท้งั หมด 2 ท่ี คือ โต๊ะบูชาพระพุทธรูปหันพระพกั ตร์ไปทางทิศตะวนั ออกหรือ
ทิศเหนือ ถา้ สถานท่ีไม่อาํ นวย มีไมม้ หาโพธ์ิใส่กระถางต้งั ไวด้ า้ นหลงั พระพุทธรูป ส่วนประกอบ
อื่นเหมือน การจดั ต้งั โต๊ะหมู่บูชาทว่ั ไปและโต๊ะบูชาเทวรูป มีพระพรหม พระอิศวร พระนารายณ์
เป็ นตน้ สุดแต่จะหาได้ พระฤาษี 5 ตน ถา้ หายากก็ตอ้ งให้ไดอ้ ย่างน้อย 1 ตน สมมติเป็ นฤาษีกไลย
โกฏ มีเครื่องบูชาเช่นเดียวกนั จดั ต้งั อาสนะสงฆ์ ดา้ นซ้ายของโต๊ะหมู่บูชาพระพุทธรูปให้สูงกว่า
พ้ืนท่ีสปั บุรุษทายก ทายกิ าและผเู้ ขา้ ร่วมพิธีนงั่
อปุ กรณ์ในการกวนข้าวทิพย์
อุปกรณ์ในการกวนขา้ วทิพยป์ ระกอบดว้ ย เตา ทาํ จากถงั น้าํ มนั ขนาด 500 ลิตร นาํ มาตดั ให้
มีความสูงประมาณ 2 ฟุต กระทะใบบวั พายไม้ อุปกรณ์ในการปรุงประกอบดว้ ย ขา้ ว ใชแ้ ป้งขา้ ว
เหนียวและแป้งขา้ วเจา้ ถว่ั ลิสง งาดาํ งาขาว น้าํ ผ้ึง น้าํ ตาลทราย นมขน้ หวาน มะพร้าว ค้นั เอาแต่
กะทิ เนย

7
ส่วนผสมทีต่ ้องเตรียมก่อนวนั ประกอบพธิ ีในกวนข้าวทพิ ย์
ถวั่ ลิสง คว่ั ใหเ้ หลือง มีกลิ่นหอม หลงั จากน้นั นาํ มาทาํ การกะเทาะเปลือกทิ้ง นาํ ไปเขา้ เครื่อง
บด งาขาวและงาดาํ คว่ั ให้เหลือง มีกล่ินหอม ทิ้งไวใ้ ห้เยน็ นําไปใส่ครกตาํ ให้ละเอียด มะพร้าว
นาํ ไปปลอกเปลือกกะเทาะกะลาทิ้ง เอาแต่เน้ือมะพร้าว จะนาํ มาใส่เคร่ืองขดู มะพร้าวในตอนเชา้ มืด
ของวนั ที่จะประกอบพิธี เพื่อให้ได้กะทิสดมีกลิ่นหอม เครื่องปรุงท่ีเป็ นส่วนประกอบดงั กล่าว
ข้างต้น นําใส่หม้อปิ ดฝาให้เรียบร้อยเตรียมที่จะประกอบพิธีกวนในวนั รุ่งข้ึน (วนั ข้ึน 15 ค่าํ
เดือน 6)
ข้นั ตอนการดาํ เนินการกวนข้าวทพิ ย์
ช่วงเช้าชาวบา้ นมาร่วมทาํ บุญตกั บาตรท่ีศาลาวดั หลงั จากน้ันจึงมาเร่ิมพิธีกวนขา้ วทิพย์
โดยมีรายละเอียดข้นั ตอนดงั น้ี
1. นาํ เครื่องปรุงเตรียมไวท้ ุกอย่างเทใส่กระทะใบบวั คนให้เขา้ กนั ไม่มีสูตรในการกาํ หนด
อตั ราส่วนของเคร่ืองที่แน่นอน จาํ นวนขา้ วทิพยจ์ ะมากนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั วตั ถุดิบท่ีมี ดงั น้นั รสชาติใน
แต่ละปี จะไม่เหมือนกนั
2. ก่อนเริ่มกวนขา้ วทิพยพ์ ระสงฆจ์ ะประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา โดยพระสงฆจ์ ะเป็นผทู้ าํ
พธิ ีบูชาพระรัตนตรัยจากน้นั สวดเจริญพระพทุ ธมนตธ์ มั จกั รกปั วตั นสูตร
3. สาวพรหมจรรย์ จาํ นวน 4-5 คนนุ่งขาวห่มขาว เร่ิมกวนขา้ วทิพยเ์ ม่ือพระสงฆ์เจริญ
พระพุทธมนตร์จบนักเรียนก็จะเปล่ียนให้ประชาชนท่ีมาร่วมกิจกรรมเป็ นผูก้ วนต่อไปจนกว่าจะ
เสร็จ ใช้เวลากวนประมาณ 3 ชั่วโมงเมื่อเสร็จแลว้ ก็จะแบ่งปันขา้ วทิพยห์ รือขา้ วมธุปายาสไป
รับประทานถือวา่ เป็ นของดี ก่อให้เกิดความเป็ นสิริมงคลแก่ตน และนาํ ไปฝากบุคคลในครอบครัว
หรือผูท้ ี่ตนเคารพนับถือ ก่อนกลบั บ้านทุกคนช่วยกันเก็บอุปกรณ์ ลา้ งทาํ ความสะอาด จดั เก็บ
สถานที่ให้เรียบร้อย ซ่ึงสะทอ้ นให้เห็นความรัก ความสามคั คีในหมู่คณะชาวบา้ น ซ่ึงน่าจะตอ้ ง
ร่วมกนั อนุรักษส์ ืบทอดประเพณีอนั ทรงคุณค่าอยคู่ ู่กบั ชาวลานกระบือ

8
ภาพที่ 6 การปลุกเสกกระทะในการกวนขา้ วทิพย์

ภาพที่ 7 พิธีกวนขา้ วทิพย์
ภาพท่ี 8 ขา้ วทิพย์

9
2.2 ประเพณสี ารทไทยและแข่งเรือยาว

ประวตั ิความเป็ นมา
ประเพณีสารทไทย คาํ วา่ “สารทไทย” หมายถึง เทศกาลทาํ บุญสิ้นเดือนสิบของไทย จะตรง
กบั วนั แรม 15 ค่าํ เดือน 10 ของทุกปี ซ่ึงมกั จะตกราวๆปลายเดือนกนั ยายนถึงเดือนตุลาคม วนั สารท
ไทยกค็ ือประเพณีทาํ บุญกลางปี เพ่ือใหเ้ กิดความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองที่มีชีวิตผา่ นพน้ เวลามาไดถ้ ึง
ก่ึงปี ในขณะเดียวกนั ก็ถือโอกาสทาํ บุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพชน เพ่ือแสดงความกตญั �ูรู้คุณ
ไปดว้ ย โดยขนมท่ีนิยมใชท้ าํ บุญในช่วงน้ีคือ กระยาสารท ขา้ วยาคูหรือขา้ วทิพยห์ รือขา้ วมธุปายาส
หนงั สือพระราชพิธีสิบสองเดือนไดก้ ล่าวไวว้ า่ สารท ซ่ึงเป็นนกั ขตั ฤกษ์ (งานรื่นเริงตามธรรมเนียม
ตามฤดูกาล) เป็ นที่นิยมของคนท้งั ปวงทว่ั ไปว่าเป็ นสมยั ท่ีได้ทาํ บุญ เมื่อปี เดือนวนั คืนล่วงมาถึง
ก่ึงกลางรอบ ดว้ ยเหตุว่า เราถือเอากาํ หนดพระอาทิตยล์ งไปที่สุดทางใตก้ ลบั มาเหนือถึงก่ึงกลางปี
เป็ นตน้ ปี คร้ันเม่ือพระอาทิตยข์ ้ึนไปเหนือจนสุดทางจะกลบั ลงใตม้ าถึงก่ึงกลางก็เป็ นพอบรรจบ
ก่ึงกลางปี พูดง่ายๆก็คือ วนั สารทไทย ถือเป็ นวนั ทําบุญกลางปี ด้วยว่าสมัยก่อนเราถือเอาวนั
สงกรานต์ ซ่ึงอยู่ในช่วงเดือนเมษายนเป็ นวนั ข้ึนปี ใหม่ ดงั น้ันช่วงเดือนสิบจึงตกราวกลางปี พอดี
คนท่ัวไปจึงนิยมทาํ บุญเพื่อความเป็ นสิริมงคลแก่ชีวิต เสมือนเป็ นการเตือนใจตวั เองว่าชีวิตได้
ดาํ เนินผ่านมาถึงก่ึงปี แลว้ ชีวิตขา้ งหน้าที่เหลือควรจะได้สร้างบุญกุศลไวเ้ พื่อความไม่ประมาท
ซ่ึงนอกจากการทาํ บุญดงั กล่าวแลว้ ยงั มีการทาํ บุญอทุ ิศส่วนกศุ ลไปใหแ้ ก่บรรพบุรุษผลู้ ว่ งลบั อีกดว้ ย
พระยาอนุมานราชธนไดเ้ ขียนเล่าในหนังสือเทศกาลและประเพณีไทยว่าคาํ ว่า “ สารท ” เป็ นคาํ
อินเดียหมายถึง “ ฤดู ” ตรงกบั ฤดูในภาษาองั กฤษท่ีเรียกว่า “ ออตอม ” อนั แปลว่า ฤดูใบไมร้ ่วง
ซ่ึงจะมีเฉพาะบางเขตของโลกอย่างยโุ รป จีนและอินเดียตอนเหนือเท่าน้ัน ช่วงน้ันเป็ นระยะที่พืช
พนั ธุ์ธญั ชาติและผลไมเ้ ริ่มสุกและให้ พืชผลคร้ังแรกในฤดู ดงั น้นั ประชาชนจึงรู้สึกยนิ ดีและถือเป็น
เทศกาลแห่งความรื่นเริง จึงมกั ทาํ พิธีตามความเชื่อและเล้ียงดูกนั อยา่ งที่เรียกวา่ “Seasonal Festival”
โดยบางแห่งก็จะมีการนาํ พืชผลท่ีเก็บเกี่ยวไดค้ ร้ังแรกท่ีเรียกว่า “ ผลแรกได้ ” น้ีไปสังเวยหรือบูชา
สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีตนนบั ถือเพื่อความเป็นสิริมงคลและแสดงความเคารพที่ท่านช่วยบนั ดาลให้พืชพนั ธุ์
ธญั หารอุดมสมบูรณ์จนเก็บเก่ียวไดเ้ ช่น พิธีปงคลั ในอินเดียตอนใตท้ ่ีมีพิธีตม้ ขา้ วกบั น้าํ นมทาํ เป็ น
ขนม เรียกวา่ ขา้ วทิพยข์ า้ วปายาสถวายพระคเณศเป็นตน้ ส่วนสารทเดือนสิบ อนั หมายถึงการทาํ บุญ
เดือนสิบหรือวนั สารทไทยของเราน้ัน พระยาอนุมานราชธนไดส้ ันนิษฐานว่า น่าจะนาํ มาจากคติ
ของอินเดียเก่ียวกบั ความเชื่อเร่ืองผลแรกได้ อยา่ งที่กล่าวขา้ งตน้ เช่นกนั แต่ช่วงเก็บเกี่ยวขา้ วในฤดู
สารทหรือช่วงฤดูใบไมร้ ่วงของบางประเทศที่วา่ จะตกอยใู่ นราว ๆ เดือน 10 ทางจนั ทรคติของไทย
ซ่ึงโดยความจริงขา้ วของเราจะยงั ไม่สุก มีเพียงผลไมบ้ างชนิดเท่าน้นั ท่ีสุก คร้ันเรารับความเชื่อน้ีมา
จึงมีปรับเปลี่ยนใชข้ า้ วเก่าทาํ เป็นขา้ วเม่าผสมกบั ถวั่ งาและส่ิงอื่นกลายเป็น ขนมกระยาสารทข้ึนมา

10
ซ่ึงเม่ือแรกๆก็คงมีการนาํ ไปสังเวยเทวดาและผีสางต่างๆตามความเช่ือด้งั เดิมดว้ ย ต่อมาเมื่อเรานบั
ถือศาสนาพุทธ จึงไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ นการทาํ บุญถวายพระและมกั มีการกรวดน้ําอุทิศส่วนกุศลแด่
บรรพบุรุษผูล้ ่วงลบั ตามความเชื่อเดิมท่ีว่าหากไม่ไดท้ าํ บุญตกั บาตรกระยาสารท ผีป่ ูย่าตายายจะ
ไดร้ ับความเดือนร้อนอดๆอยากๆเท่ากบั ลูกหลานไม่กตญั �ู นอกจากน้ี ระยะเวลาดงั กล่าวยงั เป็ น
ช่วงกล้วยไข่สุกพอดี จึงมักถวายไปพร้อมๆกัน การทําบุญเดือนสิบน้ีมีในหลายภูมิภาคเช่น
ทางอีสาน เรียกวา่ บุญขา้ วสากหรือสลากภตั เป็นหน่ึงในฮีตสิบสองอนั เป็นการทาํ บุญอุทิศใหผ้ ูต้ าย
หรือเปรต โดยขา้ วสากจะทาํ ดว้ ยขา้ วเม่า ขา้ วพอง ขา้ วตอกคลุกเขา้ กนั ผสมกบั น้าํ ตาล น้าํ ออ้ ย ถว่ั งา
มะพร้าวคลา้ ยๆ กระยาสารทของภาคกลาง โดยมกั จะทาํ ราวกลางเดือนสิบ ห่างจากการทาํ บุญขา้ ว
ประดบั ดินท่ีทาํ ในช่วงสิ้นเดือน 9 (ขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมประเพณีจงั หวดั นครนายก, 2564:
ออนไลน)์

