The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานหัวข้อเรื่อง มาตรฐานการศึกษาของชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by มานิตย์ ดาวประจํา, 2023-08-06 23:14:03

รายงานหัวข้อเรื่อง มาตรฐานการศึกษาของชาติ

รายงานหัวข้อเรื่อง มาตรฐานการศึกษาของชาติ

ก รายงาน เรื่อง มาตรฐานการศึกษาของชาติ (พุทธศักราช 2561) เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาโรช สอาดเอี่ยม จัดท าโดย นางสาวจันทร์จิรา อุมาไพร 65741605 นางสาวสุธีวรรณ สกุณาเสรี 65741608 นายมานิตย์ ดาวประจ า 65741619 นางสาวกัญญารัตน์ ชัยเลิศ 65741628 นางสาวชลลดา ศรัณย์นภัส 65741630 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การประกันคุณภาพการศึกษา รหัส (ED 5701) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หมู่เรียน 06 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่


ก ค าน า รายงานฉบับนี้จัดท าขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ประจ าปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยมี จุดประสงค์เพื่อศึกษามาตรฐานการศึกษาของชาติ รายงานฉบับนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของ มาตรฐานการศึกษาของชาติ เป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาของชาติ กรอบผลลัพธ์ที่พึง ประสงค์ของการศึกษา รวมไปถึงแนวทางการน ามาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติ คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ และศึกษา มาตรฐานของชาติเป็นอย่างดี คณะผู้จัดท า


ข สารบัญ หน้า มาตรฐานการศึกษาของชาติ” หมายถึง 4 หลักการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ 4 เป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาของชาติ 4 ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา 5 มีคุณลักษณะ ๓ ด้าน 1. ผู้เรียนรู้ 6 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 7 3. พลเมืองที่เข็มแข็ง 8 กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา( คุณลักษณะของคนไทย 4.0) ในแต่ระดับการศึกษา 9 ค าอธิบายความหมาย 10 คุณธรรม ความรู้ทักษะที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียน 10 แนวทางการน ามาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของหน่วยงานระดับนโยบาย 11 แนวทางการน ามาตรฐานสู่การปฏิบัติระดับสถานศึกษา 11 แนวทางการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา 12 ภาคผนวก 14 เอกสารอ้างอิง 15