ข้นั ตอนปฏบิ ตั ิงานหรือพธิ กี รรม ดงั นี้
ประชุมคณะกรรมการจัดงานประเพณีสารทไทยและแข่งเรือจังหวดั นครนายก เพ่ือ
รับทราบผลการดาํ เนินการในปี ท่ีผ่านมาและกาํ หนดการจดั งานในปี ต่อไป ขอพระราชทานถว้ ย
รางวัลชนะเลิศ การแข่งขันเรื อยาวประเพณี สารทไทย ประเภท 30 ฝี พาย สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เชิญชวนเรือยาวจากจงั หวดั นครนายกและจงั หวดั ใกลเ้ คียงเขา้
ร่วมการแข่งขนั ประชาสัมพนั ธ์งานและติดต่อประสานงานผูเ้ กี่ยวขอ้ งออกกฎ ระเบียบ กติกาการ
แข่งขนั จบั สลากแบ่งสายจดั ทาํ โปรแกรมการแข่งขนั เรือยาว ประกอบพิธีทาํ บุญ ตกั บาตร เนื่องใน
ประเพณี สารทไทย ดําเนินการแข่งขันเรือยาวประเพณี ประเภท 3,012 และ 7 ฝี พาย สรุป
ประเมินผล รายงาน การจดั งานโครงการ

ภาพที่ 9 การแข่งเรือประจาํ ปี

11
2.3 ประเพณเี อาะเฮือน

ประวตั ิความเป็ นมา
ประเพณีเอาะเฮือนเป็นประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ของไทยพวนที่สืบทอดประเพณีต่อเน่ืองกนั มา
ต้งั แต่คร้ังโบราณ จนกลายเป็นวฒั นธรรมที่ยงั คงปฏิบตั ิสืบทอดกนั มาจนถึงสมยั ปัจจุบนั วถิ ีชีวิตของ
ชาวชนบทไทยพวนน้นั สังคมครอบครัวมีความเป็นอยทู่ ่ีผกู พนั กนั ในหมู่เครือญาติ เม่ือมีครอบครัว
ก็จะอยรู่ วมกนั ในเรือนหลงั เดียวกนั เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวเพิ่มมากข้ึนก็จะแยกตวั ออกไปปลูก
สร้างเรือนใหม่ แต่หากแต่งงานแลว้ ยงั ไม่มีสมาชิกมากหรือผูท้ ี่แต่งงานใหม่ ก็อาจยงั คงอยรู่ วมกนั
กบั พ่อแม่ และเมื่อเห็นว่าในครัวเรือนน้ันมีสมาชิกมากเกินไปแลว้ หรือมีความพร้อมที่จะสร้าง
บา้ นเรือนข้ึนใหม่ ก็จะแยกตวั ออกไปปลูก สร้างเรือนท่ีเรียกวา่ เรือนหอ แต่ยงั คงปลูกเรือนใกลก้ บั
เรือนของพ่อแม่น้นั เอง เม่ือสร้างบา้ นเรือนเสร็จแลว้ ก็จะตอ้ งทาํ บุญข้ึนบา้ นใหม่ ประกอบพิธีตามท่ี
เชื่อถือกนั ว่าเป็ นสิริมงคลนนาํ ความสุขความเจริญมาสู่คนในครอบครัว ประเพณีเอาะเฮือนเป็ น
ประเพณีข้ึนบ้านใหม่ของชาวไทยพวน เม่ือได้ฤกษ์ได้วนั แล้วจะมีการข้ึนบ้านใหม่ ส่วนใหญ่
จะนิยมข้ึนบา้ นใหม่ในช่วงเวลากลางวนั ต้งั แต่เวลาเชา้ พระอาทิตยข์ ้ึนรุ่งอรุณไปจนถึงเวลาบ่ายและ
เยน็ แลว้ แต่ฤกษ์ (ขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมประเพณีจงั หวดั นครนายก, 2564: ออนไลน)์
ความมุ่งหมายของประเพณี
ประเพณีเอาะเฮือนของไทยพวน ตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี จงั หวดั นครนายก ไดจ้ ดั
ให้มีประเพณีเอาะเฮือนข้ึน เป็ นการประกอบพิธีตามท่ีเชื่อถือกนั ว่าเป็ นสิริมงคลนาํ ความสุขความ
เจริญมาสู่คนในครอบครัว และยงั เป็นการสืบทอดประเพณีของชาวไทยพวน ซ่ึงไดย้ ดึ ถือปฏิบตั ิมา
ชา้ นาน
ข้ันตอนปฏิบตั ิงานหรือพธิ ีกรรม
ประเพณีเอาะเฮือนมีการเตรียมอุปกรณ์ต่างๆไว้ 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายที่ 1 อุปกรณ์ท่ีจดั เตรียมไวท้ ี่
เรือนหลงั ใหม่ ฝ่ ายที่ 2 อุปกรณ์ท่ีเตรียมไวใ้ นขบวนแห่ ฝ่ ายเรือนหลงั ใหม่จะตอ้ งเตรียมการดงั น้ี
ทาํ ความสะอาดภายในเรือน หาตน้ กลว้ ยกบั ตน้ ออ้ ยที่สดอยา่ งละ 2 ตน้ มีท้งั ใบและราก พร้อมที่จะ
นาํ ไปปลูกไดเ้ ลย นาํ ตน้ กลว้ ย ตน้ ออ้ ยผกู ไวท้ ี่มุมหอ้ งท้งั สี่ดา้ น(มีความหมายวา่ ผทู้ ี่มาอยอู่ าศยั จะได้
เจริญงอกงามแตกลูกแตกหลานดุจกลว้ ยออกหน่อและอยอู่ ยา่ งสุขสบายสดช่ืนรื่นรมยห์ อมหวานดุจ
รสหวานของออ้ ย) เตรียมที่ปักเทียน (เม่ือขบวนแห่ไดร้ ับอนุญาตให้ข้ึนเรือนได้ ผรู้ ่วมขบวนไดน้ าํ
เทียนไปปักที่เดียวกนั ) เตรียมกอ้ นเส้า 4 กอ้ น (มีช่ือว่า กอ้ นแกว้ ,กอ้ นคาํ ,กอ้ นเงิน และกอ้ นเส้า)
หมอ้ ตม้ และหวดอยา่ งละ 1 ลูก ฟื นหลวั 3-4 ดุน้ ไมข้ ีดไฟ 1 กลดั แผน่ ไมผ้ กู ติดไวท้ ี่เสาเอก(ถา้ บา้ น
ก่ออิฐถือปูน) บายศรีสู่ขวญั 1คู่ (ถ้าเจ้าบ้าน 2คน)หรือพุ่มเดียว(ถ้าเจ้าบ้านคนเดียว) ไก่ต้ม1ตัว
ขา้ วสวย 2 ถว้ ย ไข่ตม้ 2 ฟอง น้าํ 2 แกว้ ดอกไม้ ธูป เทียน (ขนั ธ์ 5 ) ฝ้ายผูกแขน(รับขวญั เจา้ บา้ น)

12
ตดั ไวเ้ รียบร้อย อาหารและเคร่ืองด่ืมไวร้ ับรองแขกมาร่วมงาน(ภายหลงั เสร็จพิธีก็จะเล้ียงดูกนั ตาม
สมควร) ฝ่ ายขบวนแห่ ในขบวนแห่จะประกอบไปดว้ ยผูถ้ ืออุปกรณ์ต่างๆอาทิ เคร่ืองนอน เส้ือผา้
(หีบ หรือกระเป๋ า) เครื่องครัวเช่น ขา้ วสาร หอม กระเทียม พริกแห้ง หมอ้ ถว้ ย จาน ชาม ชอ้ น เขียง
มีด หมอ้ ไห ฯลฯ เครื่องมือทาํ มาหาเล้ียงชีพเช่น สุ่ม แห ฉมวก ลอบ ไซ มีด พร้า เสียม ขวาน (สมยั
น้ี อาจจะมีรถจกั รยานยนต,์ โนต้ บุ๊ค) ฯลฯ ผูน้ าํ ขบวน (พ่อเซ้อ), เจา้ ของบา้ น, บุคคลมาร่วมขบวน
จุดเทียนสวา่ ง เม่ือไดฤ้ กษจ์ ะโห่สามลา สมยั ก่อนดนตรีใชป้ ระกอบมีเพียงฆอ้ งลูกเดียว เม่ือโห่แลว้ ก็
จะตีฆอ้ งเป็ นจงั หวะให้เริ่มเคล่ือนขบวน แต่สมยั น้ีอาจจะประยกุ ตก์ ลองยาว มีผฟู้ ้อนรําหนา้ ขบวน
แห่ก็ได้ ไปต้งั หลกั ปักฐานใหม่ท่ีเรือนหลงั ใหม่ความมุ่งหมายก็คือจดั หาอุปกรณ์เพ่ือควรแต่งกาย
อยา่ งสุภาพสวยงามทุกคน ขบวนจะเริ่มตน้ ควรแต่งกายอยา่ งสุภาพสวยงามทุกคน ขบวนจะเริ่มตน้
ห่างจากเรือนหลงั ใหม่ประมาณ 100 เมตร ขณะขบวนเร่ิมเคลื่อนไปเสียงโห่จะมีเป็ นระยะๆ เสียง
ฆอ้ งจะดงั เป็นจงั หวะเรื่อยไปๆ แต่ถา้ มีกลองยาวนาํ ขบวนดว้ ยก็จะครึกคร้ืนยง่ิ ข้ึน บุคคลในขบวนมี
ไม่ต่าํ กวา่ 20 คน ท่ีสาํ คญั ตอ้ งมีเจา้ บา้ นและผนู้ าํ (พ่อเซอ้ ) เมื่อขบวนแห่ไปถึงหนา้ บนั ไดบา้ น ก็จะ
หยดุ รวมตวั กนั ท่ีหนา้ บนั ไดหรือบริเวณหนา้ บา้ นน้นั ทางประตูเขา้ หรือบนั ไดข้ึนเรือนจะมีผูน้ าํ อีก
คนหน่ึงรออยกู่ ่อนแลว้ จะร้องทกั และถามความประสงคท์ ี่พาขบวนมาน้ี ผูน้ าํ ท้งั สองฝ่ ายจะกล่าว
โตต้ อบกนั โดยฝ่ ายขบวนแห่ขออนุญาตข้ึนบนเรือนเพื่อขออยอู่ าศยั คร้ันฝ่ ายที่อยบู่ นเรือนอนุญาต
ฝ่ ายขบวนแห่ก็จะนาํ เอาสิ่งของต่างๆ ที่นาํ มาในขบวนข้ึนไปบนเรือน หลงั จากน้นั ก็จะเป็ นหน้าที่
ของผนู้ าํ ท้งั สองคนดาํ เนินการเขา้ สู่พธิ ีกรรม

พธิ ีกรรมภายในเรือน
พิธีกรรมภายในเรือนมีดังต่อไปน้ี จดั วางอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นํามาไปไวย้ งั ท่ีจดั เตรียมไว้
ผู้ร่วมมาในขบวนปักเทียนให้เป็ นท่ีตามท่ีจัดไว้ ตอกส่ิวบนเสาเอก (พ่อเซ้อผูน้ ําขบวนแห่)
แขวนไซไวท้ ี่ส่ิว พาเจา้ บา้ นไปไหวผ้ ีพ่อเล้ียง (ผีเรือน) (ถา้ มี) พาเจา้ บา้ นไปไหวเ้ ตาไฟในครัวท่ีมี
อุปกรณ์เตรียมไวแ้ ลว้ จดั พิธีเลือกกอ้ นเส้า (โดยพ่อเซ้อท้งั 2 คน โดยคดั กอ้ นเส้าทิ้ง 1 กอ้ น) หุงตม้
เป็นปฐมฤกษ์ (ทาํ พอเป็นพิธีเท่าน้นั ) พาเจา้ บา้ นไปไหวบ้ นั ได(ถา้ มี) หลงั จากน้นั กจ็ ะพาเจา้ บา้ นเขา้
สู่พิธีสู่ขวญั หรือเรียกขวญั ท่ียงั หลงอยทู่ ี่ใดก็ขอให้กลบั มาอยู่ บา้ นหลงั น้ีการประกอบพิธีสู่ขวญั จะ
กระทาํ กนั ณ บริเวณใกลๆ้ กบั เสาเอก หรือตามท่ีผูน้ าํ กาํ หนดและอวยพรให้หลงั เสร็จพิธีเรียกขวญั
แลว้ บรรดาญาติผูกแขนให้เจา้ บา้ น รับประทานอาหารและเจา้ บา้ นจะเชิญแขกร่วม รับประทาน
อาหารหลงั จากผู้ ร่วมพิธีรับประทานอาหารแลว้ จะมีการฉลองร้องลาํ พวนโดยการนาํ ของพ่อเซ้อ
และผรู้ ่วมพธิ ี

13
เครื่องดนตรีและเพลงทีใ่ ช้ในการประกอบพธิ ีกรรมและบุคคลากร
เครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม ฆ้อง ใช้ตีเป็ นจงั หวะนําขบวนผูเ้ ขา้ ร่วมพิธี
กลองยาวและนางรําประกอบ ส่วนมากเป็ นเพลงรําวงทั่วไป แคน ใช้ประกอบการร้องลาํ พวน
เม่ือเสร็จพธิ ีกรรมภายในเรือนแลว้ หมอลาํ ชายและหญิง หมอแคน (เป่ าแคน) และคาํ ร้อง
ความเชื่อท่เี กยี่ วข้อง
ประเพณีเอาะเฮือน ตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี จงั หวดั นครนายก พบว่าไดแ้ ฝงความ
เชื่อในเร่ืองต่างๆดงั น้ี ความเชื่อเก่ียวกบั การตอกส่ิวท่ีเสาเอก เพ่ือจะเร่ิมปรับปรุงเรือนหลงั น้ีให้ดี
และสมบูรณ์ยงิ่ ข้ึน ความเชื่อเก่ียวกบั การตอกสิ่วแลว้ เอาไซมาแขวน เพื่อดกั เอาโชคเอาลาภใหท้ าํ มา
หากินข้ึน อยดู่ ีมีสุข ในทางปฏิบตั ิน้นั ผทู้ ีมาช่วยงานจะนาํ เอาซองธนบตั ร ของมีคา่ ต่างๆ ใส่ไปในไซ
ช่วยเหลือเจา้ บา้ น ความเชื่อเก่ียวกบั การไปไหวพ้ ่อเล้ียงน้นั เช่ือกนั ว่า บา้ นเรือนตอ้ งมีผีเรือนปกปัก
รักษาอยู่จึงตอ้ งมาขออยู่อาศยั เพ่ือให้ช่วยดูแลและบนั ดาลให้อยู่เยน็ เป็ นสุข ความเช่ือเกี่ยวกบั การ
ไหวเ้ ตาไฟน้นั ถือกนั ว่า การมีครัวเรือนน้ันตอ้ งอาศยั การกินจึงจะอยไู่ ดจ้ ึงตอ้ งมากราบขอให้เตา
ไฟน้ีจงมีอาหารกินตลอดไปอยา่ ไดข้ าดเลย ความเชื่อเกี่ยวกบั การไหวบ้ นั ไดน้นั เพ่ืออนุญาตเหยยี บ
ข้ึน-ลงเรือนน้ีตลอดที่อาศยั อยใู่ นเรือนหลงั น้ี จงอยา่ ไดม้ ีอนั เป็นไปในทางท่ีไม่ดีไม่งามขอใหข้ ้ึนลง
ราบร่ืนตลอดไป
คุณค่าของประเพณี
การศึกษาประเพณีเอาะเฮือน ตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี จังหวดั นครนายกเป็ น
การศึกษาท่ีมุ่งสืบสานประเพณีด้งั เดิมของไทยพวนและเป็นการอนุรักษป์ ระเพณีทอ้ งถ่ิน ประโยชน์
ต่อชนรุ่นหลงั อนั จะเกิดการสืบทอดประเพณีประเพณีเอาะเฮือนเป็นประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ของไทย
พวนที่สืบทอดประเพณีต่อเนื่องกันมาต้ังแต่คร้ังโบราณจนถึงปัจจุบันและชาวไทยพวนยงั คง
อนุรักษ์สืบทอดประเพณีน้ี โดยมีการถ่ายทอดองค์ ความรู้ให้กบั นักเรียน ลูกหลานและเยาวชน
ผูส้ นใจและให้เข้าร่วมพิธีกรรม ณ หมู่บ้านไทยพวน การประกอบพิธีดังกล่าวจะจัดเมื่อสร้าง
บา้ นเรือนเสร็จแลว้ กจ็ ะตอ้ งทาํ บุญข้ึนบา้ นใหม่ประกอบพธิ ีตามที่เชื่อถือกนั

14
ภาพที่ 10 ขบวนแห่พธิ ีเอาะเฮือน
ภาพท่ี 11 อุปกรณ์ในพิธีเอาะเฮือน
ภาพท่ี 12 การทาํ พธิ ีเอาะเฮือน

15
2.4 ประเพณสี ารทพวน

ประวตั คิ วามเป็ นมา
ประเพณีสารทพวนเป็นประเพณีหน่ึงของชาวไทยพวนท่ีอพยพมาอยใู่ นจงั หวดั นครนายก
ซ่ึงมีมากที่สุดที่อาํ เภอปากพลี ชาวพวนเหล่าน้ียงั คงยดึ ถือประเพณีวฒั นธรรมที่ปฏิบตั ิต่อกนั มาแต่
คร้ังยงั อยู่ท่ีประเทศลาว ชาวไทยพวนในอาํ เภอปากพลี นับถือพุทธศาสนาเช่นเดียวกับคนไทย
ประเพณีพิธีกรรมต่างๆที่ชาวพวนถือปฏิบตั ิกนั ใน 1 ปี ก็จะมีลกั ษณะคลา้ ยและต่างกบั ของคนไทย
ซ่ึงบางอยา่ งมีความเป็นเอกลกั ษณ์ของชาวไทยพวน ประเพณีวนั สารทในอาํ เภอปากพลีจะทาํ บุญวนั
สารท 3 ระยะ คือ สารทพวนจะทาํ ในหมู่บา้ นไทยพวน ในวนั แรม 14 ค่าํ เดือน 9 สารทลาวจะทาํ ใน
หมู่บา้ นไทยลาวทุกบา้ นในวนั ข้ึน 15 ค่าํ เดือน 10 สารทไทยในวนั แรม 15 ค่าํ เดือน 10 ทุกหมู่บา้ น
จะทําบุญสารทไทยรวมท้ังไทยพวนและไทยลาว ซ่ึงได้ทําสารทพวนหรือสารทลาวไปแล้ว
ประเพณีสารทชาวบา้ นจะนาํ กระยาสารทพร้อมอาหารคาวหวานไปทาํ บุญท่ีวดั ทางวดั จะนิมนต์
พระวดั ในหมู่บา้ นอ่ืนที่ไม่ไดท้ าํ สารทน้นั ๆมาร่วมดว้ ย เม่ือเสร็จพิธีแลว้ จะแบ่งกระยาสารทให้กบั
พระวดั อ่ืนที่รับนิมนต์สําหรับไปฉันที่วดั ของตน (ขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมประเพณีจงั หวดั
นครนายก, 2564: ออนไลน์)
ความมุ่งหมายของประเพณี
ประเพณีสารทพวนเป็ นประเพณีหน่ึงของชาวไทยพวนที่ยึดถือปฏิบัติ เป็ นแนวทาง
วถิ ีทาง ทาํ นองคลองธรรมมาต้งั แต่บรรพบุรุษ เพ่ือสง่ั สอนลูกหลานดว้ ยความเล่ือมใสศรัทธาอาจจะ
เปลี่ยนแปลงบา้ งตามยุคสมยั ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั อิทธิพลของวฒั นธรรมอื่นท่ีแทรกเขา้ มาบดบงั สภาพ
เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงของสังคม ประเพณีสารทพวนแสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถนั ในการ
ทาํ งาน เริ่มต้งั แต่การเตรียมวตั ถุดิบ วสั ดุ อุปกรณ์สาํ หรับการทาํ กระยาสารท การแสดงความมีน้าํ ใจ
ความสามคั คีร่วมแรงร่วมใจกนั มีการช่วยเหลือกนั ผูท้ ่ีทาํ เสร็จแล้ ก็ช่วยผทู้ ่ียงั ทาํ ไม่เสร็จ การแสดง
ความกตญั �ูต่อพ้ืนดินทาํ กินโดยมีการนาํ สาํ รับคาวหวานและทาํ ห่อขา้ วไปใส่ในนาและทาํ หาบผยี ผ่ี ี
เจียงไปส่งไวน้ อกบา้ นดว้ ยเพอื่ ส่งผลใหพ้ ชื ผลในไร่อุดมสมบูรณ์ไดผ้ ลผลิตมีกินตลอดปี
ข้ันตอนปฏบิ ตั ิงานหรือพธิ ีกรรม
ประเพณีสารทพวนมีข้นั ตอนปฏิบตั ิเป็ นระยะๆกล่าวคือเมื่อถึงวนั แรม 8 ค่าํ จะเร่ิมนาํ
ขา้ วเปลือก ขา้ วเหนียวมาแช่ไว้ 2 - 3 คืน แลว้ นํามาคว่ั ในวนั แรม 9 ค่าํ 10 ค่าํ นําขา้ วมาตาํ เป็ น
ขา้ วเม่าและคงั่ ขา้ วตอก วนั แรม 11 ค่าํ 12 ค่าํ จะเป็ นวนั รางข้าวเม่า รางถวั่ รางงา วนั แรม 13 ค่าํ
จะเป็ นวนั กวนขนมกระยาสารท ทุกครัวเรือนจะทาํ กนั เอง ผูท้ ี่ทาํ เสร็จแลว้ ก็ช่วยผูท้ ี่ยงั ไม่เสร็จเป็ น
การแสดงน้าํ ใจไมตรีต่อเพ่ือนบา้ น วนั แรม 14 ค่าํ เป็ นวนั พระ ตอนเช้าไปตกั บาตรท่ีวดั มีการนํา
สาํ รับคาวหวานและนาํ ห่อขา้ วไปบา้ นละ 5-6 ห่อ เพื่อนาํ ไปใส่ในนาและทาํ หาบ ผีย่ผี ีเจียงไปส่งไว้

16
นอกบา้ นดว้ ย โดยจะใชห้ มอ้ ตาลใส่ขนมจีน ขนมสารทกบั ขา้ วคาวหวาน ผลไมต้ ่างๆ เช่น เผือกมนั
ท่ีต้มแลว้ ใส่รวมๆ กนั ลงในหมอ้ ตาล นําไปไวใ้ นทุ่งนาในวนั สารทพวน ซ่ึงเป็ นวนั แรม 14 ค่าํ
ชาวบ้านจะนํากระยาสารทพร้อมอาหารคาวหวานไปทําบุญท่ีวดั ทางวดั จะนิมนต์พระวดั อื่น
ที่หมู่บา้ นไม่ไดท้ าํ สารทน้นั ๆ มาร่วมดว้ ยเม่ือเสร็จพิธีแลว้ จะแบ่งกระยาสารทใหก้ บั พระวดั อื่นที่รับ
นิมนต์สําหรับนาํ ไปฉันที่วดั ของตน หลงั จากเสร็จสิ้นการทาํ บุญมีการรับประทานอาหารร่วมกนั
แลว้ ปัจจุบนั ยงั มีการประยกุ ตน์ าํ การละเลน่ พ้ืนบา้ นของชาวพวน เช่น ลาํ พวน ลาํ ตดั เป็นตน้ มาเล่น
เพ่ือความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเป็ นการสืบทอดการละเล่นพ้ืนบา้ นให้เยาวชนไดร้ ู้จกั และ
สืบสานต่อไป

คุณค่าของประเพณี
การแสดงความมีน้าํ ใจ ความสามคั คี ความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน
การสืบทอดประเพณี
นอกจากชาวบา้ นในชุมชนที่เป็ นเช้ือสายไทยพวนปฏิบตั ิตามประเพณีของตน เม่ือถึงวนั
สารทแลว้ ยงั มีการจดั ประเพณีสารทพวน โดยสภาวฒั นธรรมอาํ เภอปากพลี ศูนยว์ ฒั นธรรมไทย
สายใยชุมชน วดั ฝ่ังคลอง ตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี เป็ นเจา้ ภาพจดั และเชิญชวนชุมชนอ่ืนๆ
เขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั มีการเชิญชวนสถานศึกษาในเขตตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี ไดเ้ ขา้
มา ศึกษามีส่วนร่วมในการปฏิบตั ิตามข้นั ตอนของประเพณี
สถานท่จี ดั
วดั ที่เป็ นศูนยร์ วมไดแ้ ก่ วดั เกาะหวายและวดั ฝั่งคลอง ตาํ บลเกาะหวาย อาํ เภอปากพลี
จงั หวดั นครนายก วดั ในเขตตาํ บลอื่นๆที่เป็นชุมชนไทยพวน

ภาพที่ 13 การทาํ กระยาสารท

บทท่ี 3
สถานท่ที ่องเท่ียวจังหวดั นครนายก

นครนายกมีแหล่งท่องเที่ยวพกั ผ่อนมากมาย ท้งั ทางธรรมชาติและวฒั นธรรม แสนสงบ
ของ ภูเขางาม น้ําตกสวย ธรรมชาติที่ปราศจากมลพิษ "นครนายก" จึงถือเป็ นเมืองในฝันที่คุณ
จะสามารถแสวงหาความสุขไดใ้ กลๆ้ ตวั (นครนายก, ม.ป.ป.: ออนไลน์)

3.1 เข่ือนขุนด่านปราการชล
เป็ นเข่ือนขนุ ด่านปราการชลหรือเดิมเรียกวา่ เขื่อนคลองท่าด่านเป็นเข่ือนคอนกรีตอดั บด

ยาวท่ีสุดในประเทศไทยและในโลก ต้งั อยทู่ ี่ บา้ นท่าด่าน ต.หินต้งั อ.เมือง จ.นครนายกสร้างข้ึนตาม
แนวพระราชดาํ ริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เพ่ือเก็บกกั น้าํ ในช่วงหนา้ ฝนไวใ้ นใชห้ นา้ แลง้
และควบคุมไม่ใหเ้ กิดน้าํ ท่วมบา้ นเรือนราษฎรไร่นาและพ้ืนที่การเกษตรในหนา้ ฝน มีหนา้ ท่ีรองรับ
น้าํ ท่ีไหลมาจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ผา่ นน้าํ ตกเหวนรกลงสู่อ่างเกบ็ น้าํ แหล่งเพาะพนั ธุ์ปลาและ
เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจงั หวดั นครนายก นกั ท่องเท่ียวสามารถชมอทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่
ไดจ้ ากบริเวณสนั เข่ือนในบริเวณดา้ นหนา้ เข่ือนมีการเปิ ดทางน้าํ ใหส้ าํ หรับนกั ท่องเท่ียวไดม้ าเล่นน้าํ
ห่วงยางและล่องแก่งเพื่อเพ่ิมกิจกรรมสันทนาการให้กบั นกั ท่องเท่ียว นอกจากน้ียงั สามารถเช่าเรือ
หางยาวเพ่ือชมน้ําตกท่ีอยู่ลึกเขา้ ไปในอ่างเก็บน้ําของเข่ือนไดอ้ ีกดว้ ย การมาเท่ียวเข่ือนขุนด่าน
ประกอบดว้ ยสองจุดใหญ่ อยา่ งแรกคือการชมวิวบนสันเขื่อนซ่ึงใหภ้ าพอา่ งเกบ็ น้าํ มุมสูงท่ีโอบลอ้ ม
ด้วยภูเขาสวยงามและไม่ผิดหวงั ที่มาเยือน อย่างต่อมาคือการเที่ยวเล่นน้ําด้านล่างของเข่ือน
โดยนอกจากจะทาํ การระบายน้าํ ตามฤดูกาล ในวนั หยดุ เสาร์-อาทิตยห์ รือเทศกาลต่างๆ จะมีการผนั
น้าํ เพือ่ ใหป้ ระชาชนไดเ้ ล่นกนั อยา่ งสนุกสนานดว้ ย มีการจดั ทาํ ที่จอดรถ ซุม้ เพงิ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจไว้
ตอ้ นรับนักท่องเที่ยวอย่างดี วนั หยดุ จึงเนืองแน่นไปดว้ ยผูค้ นโดยเฉพาะเด็กๆและครอบครัวที่พา
ลูกหลานมาเล่นน้าํ (การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.: ออนไลน)์