3 มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2561


4 มาตรฐานการศึกษาของชาติ “มาตรฐานการศึกษาของชาติ” หมายถึง ข้อก ำหนดเกี่ยวกับ คุณลักษณะ คุณภำพ ที่พึงประสงค์ของคนไทย เพื่อให้สถำนศึกษำ ทุกแห่งยึดเป็นกรอบส ำหรับสร้ำงคนไทย ๔.๐ ที่แม้แตกต่ำง ตำมบริบทของท้องถิ่นและของสถำนศึกษำ แต่มี จุดหมำยร่วมคือ “ธ ำรงควำมเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก” สำมำรถเป็นก ำลังส ำคัญในกำรพัฒนำประเทศทั้ง ในมิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติกำรเมือง ต่อไปได้ หลักการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ ซึ่งก ำหนดผ่ำนกรอบ (framework) ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำนี้ จัดท ำ ขึ้นให้สอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ พระรำชบัญญัติกำรศึกษำ แห่งชำติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ ยุทธศำสตร์ชำติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แผนกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ กฎหมำย ยุทธศำสตร์และ แผนงำนทั้งหลำยเหล่ำนี้ ต่ำงมีอุดมกำรณ์เพื่อมุ่งพัฒนำผู้เรียนให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่ำงกำย จิตใจ สติปัญญำ  เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชำติสำมำรถเชี่ยวชำญได้ตำมควำมถนัดของตน มีควำมรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชำติเป็นพลเมืองดีมีคุณภำพ 1 มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ พ.ศ. ๒๕๖๑ และควำมสำมำรถสูง พัฒนำตนอย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิตตำมหลัก ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งยังคำดหวังให้ คนไทยทั้งปวง ได้รับโอกำสเท่ำเทียมกันทำงกำรศึกษำ สำมำรถเป็นผู้ร่วมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม เพื่อเป้ำหมำยของ กำรพัฒนำประเทศสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เป้าหมายของมาตรฐานการศึกษาของชาติ มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ มีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้สถำนศึกษำ ทุกแห่ง ยึดเป็นแนวทำงส ำหรับกำรพัฒนำ ผู้เรียนไปสู่ผลลัพธ์ที่ พึงประสงค์ของกำรศึกษำ และให้หน่วยงำนต้นสังกัดใช้เป็นเป้ำหมำย ในกำรจัดกำรศึกษำ โดยกำรก ำหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียนที่เหมำะสมตำมช่วงวัยในแต่ละระดับและประเภทกำรศึกษำ และ ใช้เป็นเป้ำหมำยในกำรสนับสนุนสถำนศึกษำให้สำมำรถด ำเนินกำร ต่ำงๆ ได้อย่ำงสะดวกเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ ดังกล่ำว นอกจำกนี้ ยังมีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้ทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรจัดกำรศึกษำ ใช้เป็น แนวทำงในกำร ส่งเสริม กำรก ำกับดูแล กำรตรวจสอบ กำรประเมินผล และกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ เพื่อให้เป็นไปตำม หลักกำรในกำรจัดกำรศึกษำ ส ำนักงำน เลขำธิกำรสภำกำรศึกษำจึงได้จัดท ำ มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ในรูปของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำ   เพื่อให้สถำนศึกษำและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรจัดกำรศึกษำใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดกำรศึกษำและ จัดท ำ มำตรฐำนกำรศึกษำขั้นต่ ำ ที่จ ำเป็นของแต่ละระดับและประเภทกำรศึกษำ  เพื่อให้เกิด คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ขึ้นกับผู้เรียนทั้งในระหว่ำงที่ก ำ ลังศึกษำ และเพื่อวำงรำกฐำนให้ผู้เรียนในระหว่ำงที่ก ำลังศึกษำเพื่อให้เกิด คุณลักษณะที่พึงประสงค์หลังจำกส ำเร็จกำรศึกษำ ซึ่งถือเป็น “คุณลักษณะของคนไทย ๔.๐” ที่สำมำรถสร้ำง ควำมมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้กับประเทศ เป้ำหมำยส ำคัญของมำตรฐำนกำรศึกษำของชำติในรูป ของผลลัพธ์


5 ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำคือ กำรให้อิสระสถำนศึกษำ ในกำรจัดกำรศึกษำให้สอดคล้องกับบริบทของสถำนศึกษำ และตำม ควำมถนัดของผู้เรียน ที่สอดรับกับกฎกระทรวงกำรประกันคุณภำพ กำรศึกษำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งก ำหนดว่ำ สถำนศึกษำเป็นผู้จัดให้มีระบบ กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ (กำรประเมินตนเอง) โดยกำร ก ำหนดมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำให้เป็นไปตำม มำตรฐำนกำรศึกษำของแต่ละระดับและประเภท กำรศึกษำ พร้อมทั้ง จัดท ำ แผนพัฒนำสถำนศึกษำเพื่อน ำ ไปสู่กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตำมบริบท ระดับและ ประเภทกำรศึกษำของสถำนศึกษำ และให้ส ำนักงำน รับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำร มหำชน) ท ำหน้ำที่ประเมินคุณภำพภำยนอกตำมรำยงำนผลกำรประเมินตนเองของ สถำนศึกษำและประเด็นอื่น ๆ ผ่ำนหน่วยงำนต้นสังกัด โดยมุ่งหมำย ให้เป็นกำรประเมินเพื่อพัฒนำ มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คุณธรรม ทักษะ และความรู้ที่จ าเป็นบน ฐานค่านิยมร่วม สู่กรอบผลลัพธ์ ที่พึงประสงค์ของการศึกษา กำรจัดกำรศึกษำของชำติจะต้องท ำ ให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผู้เรียน อันเป็นผล ที่เกิดจำกกำรจัดกำรศึกษำ ตั้งแต่ระดับกำรศึกษำปฐมวัย กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน กำรอำชีวศึกษำ จนถึง กำรอุดมศึกษำ ทั้งนี้สถำนศึกษำมีอิสระในกำรก ำหนดแนวคิด ปรัชญำ และวิสัยทัศน์ของกำรจัดกำรศึกษำ ให้เป็นอัตลักษณ์และสอดคล้องกับบริบท ของสถำนศึกษำและตำมควำมถนัดของผู้เรียน หน่วยงำนต้นสังกัดและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง  ต้องมีกำรสนับสนุน ก ำกับ ติดตำม ประเมินและพัฒนำ คุณภำพของกำรจัดกำรศึกษำ โดยมุ่งเน้นควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) มีระบบกำรบริหำร จัดกำรทั้งด้ำนผู้บริหำร ครูคณำจำรย์และบุคลำกร  หลักสูตรกำรเรียน กำรสอน สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัลทรัพยำกร สิ่งสนับสนุนกำรศึกษำ และกำรประเมิน ตลอดจนระบบและกลไกกำรพัฒนำคุณภำพอย่ำง ต่อเนื่องที่ท ำ ให้เกิด ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ที่เหมำะสมตำมแต่ละระดับ และประเภทกำรศึกษำ และผลลัพธ์สะสมที่ครอบคลุมระดับและ ประเภท กำรศึกษำที่ต่อเนื่องกัน นอกจำกนี้สถำบันผลิตและพัฒนำครูในฐำนะ กลไกส ำคัญในกำรพัฒนำครูให้มี คุณภำพ จะต้องมีบทบำทในกำรเตรียม ควำมพร้อมครูก่อนประจ ำกำร และส่งเสริมกำรพัฒนำครูประจ ำกำร ให้มี สมรรถนะทำงวิชำชีพที่สอดคล้องกับกำรจัดกำรเรียนรู้ยุคใหม่ เพื่อผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำ


6 ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand) หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย ๔.๐ ที่ตอบสนองวิสัยทัศน์กำรพัฒนำประเทศสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยคนไทย ๔.๐ จะต้อง ธ ารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก นั่นคือเป็นคนดี มีคุณธรรม ยึดค่ำนิยมร่วมของสังคมเป็นฐำนในกำรพัฒนำตน ให้เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะ ๓ ด้ำน โดยเป็นคุณลักษณะขั้นต่ ำ ดังต่อไปนี้


7


8 โดยผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ๓ ด้ำน ที่เหมำะสมตำมช่วงวัย ที่มีควำมต่อเนื่อง เชื่อมโยงและสะสมตั้งแต่ระดับ กำรศึกษำปฐมวัย กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกำรอำชีวศึกษำ จนถึงระดับอุดมศึกษำ แสดงไว้ในแผนภำพที่ ๑ ทั้งนี้ กำรน ำกรอบผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์ของกำรศึกษำไปสู่กำรปฏิบัติ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ จะเป็นหน่วยประสำนงำนในกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนต้นสังกัดและหน่วยงำนที่เกี่ยวช้อง ในกำรแปลงกรอบ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำ สู่กำรจัดท ำก ำกับ ติดตำม และประเมินมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นต่ ำที่จ ำเป็น ส ำหรับแต่ละระดับและประเภทกำรศึกษำ เพื่อให้เกิดกำรเชื่อมต่อของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของแต่ละระดับและ ประเภทกำรศึกษำ กระบวนกำรด ำเนินงำนดังกล่ำว ควรใช้กำรท ำงำนแบบมีส่วนร่วมจำกทุกภำคส่วนและใช้ กำรวิจัยเป็นฐำน


9 หมายเหตุ: หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละแห่งอาจมีปรับเปลี่ยนผลลัพธ์ของการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาให้เหมาสมตามช่วงวัยและระดับกรศึกษาของผู้เรียน แต่ต้องต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน และในทางปฏิบัติ หน่วยงานควรจัดท าตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงปัจจัยป้อน กระบวนการ วิธีการ หรือมาตรการที่เป็นรูปธรรมตามบริบทของระดับชั้น สถานศึกษา หรือข้อมูลสารสนเทศอื่นที่แสดงถึง ผลส าเร็จของการด าเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ตารางที่ ๑ ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ซึ่งมีการสะสมและต่อเนื่องเชื่อมโยงทุกระดับและประเภทการศึกษา