18
ภาพที่ 14 ภาพมุมสูงของเข่ือนขนุ ด่านปราการชล

ภาพท่ี 15 ป้ายเข่ือนขนุ ด่านปราการชล
ภาพท่ี 16 ทางเดินจุดชมววิ ของเขื่อนขนุ ด่านปราการชล

19
3.2 นํา้ ตกสาริกา

น้าํ ตกสาริกาเป็ นน้าํ ตกในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ต้งั อยู่ หมู่ที่ 3 ต.สาริกา อ.เมือง
นครนายก ห่างจากตวั เมืองไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือโดยถนนหมายเลข 3049 เป็ นระยะทาง
12 กม. แลว้ แยกซ้ายเขา้ ทางหลวง 3050 อีก 3 กม.เส้นทางเขา้ น้าํ ตกสาริกาเป็ นป่ าท่ีอุดมสมบูรณ์
ทาํ ให้สองขา้ งทางเต็มไปดว้ ยตน้ ไมร้ ่มรื่นเขียวขจีตลอดทาง เม่ือเขา้ มาถึงจะพบน้าํ ตกขนาดใหญ่
ไหลตกจากหนา้ ผาสูงท้งั หมดถึง 9 ช้นั โดยผาท่ีสูงท่ีสุดประมาณ 200 เมตร ในแต่ละช้นั จะมีช้นั หิน
ธรรมชาติรองรับน้าํ และกลายเป็ นแอ่งน้าํ ขนาดเล็กๆอยู่ทว่ั บริเวณช้นั ของน้าํ ตก บางแห่งมีขนาด
กวา้ งและน้าํ ไม่ลึกมาก ทาํ ให้สายน้าํ ไหลตกลงมาอยา่ งสวยงามประกอบกบั ความอุดมสมบูรณ์ของ
ผนื ป่ าเขียวชอุ่ม ทาํ ใหส้ ามารถเดินช่ืนชมความงามของธรรมชาติไดใ้ นช่วงฤดูฝนจะมีน้าํ มาก แต่ใน
ฤดูแลง้ ก็ยงั พอมีน้าํ ให้สามารถเล่นไดท้ ่ีดา้ นหน้าทางเขา้ น้าํ ตกจะมีบริการห้องอาบน้าํ ร้านอาหาร
ร้านขายของท่ีระลึกไวบ้ ริการและบริเวณใกลเ้ คียงกนั มียงั มี "ถ้าํ สาริกา" เป็ นสถานท่ีที่อาจารยม์ น่ั
ภูริฑตฺโตเคยมาบาํ เพญ็ ธรรม มีสภาพเป็นเนินเขาภายในประกอบดว้ ยกุฏิของสงฆ์ เรือนบูชาหลวงป่ ู
มน่ั และโบสถท์ ่ีทางข้ึน น้าํ ตกสาริกาจะมีศาลเจา้ พ่อปลดั จ่างและเจา้ แม่สาริกาที่ชาวนครนายกและ
คนทว่ั ไปใหค้ วามเคารพนบั ถือเป็ นอยา่ งมาก ก่อนเดินทางข้ึนน้าํ ตกสาลิกาจึงควรแวะไหวเ้ พ่ือเป็ น
ศิริมงคล น้ําตกสาริกาเป็ นสถานท่ีท่องเท่ียวท่ีได้รับการคดั เลือกเข้าโครงการ หน่ึงตาํ บลหน่ึง
ผลิตภณั ฑ์ โดยการประชาคมท้งั ในระดบั ตาํ บลและอาํ เภอ เพราะน้าํ ตกสาริกาเป็นน้าํ ตกท่ีข้ึนช่ือเป็น
แลนด์มาร์คที่อยู่คู่กบั จงั หวดั นครนายก มีความสวยงามและใกลก้ รุงเทพฯ การคมนาคมสะดวก
ช่วงเวลาท่ีเหมาะสาํ หรับการมาท่องเที่ยวน้าํ ตกสาริกาที่ดีที่สุดคือ ช่วงปลายฤดูฝนจนถึงตน้ ฤดูหนาว
ซ่ึงเปิ ดให้เขา้ ชมต้งั แต่เวลา 05.30-18.00 น.ทุกวนั ค่าเขา้ ชมน้าํ ตก ผูใ้ หญ่ 20 บาทและเด็ก 10 บาท
(อทุ ยานแห่งชาติ, ม.ป.ป.: ออนไลน์)

ภาพที่ 17 น้าํ ตกสาริกา

20
3.3 นํา้ ตกนางรอง

น้ําตกนางรองต้งั อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ต.หินต้งั อ.เมือง ห่างจากตวั เมือง
นครนายกประมาณ 20 กิโลเมตร เป็ นน้าํ ตกท่ีลดหลนั่ เป็ นช้นั ๆไม่สูงนกั เป็ นน้าํ ตกขนาดกลางที่มี
ความสวยงามแห่งหน่ึงของจงั หวดั นครนายก แต่ละช้นั มีอ่างเก็บน้าํ ขนาดใหญ่และเลก็ รองรับน้าํ ที่
ไหลลงมาเหมาะสําหรับลงเล่นน้าํ เป็ นอยา่ งมาก เพราะน้าํ ไหลเป็ นทางยาวเราสามารถเลือกเล่นน้าํ
ไดห้ ลายจุดเท่ียวไดท้ ุกฤดูกาล เพราะมีน้ําตลอดท้งั ปี มีทางเดินข้ึนไปจุดชมวิวน้ําตกช้ันบนสุด
ระยะทางประมาณ 300 เมตร ร่มรื่นไปดว้ ยตน้ ไมป้ ่ านานาชนิด ทางเดินสะดวก อากาศเยน็ สบาย
ด้านหน้าบริเวณท่ีจอดรถมีร้านค้าบริการอาหารและเครื่องดื่ม เปิ ดให้เข้าชมทุกวันไม่เว้น
วนั หยุดราชการ ช่วงเวลาที่เหมาะท่ีสุดในการมาเที่ยวน้ําตกนางรองคือช่วงปลายฝนตน้ หนาว
ท่านจะสามารถสัมผสั กบั สายหมอกและน้าํ ตกที่สวยงาม อตั ราค่าผ่านประตู รถยนต์ พร้อมคนขบั
50 บาท ผใู้ หญ่ 10 บาท เด็กที่สูงไม่เกิน 120 ซม. เขา้ ฟรี สอบถามเพิ่มเติมไดท้ ี่ องคก์ ารบริหารส่วน
จงั หวดั นครนายก โทร. 037-385310, 037-307100 037-312284 (น้าํ ตกนางรอง, 2564: ออนไลน)์

ภาพที่ 18 น้าํ ตกนางรอง
3.4 อุทยานวงั ตะไคร้

จุมภฏ-พนั ธุ์ทิพย์ อุทยาน หรือที่รู้จกั กนั ในช่ือ "วงั ตะไคร้" เป็นหน่ึงในสถานท่ีท่องเที่ยว
ข้ึนชื่อระดบั ตน้ ๆของจงั หวดั นครนายก จงั หวดั ที่ไดช้ ่ือวา่ เป็น "เมืองในฝันใกลก้ รุง" ต้งั อยบู่ นถนน
สายนครนายก-นางรอง ตาํ บลสาริกา อาํ เภอเมือง เพียง 120 กิโลเมตรจากกรุงเทพฯ วงั ตะไคร้
แวดลอ้ มไปดว้ ยตน้ ไมใ้ หญ่และพรรณไมน้ านาชนิด รวมถึงสวนไมด้ อกไมป้ ระดบั อีกท้งั ยงั โอบ
ลอ้ มดว้ ยภูเขา มีธารน้าํ 2 สาย ซ่ึงมีตน้ น้าํ มาจากน้าํ ตกแม่ปลอ้ งและน้าํ ตกเหวกฐินไหลมาบรรจบกนั

21
ณ ที่แห่งน้ีจึงเหมาะแก่การท่องเท่ียวพกั ผอ่ น ด่ืมด่าํ ธรรมชาติและอากาศอนั บริสุทธ์ิ สนุกกบั การเล่น
น้าํ ล่องแก่งและกิจกรรมผจญภยั ต่างๆเพ่ือเติมพลงั กายและพลงั ใจให้พร้อมกลบั ไปรับมือกบั การ
ทาํ งานในสัปดาห์ใหม่ วงั ตะไคร้เปิ ดให้บริการทุกวนั ต้งั แต่ 08.00-18.00 น. อตั ราค่าผ่านประตูรถ
ทุกประเภทคนั ละ 150 บาท (ผูโ้ ดยสารไม่เกิน 8 ท่าน) เกิน 8 ท่าน เพิ่มท่านละ 10 บาท นอกจากน้ี
วงั ตะไคร้ยงั มีรีสอร์ทภายใตแ้ นวคิดรักษ์ธรรมชาติให้บริการแก่ท่าน (อุทยานวงั ตะไคร้, 2564:
ออนไลน์)

ภาพที่ 19 อุทยานวงั ตะไคร้
3.5 อุทยานพระพฆิ เนศ

อุทยานพระพิฆเนศ จ.นครนายกเป็ นท่ีประดิษฐานเทวรูปพิฆเนศวรขนาดใหญ่ ภายใน
อุทยานพระพิฆเนศ มีพระพิฆเนศองคใ์ หญ่ 2 ปางต้งั อยใู่ กลก้ นั ถือเป็นสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิอีกแห่งหน่ึง
ของเมืองไทยที่เกิดข้ึนมาดว้ ยพลงั ศรัทธาจากประชาชน อุทยานพระพิฆเนศเกิดจากแนวคิดของพระ
ราชพพิ ฒั น์โกศลหรือหลวงพ่อเณร เจา้ อาวาสวดั ศรีสุดารามวรวิหารบางขนุ นนทก์ รุงเทพฯ โดยท่าน
ไดร้ ับการถวายที่ดินจาํ นวน 16 ไร่จากลูกศิษยห์ ลวงพ่อภู อดีตเจา้ อาวาสวดั เวฬุราชินยา่ นบางยเ่ี รือ
กรุงเทพฯ ซ่ึงเป็นท่ีดินลอ้ มรอบดว้ ยคลองธรรมชาติ เดิมท่ีน้นั ท่านต้งั ใจจะสร้างเป็นบา้ นพกั คนชรา
แต่ตอ้ งพกั โครงการไปจนท่ีดินถูกทิ้งร้างมาเป็นเวลานาน จนกระทง่ั ท่านเกิดแนวความคิดสร้างศูนย์
ปฏิบตั ิธรรม อุทยานพระพิฆเนศเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวฒั นธรรมของจงั หวดั นครนายกนอกจากมี
พระพิฆเนศองคใ์ หญ่ที่สุด ยงั มีพิพิธภณั ฑพ์ ระพิฆเนศ 108 ปางให้ชมและสักการะบูชา รูปป้ันฤาษี
ลิงดาํ ปางต่างๆ นอกจากน้นั ยงั มีพระบรมสารีริกธาตุจาก 9 ประเทศให้เราไดบ้ ูชาเพื่อเป็ นสิริมงคล

22
อีกดว้ ย เป็ นแหล่งศึกษาหาความรู้นอกจากน้ันยงั เป็ นสถานท่ีสําหรับปฏิบตั ิธรรม เพ่ือทาํ นุบาํ รุง
ศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป มีคุณประโยชน์ในหลายๆดา้ น พระพิฆเนศวร หรือ พระพิฆเนศ
หรือ พระพิฆเณศ หรือ พระวิฆเณศวร หรือ พระคเณศ หรือ คณปติ เป็ นเทพในศาสนาพราหมณ์
ผูค้ นนับถือว่าเป็ นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็ นผูม้ ีปัญญาเป็ นเลิศปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง
เป็ นหัวหน้านาํ คณะขา้ มความขดั ขอ้ ง (ผูเ้ ป็ นใหญ่เหนือความขดั ขอ้ ง)ท้งั น้ีคนไทยถือว่าองคพ์ ระ
พิฆเนศเป็นท่ีเคารพสกั การะในฐานะองคบ์ รมครูแห่งศิลปวทิ ยาการ 18 ประการ โดยคนไทยยอมรับ
ในองคพ์ ระพิฆเนศให้เป็ นเทพแห่งศิลปะท้งั มวลและเป็ นเทพองคส์ ําคญั ในการประกอบพิธีกรรม
ต่างๆ (อุทยานพระพฆิ เนศ, ม.ป.ป.: ออนไลน์)

ภาพท่ี 20 อุทยานพระพฆิ เนศ

ภาพท่ี 21 พิพธิ ภณั ฑพ์ ระพฆิ เนศ 108 ปาง

บทที่ 4
กจิ กรรมแนะนําในจงั หวดั นครนายก

วนั หยดุ สุดสปั ดาห์ หากตอ้ งการหลบหนีจากความวนุ่ วายของเมืองกรุง ไปสู่โลกในมุมใหม่
ที่เงียบสงบ แวดลอ้ มดว้ ยภูเขาเขียวๆ น้าํ ตกสวยๆ แถมยงั ซุกซ่อนความตื่นเตน้ เอาไวภ้ ายใตค้ วามน่ิง
อีกท้ังยงั ไม่ไกลจากกรุงเทพฯมากนัก แต่อุดมไปด้วยแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติมากมาย
โดยเฉพาะการไปลอ่ งแก่ง เพ่ิมความทา้ ทายใหก้ บั ตวั เองท่ี "ล่องแก่งแม่น้าํ นครนายก" (เที่ยวทวั่ ไทย
สบายใจทุกที่, ม.ป.ป.: ออนไลน)์
4.1 ล่องแก่ง

แม่น้ํานครนายกมีตน้ กาํ เนิดจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เกิดจากลาํ ธารหลายสายมา
รวมตวั กนั เช่น คลองตะไคร้ คลองนางรอง มารวมตวั กนั เป็ นแม่น้ําไหลผ่านจงั หวดั นครนายก
โดยจุดเริ่มตน้ ของการล่องแก่งแม่น้าํ นครนายกอยู่ท่ีบริเวณเชิงสะพานท่าด่าน หลงั เขื่อนคลองท่า
ด่าน อนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ และจะไปสิ้นสุดการล่องที่บริเวณบา้ นวงั ยาว สาํ หรับการล่องแก่ง
ที่แม่น้าํ นครนายก มีระดบั ความยากและง่ายต้งั แต่ระดบั 3-5 สร้างความสนุกไดท้ ุกเพศทุกวยั ตลอด
ท้งั ปี (กระแสน้าํ จะไหลแรงในฤดูฝนต้งั แต่เดือนกรกฎาคม – ตุลาคม) โดยจุดเร่ิมตน้ ผจญภยั การลอ่ ง
แก่งแม่น้าํ นครนายกอยบู่ ริเวณเชิงสะพานท่าด่านเลาะเล้ียวไปตามลาํ น้าํ นครนายกในระดบั ความแรง
ของสายน้าํ ที่ 1-3 ผา่ นแก่งต่างๆ ท่ีสร้างความสนุกตื่นเตน้ ตลอดระยะทางในการลอ่ งแก่งประมาณ 2
ชว่ั โมง ส่วนแก่งต่าง ๆ ที่จะล่องผ่าน ไดแ้ ก่ แก่งโขดคุง้ มีลกั ษณะเป็ นโขดหินโผล่ข้ึนมาเหนือน้าํ
ในช่วงฤดูร้อน แต่จะจมลงไปในน้ํายามฤดูฝน, เกาะแก่ง มีลกั ษณะเช่นเดียวกันกับแก่งโขดคุ้ง
ถา้ ในช่วงฤดูร้อนจะมองเห็นเกาะแก่งน้ี แต่ถา้ อยใู่ นช่วงฤดูฝนกระแสน้าํ จะท่วมเกาะแก่งน้ีจนไม่
สามารถมองเห็นได้ และแก่งสุดทา้ ยท่ีถือว่าเป็ นจุดเด่นของการล่องแก่งแห่งน้ี คือ แก่งหินสามช้นั
เพราะก่อนจะถึงตัวแก่งสามช้ันระยะทางไม่กี่เมตรจะถึงโค้งหักศอกก่อน ซ่ึงนักล่องแก่งควร
ระมดั ระวงั ตวั และพยายามบังคบั ฝี พายดีๆ เพราะจากน้ีจะไดพ้ บกบั แก่งหินสามช้ันที่มีลกั ษณะ
เทลาดเอียงลงมาเป็ นข้นั บนั ได ระยะทางยาวประมาณ 50 เมตร กระแสน้าํ จะไหลวนลงมากระทบ
กบั โขดหินนอ้ ยใหญท่ ่ีจมอยใู่ ตน้ ้าํ จนเกิดเป็นลูกคล่ืนมว้ นตวั เขา้ หาหินสูงประมาณหน่ึงเมตร เป็นจุด
ทา้ ทายของนกั พายเรือคายคั และแคนู ซ่ึงจะมาประลองกาํ ลงั ความสามารถกนั ท่ีบริเวณแก่งสามช้นั
แห่งน้ี สาํ หรับคา่ ใชจ้ ่ายในการล่องแก่ง : เรือยาง 8-10 ท่ีนง่ั ราคา 1,500 บาท / ลาํ และ เรือคายคั 2 ท่ี
นงั่ ราคา 350 บาท / ท่าน

24
ข้อควรระวงั ในการล่องแก่ง
สวมชูชีพและหมวกกนั น็อคทุกคร้ังเมือลงล่องแก่ง ปฏิบตั ิตามกฎแห่งความปลอดภยั โดย
เคร่งครัด เชื่อฟังและปฏิบตั ิตามคาํ แนะนาํ ของไกดน์ าํ ทาง งดด่ืมสุราและของมึนเมาในขณะล่องแก่ง
(ไปลอ่ งแก่งนครนายก, ม.ป.ป.: ออนไลน์)

ภาพท่ี 22 กิจกรรมล่องแก่ง
4.2 จักรยานเสือภูเขา

จกั รยานเสือภูเขาเป็ นกิจกรรมท่ีสามารถทาํ ไดท้ ้งั ปี การขี่จกั รยานควรเร่ิมต้งั แต่เช้ามืด
เพราะการข่ีแต่ละเส้นทางใชเ้ วลาอยา่ งนอ้ ย 2 ชวั่ โมงข้ึนไป นอกจากแดดไม่ร้อนแลว้ ยงั ไดด้ ื่มด่าํ กบั
ธรรมชาติสวยๆ ยามเชา้ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สาํ นกั งานภาคกลางเขต 8 จดั
เสน้ ทางไวท้ ้งั หมด 4 เส้นทางไดแ้ ก่ เส้นทางที่ 1 วงั ตะไคร้-วงั ยาว ระยะทางประมาณ 22 กม. เร่ิมตน้
ท่ีบริเวณเชิงสะพานวงั ตะไคร้มองเห็นวิวทิวทศั น์และผ่านท่ีต้งั แคม้ ป์ เส้นทางที่ 2 เขาชะโงก-เขา
ทุเรียน ระยะทางประมาณ 24 กม. เร่ิมตน้ ที่จกั รดาวรีสอร์ทและมองเห็นววิ ทิวทศั นข์ องโรงเรียนนาย
ร้อยพระจุลจอมเกลา้ เทือกเขาและอ่างเก็บน้าํ เส้นทางท่ี 3 วดั พราหมณี-เขามดดาํ ระยะทาง 31 กม.
เริ่มตน้ ที่บริเวณวดั พราหมณีมองเห็นวิว ทิวทศั นข์ องเทือกเขาและสวนนก เสน้ ทางท่ี 4 วดั คีรีวนั -วดั
เนินหอม ระยะทาง 55 กม. เร่ิมตน้ ท่ีวดั คีรีวนั ผ่านอ่างเก็บน้าํ คลองสีเสียด วดั เขาพระธรรมขนั ธ์ไป
ถึงแยกเนินหอมจงั หวดั ปราจีนบุรี ทิวทศั น์เป็นทุ่งนา บา้ นพกั อาศยั และเทือกเขา เส้นทางน้ีป่ันไดใ้ น
เวลาเยน็ อีกดว้ ย (เท่ียวทวั่ ไทยสบายใจทุกท่ี, ม.ป.ป.: ออนไลน)์

25

ภาพท่ี 23 กิจกรรมปั่นจกั รยานเสือภูเขา
4.3 ท่องไพรเขาใหญ่-นครนายก

ท่องไพรเขาใหญ่-นครนายก จดั ในช่วงเดือนธนั วาคม-มิถุนายน ของทุกปี (กิจกรรมน้ีงด
ในช่วงฤดูฝน) โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือเป็นการส่งเสริมการท่องเท่ียวของจงั หวดั เพ่ือศึกษาธรรมชาติ
และระบบนิเวศวิทยา เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจตลอดจนใหน้ กั ท่องเท่ียวเห็นความสาํ คญั ใน
การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม อีกท้งั ยงั เพิ่มพูนรายไดใ้ ห้แก่ประชาชนในทอ้ งถิ่น
ดว้ ย เส้นทางศึกษาธรรมชาติในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีจาํ นวน 4 เส้นทางไดแ้ ก่ เส้นทางท่ี 1
น้าํ ตกนางรอง-น้าํ ตกตาดตาโม่ง–น้าํ ตกตาดตาคง–น้าํ ตกตาดตาภู่–ท่ีทาํ การอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ระยะทาง 25 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 3 วนั 2 คืน เส้นทางที่ 2 อุทยานวงั ตะไคร้–น้าํ ตกแม่ปลอ้ ง ระยะทาง
10 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 2 วนั 1 คืน เส้นทางท่ี 3 เดินลดั เลาะตามลาํ คลองนางรอง–น้าํ ตกไทรยองหิน–
ถ้าํ คา้ งคาว–คลองร่วม–เขาทะโมน ระยะทาง 14 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 2 วนั 1 คืนเส้นทางท่ี 4 ลาํ คลอง
นางรอง–กลุ่มน้าํ ตกไทรยองหิน–ถ้าํ คา้ งคาว–น้าํ ตกเหวมหศกั ด์ิ–เดินทางกลบั เส้นทางเดิม ระยะทาง
2 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 1 วนั (ท่องเขาไพร-นครนายก, ม.ป.ป.: ออนไลน์)

การเตรียมความพร้อมสําหรับการเดนิ ป่ าศึกษาธรรมชาติ
การเตรียมตวั ก่อนออกจากป่ าคอนกรีต ควรเตรียมตวั และเตรียมใจใหพ้ ร้อม ก่อนเดินทาง
เลือกเส้นทางท่ีปลอดภยั สะดวก หาขอ้ มูลของสถานท่ีที่จะไปให้มากที่สุด เพื่อจะไดเ้ ตรียมอุปกรณ์
ต่างๆใหพ้ ร้อม
การแต่งกาย
เส้ือผา้ หนาและทน พร้อยลุย ช่วยใหร้ ่างกายอบอ่นุ ป้องกนั ก่ิงไมข้ ีดข่วน ควรมีชุดลุยหน่ึง
ชุด ชุดนอนใส่สบายอีกหน่ึงชุด รองเทา้ ควรเป็นรองเทา้ เดินป่ าหุม้ สน้ แขง็ แรง พอดีเทา้

26
อปุ กรณ์ที่จะต้องเตรียม
เต็นท์ เปล ถุงนอน ยากนั ยุง กระติกน้ํา เข็มทิศ ไฟฉาย กลอ้ งส่องทางไกล อาหารแห้ง
เครื่องปฐมพยาบาล ฯลฯ
การเดนิ ป่ าอย่างถูกวธิ ี
ก่อนเดินป่ าดื่มน้าํ ให้อิ่ม เติมน้ําให้เต็มกระติก เดินอย่างออมกาํ ลงั ฝึ กสายตาให้คุน้ กบั
สภาพป่ า ไม่ส่งเสียงดงั เดินแถวเรียงเด่ียว เดินดว้ ยความเร็วสม่าํ เสมอ ควรพกั ทุก 1 ชั่วโมงและ
ที่สาํ คญั ไม่ควรเป็นศิลปิ นเดี่ยว เดินคนเดียวเพราะอาจหลงป่ าได้
การเตรียมความพร้อมสําหรับศึกษาวถิ ชี ีวติ ของนกนานาพนั ธ์ุ
เตรียมเส้ือแขนยาว กางเกงขายาว สีไม่ฉูดฉาด เตรียมหาหมวกกนั แดด รองเทา้ หุ้มส้นไว้
ป้องกนั การขีดข่วนตามกอหญา้ พมุ่ ไม้
อุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมได้แก่
กลอ้ งส่องทางไกล มีกาํ ลงั ขยายในระยะ 7x หรือ 8x และจะให้ดีควรมีขาต้งั กลอ้ งดว้ ย
สมุดบนั ทึก กลอ้ งถา่ ยรูป เขม็ ทิศ หรือดินสอสี สเกต็ ซ์ภาพนกสวยๆเกบ็ ไวด้ ูดว้ ย
เทคนิคการดูนก
ควรดูก่อนพระอาทิตยจ์ ะข้ึนและก่อนพลบค่าํ หยุดเดินทุกๆ 5 นาที เพื่อสํารวจดูนก
รอบๆตวั มองหานกต้งั แต่พ้ืนดินจนถึงระดบั ยอดไมร้ วมถึงทอ้ งฟ้าดว้ ย ส่งเสียงให้น้อยท่ีสุด ควร
เคลื่อนไหวช้าๆ การดูนกเป็ นเรื่องท่ีตอ้ งฝึ กฝนควรเริ่มจากการดูนกในสวนสาธารณะ ชานเมือง
ทุ่งนา แลว้ ค่อยเขา้ ไปดูตามป่ าเขาและชายทะเล (เดินป่ าท่องไพรเขาใหญ่ ท่ีจงั หวดั นครนายก, 2564:
ออนไลน์)

ภาพท่ี 24 การศึกษาธรรมชาติกบั กิจกกรมท่องไพรเขาใหญ-่ นครนายก

บทที่ 5
สรุป

ท่ีมาของชื่อนครนายกน้นั ไม่ชดั เจนทางประวตั ิศาสตร์ แนวคิดหลกั ของท่ีมาของชื่อมีดงั น้ี
จงั หวดั นครนายกเดิมชื่อบ้านนาแต่ภายหลงั ได้เปลี่ยนช่ือเป็ นจงั หวดั นครนายก ในสมยั กรุงศรี
อยธุ ยาดินแดนของนครนายกเป็นป่ ารกชฏั เป็นที่ดอนทาํ นาหรือทาํ การเพาะปลูกอะไรไม่ค่อยไดผ้ ล
มีไขป้ ่ าชุกชุมผคู้ นจึงพากนั อพยพไปอยทู่ ี่อื่นจนกลายเป็นเมืองร้าง ต่อมาพระมหากษตั ริยท์ รงทราบ
ความเดือดร้อนของชาวเมืองจึงโปรดให้ยกเลิกภาษีค่านา เพ่ือจูงใจให้ชาวเมืองอยู่ท่ีเดิมทาํ ให้มีคน
อพยพมาอยู่เพ่ิมมากข้ึนจนเป็ นชุมชนใหญ่และเรียกเมืองน้ีจนติดปากว่า เมืองนา-ยก ภายหลงั จึง
กลายเป็ นนครนายกจนทุกวนั น้ี สมยั ก่อนรัชกาลที่ 5 การปกครองส่วนภูมิภาคถูกแบ่งเป็ นสมุหนา
ยกและสมุหกลาโหม โดยสมุหกลาโหมปกครองท้งั ฝ่ ายพลเรือนและทหารในหัวเมืองดา้ นใต้ และ
สมุหนายกปกครองท้งั ฝ่ ายพลเรือนและทหารในหวั เมืองดา้ นเหนือ พ้ืนท่ีเดิมของจงั หวดั นครานายก
น้นั เป็นพ้นื ท่ีที่เคยอยสู่ งั กดั กบั สมุหกลาโหมแต่ภายหลงั ถูกโอนใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ารดูแลของสมุหนายก
พ้นื ท่ีตรงน้ีจึงไดช้ ื่อวา่ นครนายกนบั แต่น้นั เป็นตน้ มา