10 ค าอธิบายความหมาย ค่านิยมร่วมของสังคม ๑. ความเพียรอันบริสุทธิ์ผู้เรียนมีควำมอดทน มุ่งมั่น ท ำสิ่งใด ๆ ให้เกิดผลส ำเร็จอย่ำงไม่ย่อท้อต่อควำม ล ำบำก เพื่อให้เกิด ประโยชน์แก่ตนเอง ส่วนรวม ชุมชน สังคม และประเทศชำติ ๒. ความพอเพียง ผู้เรียนมีควำมสมดุลรอบด้ำนทั้งควำมรู้คุณธรรม และทักษะที่เกี่ยวข้อง โดยค ำนึงถึงควำม สมดุลทั้งประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน และสังคม ๓. วิถีประชาธิปไตย ผู้เรียนยึดมั่นในกำรมีส่วนร่วม กำรเคำรพ กติกำ สิทธิหน้ำที่ ควำมรับผิดชอบ กำรรับฟัง ควำมคิดเห็นที่แตกต่ำง และสำมำรถอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่ำงมีควำมสุข ๔. ความเท่าเทียมเสมอภาค ผู้เรียนเคำรพควำมแตกต่ำง และให้ควำมส ำคัญแก่ผู้อื่น โดยปรำศจำกอคติ แม้มี สถำนภำพแตกต่ำงกัน ทำงเศรษฐกิจ สังคม เชื้อชำติ ถิ่นที่อยู่ วัฒนธรรมและควำมสำมำรถ คุณธรรม ความรู้ทักษะที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียน ๑. คุณธรรม คือ ลักษณะนิสัยที่ดี และคุณลักษณะที่ดีด้ำนคุณธรรมพื้นฐำน กำรรู้ถูกผิด ควำมดีงำม จริยธรรม จรรยำบรรณ ในกำรเป็นสมำชิกของสังคม เช่น ควำมมีวินัย ควำมรับผิดชอบ ควำม ขยันหมั่นเพียร ควำมซื่อสัตย์ เป็นต้น ๒. ทักษะการเรียนรู้และชีวิต คือ ทักษะที่จ ำ เป็นส ำ หรับ กำรเรียนรู้เพื่อโลกดิจิทัลและโลกในอนำคต เช่น กำรรู้วิธีเรียน ทักษะ กำรเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะชีวิตและทักษะกำรจัดกำร ควำมสำมำรถ ในกำรปรับตัว ยืดหยุ่น พร้อมเผชิญควำมเปลี่ยนแปลง ๓. ความรู้และความรอบรู้ คือ ชุดควำมรู้ที่จ ำ เป็นส ำ หรับ กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่องเพื่อให้ตนเองรู้เท่ำทัน กำรเปลี่ยนแปลงได้ได้แก่ ๑) ควำมรู้พื้นฐำน (ภำษำ กำรค ำนวณ กำรใช้เหตุผล) และควำมรู้ตำมหลักสูตร ๒) กำรรู้จักตนเอง ๓) ควำมรู้เรื่องภูมิปัญญำไทย ท้องถิ่น ชุมชน สภำพภูมิสังคม ประเทศชำติประชำคมโลก ๔) ควำมรอบรู้ด้ำนต่ำง  ๆ ได้แก่ ควำมรอบรู้ด้ำนสุขภำพ กำรเงิน สำรสนเทศ ๕) ควำมรู้เรื่องกำรงำนอำชีพ ๔. ทักษะทางปัญญา คือ ทักษะที่จ ำ เป็นในกำรสร้ำง นวัตกรรมทำงเทคโนโลยีหรือทำงสังคม เช่น ภูมิปัญญำไทยและ ศำสตร์พระรำชำ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะกำรคิดสร้ำงสรรค์ ทักษะ พหุปัญญำ ทักษะข้ำมวัฒนธรรม ควำมสำมำรถในกำรบูรณำกำร ข้ำมศำสตร์ สร้ำงสรรค์นวัตกรรม และมีคุณลักษณะ ของควำมเป็น ผู้ประกอบกำรที่เท่ำทันกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกยุคดิจิทัล


11 แนวทางการน ามาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของหน่วยงานระดับนโยบาย กำรน ำมำตรฐำนสู่กำรปฏิบัติยึดหลักกำรส ำคัญ คือ กำรจัดกำรศึกษำให้เหมำะสมกับสภำพบริบทของ ผู้เรียน พื้นที่ ชุมชน และสังคม รวมทั้งให้อิสระกับสถำนศึกษำในฐำนะหน่วยปฏิบัติในกำรก ำหนดอัตลักษณ์ และ ทิศทำงกำรจัดกำรศึกษำที่ตอบสนองควำมต้องกำรของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น และยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศ ภำยใต้กำรสนับสนุนของรัฐในกำรจัดกำรศึกษำที่มีคุณภำพ โดยยึดหลักควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียม เพื่อให้ ทุกคนมีโอกำสเข้ำถึงกำรศึกษำที่มีคุณภำพอย่ำงทั่วถึงและเท่ำเทียม เปิดโอกำสให้ทุกคนและทุกภำคส่วนมีส่วนร่วม ในกำรจัดกำรศึกษำ มีควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรมีแนวทำงปฏิบัติในกำรจัด กำรศึกษำให้สอดประสำนกันโดยควรมีกำรด ำเนินงำนดังต่อไปนี้ ๑. ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำเป็นหน่วยประสำนงำนระหว่ำงหน่วยงำนต้นสังกัดแต่ละแห่ง และ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรน ำกรอบผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์ของกำรศึกษำระดับชำติ และผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ แต่ละระดับและประเภทกำรศึกษำ เป็นกรอบในกำรจัดท ำมำตรฐำนกำรศึกษำเพื่อให้สถำนศึกษำยึดเป็นเป้ำหมำย กำรจัดกำรศึกษำ 2. หน่วยงำนต้นสังกัดส่งเสริมกำรจัดท ำมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ มำตรฐำนหลักสูตรเพื่อให้ สถำนศึกษำถือปฏิบัติ ๓. หน่วยงำนต้นสังกัดมีกำรก ำกับ ติดตำม ประเมินผล และพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำของ สถำนศึกษำให้มีคุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศึกษำหรือสูงกว่ำมำตรถำนกำรศึกษำชั้นต่ ำที่ก ำหนด 4. หน่วยงำนต้นสังกัดส่งเสริมให้สถำนศึกษำมีกำรปรับปรุงและพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำของตนเองอย่ำง เป็นระบบ อย่ำงต่อเนื่อง ตำมข้อเสนอแนะของหน่วยงำนต้นสังกัดหรือหน่วยงำนที่ก ำกับดูแล รวมทั้งข้อเสนอแนะ จำกส ำนักงำนรับรองมำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (องค์กำรมหำชน) เพื่อน ำไปสู่กำรพัฒนำคุณภำพ และมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ แนวทางการน ามาตรฐานสู่การปฏิบัติระดับสถานศึกษา ๑. สถำนศึกษำแต่ละระดับและประเภทกำรศึกษำสำมำรถจัดกำรศึกษำให้เหมำะสมตำมอัตลักษณ์ของ ตนเอง สอดคล้องกับสภำพบริบท และตอบสนองควำมต้องกำรของท้องถิ่น ชุมชนสังคม และยุทธศำสตร์กำร พัฒนำประเทศ ๒. สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำโดยยืดหลักกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน กำรมีเครือข่ำยควำมร่วมมือ กำรสร้ำงชุมชนกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ หรือองค์กรแห่งกำรเรียนรู้ 3. สถำนศึกษำมีกำรพัฒนำผู้บริหำร ครู คณำอำจำรย์ บุคลำกรทำงกำรศึกษำที่มีสมรรถนะทำงวิชำชีพใน กำรจัดกำรเรียนรู้ที่เหมำะสมกับโลกยุคดิจิทัลและโลกอนำคต ๔. สถำนศึกษำวำงระบบกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำด้ำนคุณภำพผู้บริหำรแสะครูอำจำรย์ควำม เหมำะสมของหลักสูตร กำรจัดกำรเรียนกำรสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยำกรกำรเรียนรู้และกำรประเมินกำรเรียนกำร สอน โดยมีกำรก ำกับ ติดตำม และประเมินผลเพื่อพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำให้เป็นไปตำมมำตรฐำนกำรศึกษำอย่ำง เป็นระบบและต่อเนื่อง มีธรรมำภิบำล และควำมรับผิดชอบ ตรวจสอบได้