จงั หวดั นครนายกต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ออกของประเทศไทยระหว่างเส้นรุ้งที่ 14 องศาเหนือ
และเส้นแวงที่ 101 องศาตะวนั ออก มีระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามถนนทางหลวงแผ่นดิน
หมายเลข 305 เลียบคลองรังสิตผา่ นอาํ เภอองครักษถ์ ึงจงั หวดั นครนายก ระยะทาง 105 กม. มีเน้ือท่ี
ประมาณ 2,122 ตร. หรือ ประมาณ 1,326,250 ไร่ ห่างจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประมาณ
52 กิโลเมตร ท่าอากาศยานดอนเมือง 82 กิโลเมตร ท่าเทียบเรือคลองเตย 120 กิโลเมตร ท่าเทียบเรือ
แหลมฉบงั 163 กิโลเมตร สภาพโดยทวั่ ไปเป็นที่ราบ ทางตอนเหนือและตะวนั ออกเป็นภูเขาสูงชนั
ในเขตอาํ เภอบา้ นนา อาํ เภอเมืองนครนายกและอาํ เภอปากพลี ส่วนหน่ึงอยใู่ นเขตอุทยานแห่งชาติ
เขาใหญ่ ซ่ึงเป็นเขตรอยต่อกบั อีก 3 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สระบุรี นครราชสีมา และปราจีนบุรี มีเทือกเขา
ติดต่อกับเทือกเขาดงพญาเย็น มียอดเขาสูงท่ีสุดของจังหวดั คือ ยอดเขาเขียว มีความสูงจาก
ระดบั น้าํ ทะเล 1,351 เมตร ส่วนทางตอนกลางและตอนใตเ้ ป็นที่ราบอนั กวา้ งใหญ่เป็นส่วนหน่ึงของ
ที่ราบสามเหล่ียมลุ่มแม่น้าํ เจา้ พระยาท่ีเรียกว่า “ที่ราบกรุงเทพ” ( Bangkok Plain) ลกั ษณะดินเป็ น
ดินปนทรายและดินเหนียวเหมาะแก่การ ทาํ นา ทาํ สวนผลไมแ้ ละการอยู่อาศยั ซ่ึงติดกบั จงั หวดั

28

ฉะเชิงเทราและปทุมธานี มีอาณาเขตติดต่อจงั หวดั ใกลเ้ คียง ดงั น้ี ทิศเหนือติดต่อกบั จงั หวดั สระบุรี
และจงั หวดั นครราชสีมา ทิศตะวนั ออกติดต่อกบั จงั หวดั นครราชสีมาและจงั หวดั ปราจีนบุรีทิศใต้
ติดต่อกบั จงั หวดั ปราจีนบุรีและจงั หวดั ฉะเชิงเทรา ทิศตะวนั ตกติดต่อกบั จงั หวดั ปทุมธานี

คาํ ขวญั ประจาํ จงั หวดั : นครนายก เมืองในฝันท่ีใกลก้ รุง ภูเขางาม น้าํ ตกสวย รวยธรรมชาติ
ปราศจากมลพิษ ตราประจาํ จังหวดั : รูปช้างชูรวงข้าว ต้นไม้ประจาํ จังหวดั : ต้นสุพรรณิการ์
(Cochlospermum religiosum) สตั วน์ ้าํ ประจาํ จงั หวดั : ปลาตะเพยี นทอง (Barbonymus altus)

ประเพณีกวนขา้ วทิพยเ์ ป็ นพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ที่มีสอดแทรกเขา้ มาปะปนใน
พิธีกรรมทางพทุ ธศาสนา เพอ่ื ถวายแด่พระภิกษสุ งฆแ์ ละบูชาพระรัตนตรัยอทุ ิศส่วนกศุ ลใหแ้ ก่ผตู้ าย
ประเพณีกวนขา้ วทิพยเ์ ป็นพระราชพิธีที่กระทาํ กนั ในเดือน 10 ซ่ึงมีมาต้งั แต่สมยั สุโขทยั และกรุงศรี
อยุธยาเป็ นราชธานีและไดร้ ับการฟ้ื นฟูคร้ังใหญ่ในสมยั รัชกาลท่ี 1 และมาละเวน้ เลิกราไปในสมยั
รัชกาลท่ี 2 และรัชกาลที่ 3 แลว้ มาไดร้ ับการฟ้ื นฟูอีกคร้ังหน่ึงในสมยั รัชกาลท่ี 4 เป็ นตน้ มา แต่ใน
ปัจจุบนั น้ีส่วนใหญ่จะจดั กนั ในเดือน 12 บางแห่งก็เดือนหน่ึง ซ่ึงคงจะถือเอาระยะที่ขา้ วกลา้ ในทอ้ ง
นามีรวงขาวเป็นน้าํ นมของแต่ละปี และชาวบา้ นกม็ ีความพร้อมเพรียงกนั ในจงั หวดั สิงห์บุรีบริเวณท่ี
ยงั คงรักษาประเพณีกวนขา้ วทิพย์ มีเหลืออยเู่ พียง 3 หมู่บา้ นคือหมู่บา้ นพฒั นา โภคาภิวฒั น์ หมู่บา้ น
วดั กุฎีทองหมู่บา้ นในอาํ เภอพรหมบุรี ยงั คงรูปเคา้ โครงของการรักษาประเพณีและมีความเช่ือถือ
อย่างมน่ั คง เป็ นแบบอยา่ งที่ดี ซ่ึงแฝงดว้ ยจริยธรรมและคติธรรมอยมู่ ากท่ีสมควรนาํ มากล่าวถึงคือ
ความพร้อมเพรียงของชาวบา้ นท้งั ท่ีทาํ นาและไม่ไดท้ าํ นาถึงเวลาก็มาร่วมจดั ทาํ และช่วยเหลือโดย
ยดึ ถือความสามคั คีเป็นหลกั

ประเพณีสารทไทย คาํ วา่ “สารทไทย” หมายถึง เทศกาลทาํ บุญสิ้นเดือนสิบของไทย จะตรง
กบั วนั แรม 15 ค่าํ เดือน 10 ของทุกปี ซ่ึงมกั จะตกราวๆปลายเดือนกนั ยายนถึงเดือนตุลาคม วนั สารท
ไทยกค็ ือประเพณีทาํ บุญกลางปี เพ่ือใหเ้ กิดความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองที่มีชีวิตผา่ นพน้ เวลามาไดถ้ ึง
ก่ึงปี ในขณะเดียวกนั ก็ถือโอกาสทาํ บุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพชน เพื่อแสดงความกตญั �ูรู้คุณ
ไปดว้ ย โดยขนมท่ีนิยมใชท้ าํ บุญในช่วงน้ีคือ กระยาสารท ขา้ วยาคูหรือขา้ วทิพยห์ รือขา้ วมธุปายาส
หนงั สือพระราชพิธีสิบสองเดือนไดก้ ล่าวไวว้ า่ สารท ซ่ึงเป็นนกั ขตั ฤกษ์ (งานรื่นเริงตามธรรมเนียม
ตามฤดูกาล) เป็ นท่ีนิยมของคนท้งั ปวงทว่ั ไปว่าเป็ นสมยั ที่ได้ทาํ บุญ เมื่อปี เดือนวนั คืนล่วงมาถึง
ก่ึงกลางรอบ ดว้ ยเหตุว่าเราถือเอากาํ หนดพระอาทิตยล์ งไปท่ีสุดทางใตก้ ลบั มาเหนือถึงก่ึงกลางปี

29

เป็ นตน้ ปี คร้ันเม่ือพระอาทิตยข์ ้ึนไปเหนือจนสุดทางจะกลบั ลงใตม้ าถึงก่ึงกลางก็เป็ นพอบรรจบ
ก่ึงกลางปี พูดง่ายๆก็คือ วนั สารทไทย ถือเป็ นวนั ทําบุญกลางปี ด้วยว่าสมัยก่อนเราถือเอาวนั
สงกรานต์ ซ่ึงอยใู่ นช่วงเดือนเมษายนเป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ ดงั น้นั ช่วงเดือนสิบจึงตกราวกลางปี พอดี คน
ทว่ั ไปจึงนิยมทาํ บุญเพ่ือความเป็ นสิริมงคลแก่ชีวิต เสมือนเป็ นการเตือนใจตวั เองว่าชีวิตไดด้ าํ เนิน
ผา่ นมาถึงก่ึงปี แลว้ ชีวติ ขา้ งหนา้ ท่ีเหลือควรจะไดส้ ร้างบุญกุศลไวเ้ พื่อความไม่ประมาท ซ่ึงนอกจาก
การทาํ บุญดงั กล่าวแลว้ ยงั มีการทาํ บุญอุทิศส่วนกุศลไปให้แก่บรรพบุรุษผูล้ ่วงลบั อีกดว้ ย พระยา
อนุมานราชธนไดเ้ ขียนเล่าในหนังสือเทศกาลและประเพณีไทยว่าคาํ ว่า “ สารท ” เป็ นคาํ อินเดีย
หมายถึง “ ฤดู ” ตรงกบั ฤดูในภาษาองั กฤษที่เรียกว่า “ ออตอม ” อนั แปลว่า ฤดูใบไมร้ ่วง ซ่ึงจะมี
เฉพาะบางเขตของโลกอยา่ งยโุ รป จีนและอินเดียตอนเหนือเท่าน้นั ช่วงน้นั เป็นระยะท่ีพืชพนั ธุ์ธญั
ชาติและผลไมเ้ ริ่มสุกและให้ พืชผลคร้ังแรกในฤดู ดงั น้นั ประชาชนจึงรู้สึกยนิ ดีและถือเป็นเทศกาล
แห่งความร่ืนเริง จึงมักทําพิธีตามความเชื่อและเล้ียงดูกันอย่างที่เรียกว่า “Seasonal Festival”
โดยบางแห่งก็จะมีการนาํ พืชผลที่เก็บเกี่ยวไดค้ ร้ังแรกท่ีเรียกวา่ “ ผลแรกได้ ” น้ีไปสังเวยหรือบูชา
สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีตนนบั ถือเพื่อความเป็นสิริมงคลและแสดงความเคารพท่ีท่านช่วยบนั ดาลใหพ้ ืชพนั ธุ์
ธญั หารอุดมสมบูรณ์จนเก็บเกี่ยวไดเ้ ช่น พิธีปงคลั ในอินเดียตอนใตท้ ี่มีพิธีตม้ ขา้ วกบั น้าํ นมทาํ เป็ น
ขนม เรียกวา่ ขา้ วทิพยข์ า้ วปายาสถวายพระคเณศเป็นตน้ ส่วนสารทเดือนสิบ อนั หมายถึงการทาํ บุญ
เดือนสิบหรือวนั สารทไทยของเราน้ัน พระยาอนุมานราชธนไดส้ ันนิษฐานว่า น่าจะนาํ มาจากคติ
ของอินเดียเก่ียวกบั ความเชื่อเรื่องผลแรกได้ อยา่ งที่กล่าวขา้ งตน้ เช่นกนั แต่ช่วงเก็บเกี่ยวขา้ วในฤดู
สารทหรือช่วงฤดูใบไมร้ ่วงของบางประเทศท่ีว่าจะตกอยใู่ นราว ๆ เดือน 10 ทางจนั ทรคติของไทย
ซ่ึงโดยความจริงขา้ วของเราจะยงั ไม่สุก มีเพียงผลไมบ้ างชนิดเท่าน้นั ที่สุก คร้ันเรารับความเชื่อน้ีมา
จึงมีปรับเปล่ียนใชข้ า้ วเก่าทาํ เป็นขา้ วเม่าผสมกบั ถวั่ งาและส่ิงอ่ืนกลายเป็น ขนมกระยาสารทข้ึนมา
ซ่ึงเมื่อแรกๆก็คงมีการนาํ ไปสังเวยเทวดาและผีสางต่างๆตามความเช่ือด้งั เดิมดว้ ย ต่อมาเมื่อเรานบั
ถือศาสนาพุทธ จึงไดเ้ ปลี่ยนมาเป็ นการทาํ บุญถวายพระและมกั มีการกรวดน้ําอุทิศส่วนกุศลแด่
บรรพบุรุษผูล้ ่วงลบั ตามความเชื่อเดิมท่ีว่าหากไม่ไดท้ าํ บุญตกั บาตรกระยาสารท ผีป่ ูย่าตายายจะ
ไดร้ ับความเดือนร้อนอดๆอยากๆเท่ากบั ลูกหลานไม่กตญั �ู นอกจากน้ี ระยะเวลาดงั กล่าวยงั เป็ น
ช่วงกล้วยไข่สุกพอดี จึงมักถวายไปพร้อมๆกัน การทําบุญเดือนสิบน้ีมีในหลายภูมิภาคเช่น
ทางอีสาน เรียกวา่ บุญขา้ วสากหรือสลากภตั เป็นหน่ึงในฮีตสิบสองอนั เป็นการทาํ บุญอุทิศใหผ้ ตู้ าย

30

หรือเปรต โดยขา้ วสากจะทาํ ดว้ ยขา้ วเม่า ขา้ วพอง ขา้ วตอกคลุกเขา้ กนั ผสมกบั น้าํ ตาล น้าํ ออ้ ย ถวั่ งา
มะพร้าวคลา้ ยๆ กระยาสารทของภาคกลาง โดยมกั จะทาํ ราวกลางเดือนสิบ ห่างจากการทาํ บุญขา้ ว
ประดบั ดินท่ีทาํ ในช่วงสิ้นเดือน 9

ประเพณีเอาะเฮือน เป็ นประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ของไทยพวนที่สืบทอดประเพณีต่อเนื่องกนั
มาต้งั แต่คร้ังโบราณ จนกลายเป็นวฒั นธรรมที่ยงั คงปฏิบตั ิสืบทอดกนั มาจนถึงสมยั ปัจจุบนั วิถีชีวิต
ของชาวชนบทไทยพวนน้ัน สังคมครอบครัวมีความเป็ นอยู่ที่ผูกพนั กันในหมู่เครือญาติ เม่ือมี
ครอบครัวก็จะอย่รู วมกนั ในเรือนหลงั เดียวกนั เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวเพิ่มมากข้ึนก็จะแยกตวั
ออกไปปลูกสร้างเรือนใหม่ แต่หากแต่งงานแลว้ ยงั ไม่มีสมาชิกมากหรือผทู้ ี่แต่งงานใหม่ ก็อาจยงั คง
อยรู่ วมกนั กบั พอ่ แม่ และเมื่อเห็นวา่ ในครัวเรือนน้นั มีสมาชิกมากเกินไปแลว้ หรือมีความพร้อมท่ีจะ
สร้างบา้ นเรือนข้ึนใหม่ ก็จะแยกตวั ออกไปปลูกสร้างเรือนท่ีเรียกวา่ เรือนหอ แต่ยงั คงปลูกเรือนใกล้
กบั เรือนของพ่อแม่น้ันเอง เม่ือสร้างบา้ นเรือนเสร็จแลว้ ก็จะตอ้ งทาํ บุญข้ึนบา้ นใหม่ ประกอบพิธี
ตามท่ีเช่ือถือกนั ว่าเป็ นสิริมงคลนาํ ความสุขความเจริญมาสู่คนในครอบครัว ประเพณีเอาะเฮือน
เป็นประเพณีข้ึนบา้ นใหม่ของชาวไทยพวน เม่ือไดฤ้ กษไ์ ดว้ นั แลว้ จะมีการข้ึนบา้ นใหม่ ส่วนใหญจ่ ะ
นิยมข้ึนบา้ นใหม่ในช่วงเวลากลางวนั ต้งั แต่เวลาเชา้ พระอาทิตยข์ ้ึนรุ่งอรุณไปจนถึงเวลาบ่ายและเยน็
แลว้ แต่ฤกษ์

ประเพณีสารทพวนเป็นประเพณีหน่ึงของชาวไทยพวนท่ีอพยพมาอยใู่ นจงั หวดั นครนายก
ซ่ึงมีมากที่สุดท่ีอาํ เภอปากพลี ชาวพวนเหล่าน้ียงั คงยึดถือประเพณีวฒั นธรรมที่ปฏิบตั ิต่อกันมา
แต่คร้ังยงั อยู่ที่ประเทศลาว ชาวไทยพวนในอาํ เภอปากพลี นับถือพุทธศาสนาเช่นเดียวกบั คนไทย
ประเพณีพิธีกรรมต่างๆที่ชาวพวนถือปฏิบตั ิกนั ใน 1 ปี ก็จะมีลกั ษณะคลา้ ยและต่างกบั ของคนไทย
ซ่ึงบางอยา่ งมีความเป็นเอกลกั ษณ์ของชาวไทยพวน ประเพณีวนั สารทในอาํ เภอปากพลีจะทาํ บุญวนั
สารท 3 ระยะ คือ สารทพวนจะทาํ ในหมู่บา้ นไทยพวน ในวนั แรม 14 ค่าํ เดือน 9 สารทลาวจะทาํ ใน
หมู่บา้ นไทยลาวทุกบา้ นในวนั ข้ึน 15 ค่าํ เดือน 10 สารทไทยในวนั แรม 15 ค่าํ เดือน 10 ทุกหมู่บา้ น
จะทําบุญสารทไทยรวมท้ังไทยพวนและไทยลาว ซ่ึงได้ทําสารทพวนหรือสารทลาวไปแล้ว
ประเพณีสารทชาวบา้ นจะนาํ กระยาสารทพร้อมอาหารคาวหวานไปทาํ บุญที่วดั ทางวดั จะนิมนต์
พระวดั ในหมู่บา้ นอื่นท่ีไม่ไดท้ าํ สารทน้นั ๆมาร่วมดว้ ย เม่ือเสร็จพิธีแลว้ จะแบ่งกระยาสารทให้กบั
พระวดั อ่ืนท่ีรับนิมนตส์ าํ หรับไปฉนั ที่วดั ของตน

31

เข่ือนขุนด่านปราการชลหรือเดิมเรียกว่าเขื่อนคลองท่าด่านเป็ นเขื่อนคอนกรีตอดั บดยาว
ท่ีสุดในประเทศไทยและในโลกต้งั อยทู่ ่ี บา้ นท่าด่าน ต.หินต้งั อ.เมือง จ.นครนายกสร้างข้ึนตามแนว
พระราชดาํ ริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เพ่ือเก็บกกั น้าํ ในช่วงหนา้ ฝนไวใ้ นใชห้ นา้ แลง้ และ
ควบคุมไม่ใหเ้ กิดน้าํ ท่วมบา้ นเรือนราษฎรไร่นาและพ้ืนที่การเกษตรในหนา้ ฝน มีหนา้ ท่ีรองรับน้าํ ท่ี
ไหลมาจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ผา่ นน้าํ ตกเหวนรกลงสู่อ่างเก็บน้าํ เป็นแหล่งเพาะพนั ธุ์ปลาและ
เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวแห่งใหม่ของจงั หวดั นครนายก นกั ท่องเที่ยวสามารถชมอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ไดจ้ ากบริเวณสนั เขื่อนในบริเวณดา้ นหนา้ เขื่อนมีการเปิ ดทางน้าํ ใหส้ าํ หรับนกั ท่องเท่ียวไดม้ าเล่นน้าํ
ห่วงยางและล่องแก่งเพ่ือเพ่ิมกิจกรรมสันทนาการให้กบั นกั ท่องเที่ยว นอกจากน้ียงั สามารถเช่าเรือ
หางยาวเพื่อชมน้ําตกท่ีอยู่ลึกเขา้ ไปในอ่างเก็บน้ําของเขื่อนได้อีกดว้ ย การมาเท่ียวเข่ือนขุนด่าน
ประกอบดว้ ยสองจุดใหญ่ อยา่ งแรกคือการชมวิวบนสันเขื่อนซ่ึงใหภ้ าพอา่ งเกบ็ น้าํ มุมสูงที่โอบลอ้ ม
ด้วยภูเขาสวยงามและไม่ผิดหวงั ท่ีมาเยือน อย่างต่อมาคือการเที่ยวเล่นน้ําด้านล่างของเขื่อน
โดยนอกจากจะทาํ การระบายน้าํ ตามฤดูกาล ในวนั หยดุ เสาร์-อาทิตยห์ รือเทศกาลต่างๆ จะมีการผนั
น้าํ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไดเ้ ล่นกนั อยา่ งสนุกสนานดว้ ย มีการจดั ทาํ ที่จอดรถ ซุม้ เพงิ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจไว้
ตอ้ นรับนักท่องเท่ียวอย่างดี วนั หยุดจึงเนืองแน่นไปดว้ ยผูค้ นโดยเฉพาะเด็กๆและครอบครัวที่พา
ลูกหลานมาเล่นน้าํ

น้ําตกสาริกาเป็ นน้ําตกในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ต้ังอยู่ หมู่ที่ 3 ต.สาริกา อ.เมือง
นครนายก ห่างจากตวั เมืองไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือโดยถนนหมายเลข 3049 เป็ นระยะทาง
12 กม. แลว้ แยกซ้ายเขา้ ทางหลวง 3050 อีก 3 กม.เส้นทางเขา้ น้าํ ตกสาริกาเป็ นป่ าที่อุดมสมบูรณ์
ทาํ ให้สองขา้ งทางเต็มไปดว้ ยตน้ ไมร้ ่มรื่นเขียวขจีตลอดทาง เมื่อเขา้ มาถึงจะพบน้าํ ตกขนาดใหญ่
ไหลตกจากหนา้ ผาสูงท้งั หมดถึง 9 ช้นั โดยผาท่ีสูงท่ีสุดประมาณ 200 เมตร ในแต่ละช้นั จะมีช้นั หิน
ธรรมชาติรองรับน้าํ และกลายเป็ นแอ่งน้าํ ขนาดเล็กๆ อยู่ทว่ั บริเวณช้นั ของน้าํ ตก บางแห่งมีขนาด
กวา้ งและน้าํ ไม่ลึกมาก ทาํ ให้สายน้าํ ไหลตกลงมาอยา่ งสวยงามประกอบกบั ความอุดมสมบูรณ์ของ
ผนื ป่ าเขียวชอุ่ม ทาํ ใหส้ ามารถเดินช่ืนชมความงามของธรรมชาติไดใ้ นช่วงฤดูฝนจะมีน้าํ มาก แต่ใน
ฤดูแลง้ ก็ยงั พอมีน้าํ ให้สามารถเล่นไดท้ ่ีดา้ นหน้าทางเขา้ น้าํ ตกจะมีบริการห้องอาบน้าํ ร้านอาหาร
ร้านขายของท่ีระลึกไวบ้ ริการและบริเวณใกลเ้ คียงกนั มียงั มี "ถ้าํ สาริกา" เป็ นสถานที่ท่ีอาจารยม์ น่ั
ภู ริฑตฺโตเคยมาบาํ เพญ็ ธรรม มีสภาพเป็นเนินเขาภายในประกอบดว้ ยกฏุ ิของสงฆ์ เรือนบูชาหลวงป่ ู

32

มน่ั และโบสถ์ ท่ีทางข้ึน น้าํ ตกสาริกาจะมีศาลเจา้ พ่อปลดั จ่างและเจา้ แม่สาริกาที่ชาวนครนายกและ
คนทวั่ ไปให้ความเคารพนับถือเป็ นอย่างมาก ซ่ึงเปิ ดให้เขา้ ชมต้งั แต่เวลา 05.30-18.00 น. ทุกวนั
ค่าเขา้ ชมน้าํ ตก ผใู้ หญ่ 20 บาทและเดก็ 10 บาท

น้ําตกนางรองต้ังอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ต.หินต้ัง อ.เมือง ห่างจากตัวเมือง
นครนายกประมาณ 20 กิโลเมตร เป็ นน้าํ ตกท่ีลดหลนั่ เป็ นช้นั ๆไม่สูงนกั เป็ นน้าํ ตกขนาดกลางที่มี
ความสวยงามแห่งหน่ึงของจงั หวดั นครนายก แต่ละช้นั มีอ่างเก็บน้าํ ขนาดใหญ่และเล็กรองรับน้าํ
ท่ีไหลลงมาเหมาะสาํ หรับลงเล่นน้าํ เป็นอยา่ งมาก เพราะน้าํ ไหลเป็นทางยาวเราสามารถเลือกเล่นน้าํ
ไดห้ ลายจุดเที่ยวไดท้ ุกฤดูกาล เพราะมีน้ําตลอดท้งั ปี มีทางเดินข้ึนไปจุดชมวิวน้ําตกช้ันบนสุด
ระยะทางประมาณ 300 เมตร ร่มรื่นไปดว้ ยตน้ ไมป้ ่ านานาชนิด ทางเดินสะดวก อากาศเยน็ สบาย
ด้านหน้าบริเวณท่ีจอดรถมีร้านค้าบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม เปิ ดให้เข้าชมทุกวันไม่เว้น
วนั หยุดราชการ ช่วงเวลาท่ีเหมาะท่ีสุดในการมาเท่ียวน้ําตกนางรองคือช่วงปลายฝนตน้ หนาว
ท่านจะสามารถสัมผสั กบั สายหมอกและน้าํ ตกที่สวยงาม อตั ราค่าผ่านประตู รถยนต์ พร้อมคนขบั
50 บาท ผูใ้ หญ่ 10 บาท เด็กที่สูงไม่เกิน 120 ซม. เขา้ ฟรี สอบถามเพ่ิมเติมได้ที่ องค์การบริหาร
ส่วนจงั หวดั นครนายก โทร. 037-385310, 037-307100 037-312284

จุมภฏ-พนั ธุท์ ิพย์ อุทยาน หรือท่ีรู้จกั กนั ในชื่อ "วงั ตะไคร้" เป็นหน่ึงในสถานท่ีท่องเท่ียวข้ึน
ช่ือระดบั ตน้ ๆของจงั หวดั นครนายก จงั หวดั ท่ีไดช้ ื่อวา่ เป็น "เมืองในฝันใกลก้ รุง" ต้งั อยบู่ นถนนสาย
นครนายก-นางรอง ตาํ บลสาริกา อาํ เภอเมือง เพียง 120 กิโลเมตรจากกรุงเทพฯ วงั ตะไคร้แวดลอ้ ม
ไปดว้ ยตน้ ไมใ้ หญ่และพรรณไมน้ านาชนิด รวมถึงสวนไมด้ อกไมป้ ระดบั อีกท้งั ยงั โอบลอ้ มดว้ ย
ภูเขา มีธารน้ํา 2 สาย ซ่ึงมีต้นน้ํามาจากน้ําตกแม่ปล้องและน้ําตกเหวกฐินไหลมาบรรจบกัน
ณ ที่แห่งน้ีจึงเหมาะแก่การท่องเท่ียวพกั ผ่อน ดื่มด่าํ ธรรมชาติและอากาศอนั บริสุทธ์ิ สนุกกบั การ
เล่นน้าํ ลอ่ งแก่งและกิจกรรมผจญภยั ต่างๆเพือ่ เติมพลงั กายและพลงั ใจใหพ้ ร้อมกลบั ไปรับมือกบั การ
ทาํ งานในสัปดาห์ใหม่ วงั ตะไคร้เปิ ดให้บริการทุกวนั ต้งั แต่ 08.00-18.00 น. อตั ราค่าผ่านประตูรถ
ทุกประเภทคนั ละ 150 บาท (ผโู้ ดยสารไม่เกิน 8 ท่าน) เกิน 8 ท่าน เพ่มิ ท่านละ 10 บาท นอกจากน้ีวงั
ตะไคร้ยงั มีรีสอร์ทภายใตแ้ นวคิดรักษธ์ รรมชาติใหบ้ ริการแก่ท่าน