12 แนวทางการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การประเมินระดับชั้นเรียน กำรประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่พึ่งประสงค์ของกำรศึกษำเป็นฐำนโดยค ำนึงถึงสภำพบริบทของสถำนศึกษำ ปัจจัย กระบวนกำรด ำเนินงำน และผลลัพธ์ของผู้เรียนที่ต้องประเมิน ใช้กำรประเมินควำมก้ำวหน้ำให้มีประสิทธิผล เน้นกำรประเมินเพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้มำกกว่ำกำรประเมิน เพื่อตัดสินผลหรือกำรแข่งขันหรือเปรียบเทียบกับผู้อื่น ส่งเสริมกำรประเมินที่เป็นเครื่องมือกำรเรียนรู้ของ ผู้เรียน มีควำมสมดุลระหว่ำงกำรประเมินที่อิงตนเอง เพื่อน ปกติวิสัย และมำตรฐำน มีกำรใช้กำรประเมินที่ปรับ ให้เหมำะกับศักยภำพของผู้เรียน และสอดคล้องกับกำรเรียนรู้ที่หลำกหลำย ใช้วิธีกำรประเมินที่บูรณำกำรกำรเรียนรู้กับเทคโนโลยีจำกงำนที่ก ำหนดให้ท ำ ตำมโลกแห่งควำมเป็นจริง และให้ข้อมูลป้อนกลับทันที ใช้แฟ้มประวัติของผู้เรียนที่แสดงผลกำรเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อออกแบบ ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้และกำรสื่อสำรกับพ่อแม่ ผู้เกี่ยวข้อง ครูจ ำเป็นต้องมีควำมรอบรู้ด้ำนกำรวัดผลและคลังเครื่องมือประเมินที่มีคุณภำพสูง (ถูกต้อง เชื่อถือได้ ยุติธรรม) การประเมินระดับโรงเรียน/เขตพื้นที่ กำรประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่ พึงประสงค์ของกำรศึกษำเป็นฐำนโตยค ำนึงถึงสภำพบริบทของสถำนศึกษำ ปัจจัย กระบวนกำรด ำเนินงำน และผลลัพธ์ของผู้เรียนที่ต้องประเมิน กำรประเมินเป็นส่วนหนึ่งของระบบก ำกับที่มีสำรสนเทศที่แสดงควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ มีควำมสมดุลระหว่ำงกำรประเมินควำมก้ำวหน้ำกับกำรประเมินที่มีเกณฑ์ที่เป็นหลักเทียบ เน้นกำรประเมินเพื่อกำรพัฒนำตนเอง มำกกว่ำกำรเน้นกำรแข่งชันหรือเปรียบเทียบกับผู้อื่น ใช้ข้อมูลขนำดใหญ่ (big data) จำกกำรประเมินในชั้นเรียนเพื่อกำรบริหำรงำนที่เหมำะสมกว่ำเดิม ผู้บริหำรจ ำเป็นต้องมีควำมรอบรู้ด้ำนกำรประเมิน การประเมินระดับชาติ กำรประเมินผลสรุปเป็นส่วนหนึ่งของระบบก ำกับที่มีสำรสนเทศเพื่อแสดงควำมรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ กระบวนกำรพัฒนำกำรประเมินต้องแกร่ง (เช่น คลังเครื่องมือประเมินที่พัฒนำมำอย่ำงดี มีข้อสอบที่ สำมำรถเทียบเคียงเท่ำเทียมกันได้ข้ำมปี) และมีกำรก ำหนดมำตรฐำนผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของกำรศึกษำ มีกำรประเมินระดับชำติโดยใช้เทคโนโลยีในกำรสอบ ข้อสอบหรือสิ่งที่วัดเหมำะสมกับโลกแห่งควำมเป็น จริง ใช้ข้อมูลขนำดใหญ่ (big data) จำกกำรทดสอบระดับชำติที่ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน สถำนศึกษำ เขตพื้นที่ และผู้ก ำหนดนโยบำย


13


14 ภาคผนวก นางสาวกัญญารัตน์ ชัยเลิศ 65741628 ประธาน (รูปเล่มรายงาน) นายมานิตย์ ดาวประจ า 65741619 รองประธาน (ตรวจสอบข้อมูล) นางสาวชลลดา ศรัณย์นภัส 65741630 กรรมการ (สื่อน าเสนอ Infographic) นางสาวจันทร์จิรา อุมาไพร 65741605 กรรมการ (สื่อน าเสนอ Powerpoint) นางสาวสุธีวรรณ สกุณาเสรี 65741608 เลขานุการ (สืบค้นข้อมูล )


15 เอกสารอ้างอิง 1. กลุ่มมำตรฐำนกำรศึกษำ. (2561). มำตรฐำนกำรศึกษำของชำติ พ.ศ. 2561. ส ำนักมำตรฐำนกำรศึกษำ และพัฒนำกำรเรียนรู้ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร. สืบค้นเมื่อ วันที่ 28 กรกฎำคม 2566 สืบค้นจำก https://shorturl.asia/HK3uZ.


Click to View FlipBook Version