อุทยานพระพิฆเนศ จ.นครนายกเป็นที่ประดิษฐานเทวรูปพระพิฆเนศวรขนาดใหญ่ ภายใน
อทุ ยานพระพิฆเนศ มีพระพิฆเนศองคใ์ หญ่ 2 ปางต้งั อยใู่ กลก้ นั ถือเป็นสถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิอีกแห่งหน่ึง

33

ของเมืองไทยท่ีเกิดข้ึนมาดว้ ยพลงั ศรัทธาจากประชาชน อุทยานพระพิฆเนศ เกิดจากแนวคิดของ
พระราชพิพฒั น์โกศลหรือหลวงพ่อเณร เจา้ อาวาสวดั ศรีสุดารามวรวิหารบางขุนนนท์กรุงเทพฯ
โดยท่าน ไดร้ ับการถวายท่ีดินจาํ นวน 16 ไร่จากลูกศิษยห์ ลวงพ่อภู อดีตเจา้ อาวาสวดั เวฬุราชินยา่ น
บางย่ีเรือกรุงเทพฯ ซ่ึงเป็ นท่ีดินล้อมรอบด้วยคลองธรรมชาติ เดิมท่ีน้ันท่านต้ังใจจะสร้างเป็ น
บ้านพักคนชรา แต่ต้องพกั โครงการไปจนที่ดินถูกทิ้งร้างมาเป็ นเวลานาน จนกระท่ังท่านเกิด
แนวความคิดสร้างศูนยป์ ฏิบตั ิธรรม อุทยานพระพิฆเนศเป็ นแหล่งท่องเท่ียวทางวฒั นธรรมของ
จงั หวดั นครนายกนอกจากมีพระพิฆเนศองคใ์ หญ่ที่สุด ยงั มีพิพิธภณั ฑพ์ ระพิฆเนศ 108 ปางให้ชม
และสักการะบูชา รูปป้ันฤาษีลิงดาํ ปางต่างๆ นอกจากน้นั ยงั มีพระบรมสารีริกธาตุจาก 9 ประเทศให้
เราไดบ้ ูชาเพื่อเป็ นสิริมงคลอีกดว้ ย เป็ นแหล่งศึกษาหาความรู้นอกจากน้ันยงั เป็ นสถานที่สําหรับ
ปฏิบตั ิธรรม เพื่อทาํ นุบาํ รุงศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรืองสืบไป

การล่องแก่งจะช่วงเวลาท่ีเหมาะสมคือเร่ิมประมาณเดือนมิถุนายน-ตุลาคม โดยเริ่มตน้ จาก
บริเวณ เชิงสะพานวงั ตะไคร้ คลองนางรอง บริเวณบ้านป่ าหมากเร่ือยมาตามลาํ น้ํานครนายก
ผ่านเกาะแก่งต่าง ๆ (แก่งท่ีน้าํ เชี่ยวท่ีสุดคือ แก่งสามช้นั ) มีจุดนาํ เรือข้ึนฝ่ังและออกมายงั ถนนใหญ่
ไดห้ ลายจุด เช่น ที่บา้ นดง แก่งสามช้ัน วงั กุตภา และวงั ยาว ระยะทางในการล่องแก่งแต่ละช่วง
ประมาณ 2-5 กม. การล่องแก่งเป็ นการท่องเที่ยวผสมผสานไปกบั การกีฬาทางน้ําที่สนุกตื่นเตน้
ท้าทายเป็ นการพกั ผ่อนและการออกกาํ ลงั กาย ซ่ึงได้ใกลช้ ิดกับธรรมชาติโดยการพายเรือแคนู
(เรือแคนู คือ เรือท่ีมีหัวทา้ ยเพรียว มีหลายประเภท แต่ประเภทที่เหมาะกบั สายน้าํ ท่ีไหลเช่ียว คือ
เรือคายคั )

จกั รยานเสือภูเขาเป็นกิจกรรมท่ีสามารถทาํ ไดท้ ้งั ปี การขี่จกั รยานควรเร่ิมต้งั แต่เชา้ มืดเพราะ
การข่ีแต่ละเส้นทางใช้เวลาอย่างน้อย 2 ช่ัวโมงข้ึนไป นอกจากแดดไม่ร้อนแล้วยงั ได้ด่ืมด่าํ กับ
ธรรมชาติสวยๆ ยามเชา้ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สาํ นกั งานภาคกลางเขต 8 จดั
เส้นทางไวท้ ้งั หมด 4 เส้นทางไดแ้ ก่ เส้นทางท่ี 1 วงั ตะไคร้-วงั ยาว ระยะทางประมาณ 22 กม. เร่ิมตน้
ที่บริเวณเชิงสะพานวงั ตะไคร้มองเห็นวิวทิวทศั น์และผ่านที่ต้งั แคม้ ป์ เส้นทางที่ 2 เขาชะโงก-เขา
ทุเรียน ระยะทางประมาณ 24 กม. เร่ิมตน้ ท่ีจกั รดาวรีสอร์ทและมองเห็นวิวทิวทศั น์ของ โรงเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกลา้ เทือกเขาและอ่างเก็บน้าํ เส้นทางท่ี 3 วดั พราหมณี-เขามดดาํ ระยะทาง 31
กม. เร่ิมตน้ ท่ีบริเวณวดั พราหมณีมองเห็นวิว ทิวทศั น์ของเทือกเขาและสวนนก เส้นทางท่ี 4 วดั คีรี

34

วนั -วดั เนินหอม ระยะทาง 55 กม. เริ่มต้นท่ีวดั คีรีวนั ผ่านอ่างเก็บน้ําคลองสีเสียด วดั เขาพระ
ธรรมขนั ธ์ไปถึงแยกเนินหอมจงั หวดั ปราจีนบุรี ทิวทัศน์เป็ นทุ่งนา บ้านพกั อาศยั และเทือกเขา
เส้นทางน้ีป่ันไดใ้ นเวลาเยน็ อีกดว้ ย

ท่องไพรเขาใหญ่-นครนายก จดั ในช่วงเดือนธันวาคม-มิถุนายน ของทุกปี (กิจกรรมน้ีงด
ในช่วงฤดูฝน) โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจงั หวดั เพ่ือศึกษาธรรมชาติ
และระบบนิเวศวิทยา เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจตลอดจนใหน้ กั ท่องเที่ยวเห็นความสาํ คญั ใน
การอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม อีกท้งั ยงั เพิ่มพูนรายไดใ้ ห้แก่ประชาชนในทอ้ งถิ่น
ดว้ ย เส้นทางศึกษาธรรมชาติในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีจาํ นวน 4 เส้นทางไดแ้ ก่ เส้นทางที่ 1
น้าํ ตกนางรอง –น้าํ ตกตาดตาโม่ง–น้าํ ตกตาดตาคง–น้าํ ตกตาดตาภู่–ท่ีทาํ การอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ระยะทาง 25 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 3 วนั 2 คืน เส้นทางท่ี 2 อุทยานวงั ตะไคร้–น้าํ ตกแม่ปลอ้ ง ระยะทาง
10 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 2 วนั 1 คืน เส้นทางที่ 3 เดินลดั เลาะตามลาํ คลองนางรอง–น้าํ ตกไทรยองหิน–
ถ้าํ คา้ งคาว–คลองร่วม–เขาทะโมน ระยะทาง 14 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 2 วนั 1 คืนเส้นทางที่ 4 ลาํ คลอง
นางรอง–กลุ่มน้ําตกไทรยองหิน–ถ้ําค้างคาว–น้ําตกเหวมหศักด์ิ – เดินทางกลับเส้นทางเดิม
ระยะทาง 2 กิโลเมตร ใชเ้ วลา 1 วนั

บรรณานุกรม

“จงั หวดั นครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/, 2563. [สืบคน้
เมือ่ 26 สงิ หาคม 2564].
“จังหวัดนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://nut2nutyou.wordpress.com/, 2557.
[สบื ค้นเม่ือ 26 สิงหาคม 2564].

“ขนบธรรมเนยี มวฒั นธรรมประเพณีจังหวัดนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก
https://www.stou.ac.th/, 2553. [สบื คน้ เมือ่ 26 สงิ หาคม 2564]

ไปด้วยกัน.com. “นครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.paiduaykan.com/,
ม.ป.ป. [สบื คน้ เมอ่ื 26 สิงหาคม 2564].

“เขื่อนขุนดา่ นปราการชล,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.egat.co.th/, ม.ป.ป. [สืบคน้
เมอื่ 26 สงิ หาคม 2564].
“น้ำตกสาริกา,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://park.dnp.go.th, 2259. [สืบคน้ เมอื่ 26
สงิ หาคม 2564].

“นำ้ ตกนางรอง,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.painaidii.com, 2555. [สืบคน้ เมื่อ 26
สิงหาคม 2564].
“อุทยานวังตะไคร,้ ” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก: http://www. wangtakrai/news/news.html,
2555. [สืบคน้ เม่ือ 26 สิงหาคม 2564].

“อุทยานพระพฆิ เนศ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก:
https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/4873, ม.ป.ป.
[สืบคน้ เม่อื 26 สงิ หาคม 2564].

เทย่ี วทัว่ ไทยสบายใจทกุ ที.่ “กิจกรรมแนะนำนครนายก,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก
https://ton51238.wordpress.com/, ม.ป.ป. [สืบคน้ เมือ่ 26 สิงหาคม 2564].
“ล่องแกง่ ,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก: https://ton51238.wordpress.com/, ม.ป.ป. [สืบค้น
เมือ่ 26 สงิ หาคม 2564].

“ไปลอ่ งแกง่ นครนายก,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://travel.kapook.com/, ม.ป.ป.

[สืบคน้ เมอ่ื 26 สิงหาคม 2564].

“จักรยานเสือภูเขา,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://ton51238.wordpress.com/, ม.ป.ป.
[สืบค้นเมอ่ื 26 สิงหาคม 2564].
“ทอ่ งเขาไพร-นครนายก,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก: https://www.touronthai .com/, ม.ป.ป.

[สืบคน้ เมอ่ื 26 สิงหาคม 2564].

“เดนิ ป่าท่องไพรเขาใหญ่ ทจ่ี งั หวดั นครนายก,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก
http://www.tournakhonnayok.com/, 2560. [สบื ค้นเมื่อ 26 สิงหาคม 2564].
“จงั หวัดนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
http://www.nakhonnayok.go.th/home/category.php?id=1, 2563. [สืบค้นเมอ่ื 26 สิงหาคม
2564].
“เขื่อนขนุ ดา่ นปราการชล,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/, 2562.
[สบื คน้ เมื่อ 26 สิงหาคม 2564].
“เขอื่ นขนุ ด่านปราการชล,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.khundan.com/org/, ม.ป.ป.
[สบื คน้ เมื่อ 26 สงิ หาคม 2564].
“เข่อื นขุนดา่ นปราการชล,” [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก:
https://www.paiduaykan.com/province/central/nakhonnayok/khundandam.html,
ม.ป.ป. [สบื คน้ เม่อื 26 สิงหาคม 2564].
“เขอ่ื นขุนดา่ นปราการชล,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก:
https://travel.trueid.net/detail/qNYE1rpg9mX, 2563. [สบื ค้นเม่อื 26 สงิ หาคม 2564].
“จังหวดั นครนายก,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/, 2563. [สืบคน้
เมอื่ 26 สงิ หาคม 2564].
“นำ้ ตกสารกิ า,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: https://travel.trueid.net/detail/DWQPqGJn9kx,
2564. [สืบคน้ เม่อื 26 สิงหาคม 2564].
“นำ้ ตกสารกิ า,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: https://travel.kapook.com/view8739.html,
ม.ป.ป. [สบื คน้ เม่ือ 26 สิงหาคม 2564].
“นำ้ ตกสารกิ า,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก: http://www.amazingthaitour.com/, 2553. [สืบค้น
เมือ่ 26 สิงหาคม 2564].
“นำ้ ตกนางรอง,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.chillpainai.com/travel/489/, ม.ป.ป.
[สบื ค้นเม่อื 26 สงิ หาคม 2564].

“น้ำตกนางรอง,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก: https://www.touronthai.com/article/1721,
2559. [สืบคน้ เมอื่ 26 สงิ หาคม 2564].
“อทุ ยานวังตะไคร้,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://wangtakrai.com/home/home.html,
ม.ป.ป. [สืบคน้ เมอ่ื 26 สงิ หาคม 2564].
“อทุ ยานวงั ตะไคร้,” [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก:
https://www.paiduaykan.com/province/central/nakhonnayok/wangtakrai.html, ม.ป.ป.
[สบื คน้ เมอ่ื 26 สงิ หาคม 2564].
“อทุ ยานพระพิฆเนศ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
https://www.paiduaykan.com/province/central/nakhonnayok/prapiganesh.html,
ม.ป.ป. [สืบคน้ เม่อื 26 สงิ หาคม 2564].
“อุทยานพระพิฆเนศ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก:
https://travel.trueid.net/detail/9mPRljJBeaL, 2563. [สืบค้นเมื่อ 26 สงิ หาคม 2564].
“อทุ ยานพระพิฆเนศ,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:
http://www.painaidii.com/business/135976/prapiganesh-national-park-26000/lang/th/,
ม.ป.ป. [สืบคน้ เมือ่ 26 สงิ หาคม 2564].
“กจิ กรรมแนะนำนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.wongnai.com/trips/1-
day-trip-nakhon-nayok, 2562. [สบื คน้ เมอื่ 26 สงิ หาคม 2564].
“กจิ กรรมแนะนำนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.thai-tour.com/thai-
tour/central/nakornnayok/data/special_act.htm, ม.ป.ป. [สบื คน้ เมอ่ื 26 สิงหาคม 2564].
“กิจกรรมแนะนำนครนายก,” [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก:
https://food.trueid.net/detail/nz1Rlgl1Ln3Z, 2564. [สบื คน้ เมอ่ื 26 สงิ หาคม 2564].


Click to View FlipBook Version