The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรบ.สภาเด็กและเยาวชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by welfarektb.div, 2022-01-06 01:04:52

พรบ.สภาเด็กและเยาวชน

พรบ.สภาเด็กและเยาวชน

พระราชบญั ญัติ

ส่งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.​๒๕๕๐
เป็นปที ี่ ๖๒ ในรชั กาลปัจจบุ นั

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ
ใหป้ ระกาศว่า
โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายวา่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ และประสานงานเยาวชน
แหง่ ชาติ
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ้ ดยค�ำ แนะน�ำ และยนิ ยอม
ของสภานิติบญั ญัติแห่งชาติ ดังตอ่ ไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้เี รียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนมแาหตง่ รชาาต๒ิ ๑พ .ศ.​๒พ๕ระ๕ร๐า”ชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำ�หนดเก้าสิบวันนับแต่วัน
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ และประสานงานเยาวชนแหง่ ชาติ
พ.ศ. ๒๕๒๑
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ินี้
“เดก็ ” หมายความว่า บุคคลซงึ่ มอี ายุต�ำ่ กว่าสิบแปดปีบริบรู ณ์
“เยาวชน” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต้ังแต่สิบแปดปีบริบูรณ์ถึงยี่สิบห้าปี
บริบรู ณ์
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการสง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
แหง่ ชาติ
“คณะบริหาร”๒ หมายความว่า คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนตำ�บล
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ คณะบรหิ าร
เดก็ และเยาวชนเขต คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชน
กรุงเทพมหานคร และคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย

๑๒รมาาชตกรจิ าจา๔นเุ นบิยกษามาคเำล�ว่ม่า๑“๒ค๕ณ/ตะอบนรทิหี่ า๙รก”/หแนก้า้ไข๑เ/พ๑่ิม๔เตมิมกโรดายคพมร๒ะ๕รา๕ช๑บัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.​๒๕๖๐

๒ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

““ผส้อูำ�น�ำ นักงวายนก”า๓ร”ห๔ มหามยคายวคามวาวมา่ วกา่ รอมธกบิจิ ดกกีารรเมดก็กจิ แกลาะรเเยดา็กวแชลนะเยาวชน

“รฐั มนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรีผู้รกั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
มาตรา ๕ ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
รกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ินี้ และใหม้ อี �ำ นาจออกกฎกระทรวงและระเบยี บเพ่อื ปฏิบตั ิการ
ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
กฎกระทรวงและระเบยี บนน้ั เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้

หมวด ๑
บทท่วั ไป

มาตรา ๖ ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีหน้าที่
ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน รวมท้ังแก้ไขปัญหาที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อเด็ก
และเยาวชน โดยมีหลกั การ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) การพัฒนาเด็กและเยาวชน การบังคับใช้และการปฏิบัติตามบทบัญญัติใดๆ
แหง่ พระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื กฎหมายอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เดก็ และเยาวชน ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ
ของเดก็ และเยาวชนเปน็ อันดับแรก
(๒) เด็กและเยาวชนทุกคนมีสิทธิในการได้รับการศึกษา และได้รับการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานท่ีมีคุณภาพสงู สุดตามที่ก�ำ หนดไวใ้ นรัฐธรรมนูญ
(๓) เด็กพิการ เด็กที่มีข้อจำ�กัดทางการเรียนรู้ และเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ
มีสิทธิในการไดร้ ับการศึกษาที่รัฐจัดใหเ้ ป็นพิเศษท่ีเหมาะสมกับลักษณะเดก็ ประเภทนนั้ ๆ
(๔) เดก็ และเยาวชนมสี ทิ ธใิ นการรบั บรกิ ารทางการสาธารณสขุ ทไ่ี ดม้ าตรฐานสงู สดุ
เท่าที่มีการให้บรกิ ารทางด้านน้ี
(๕) เด็กและเยาวชนมีสิทธิในการเล่น มีเวลาพักผ่อน และเข้าร่วมกิจกรรม
การละเลน่ ทางนนั ทนาการทเี่ หมาะสมตามวยั ของเดก็ และเยาวชน และการมสี ว่ นรว่ มอยา่ งเสรี
ในทางวฒั นธรรมและศลิ ปะ
การดำ�เนนิ การตามวรรคหน่ึง ใหก้ ระท�ำ โดยมแี นวทาง ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ให้เด็กและเยาวชนมีความผูกพันต่อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย
มวี ิธีชีวิตแบบประชาธิปไตย
(๒) ให้สามารถดำ�เนินชีวิตได้อย่างปลอดภัย รู้จักเคารพสิทธิและเสรีภาพของ
ผูอ้ นื่ รวมท้ังกฎหมาย กฎเกณฑ์ และกตกิ าในสังคม

๓มาตรา ๔ นยิ ามค�ำ วา่ “ส�ำ นกั งาน” แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
แหง่ ชาติ (ฉบบั ๔ทมี่ ๒าต) รพา.ศ๔.​๒น๕ิย๖า๐มคำ�ว่า
“ผู้อำ�นวยการ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.​๒๕๖๐

พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓

(๓) ใหก้ ารสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ทางการศกึ ษา ทง้ั ภายในประเทศและ
ภายนอกปร(ะ๔เท) ศใหเพ้กาอ่ื รใสหนเ้ ดับ็กสแนลุนะแเยลาะวสช่งนเสทรุกิมคกนาสรศามึกาษราถเพเข่ือ้าพถึงัฒกนาารเศดกึ ็กษพาิกไดารอ้ ยเา่ดง็กเหทม่ีมาีขะ้อสจม�ำ กัด
ทางการเรียนรู้ และเด็กที่มคี วามสามารถพเิ ศษ ใหส้ ามารถพึ่งตนเองได้ ให้มคี ุณธรรม และมี
คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี สามารถประกอบอาชพี และด�ำ รงชีวิตไดอ้ ยา่ งเป็นอิสระ
(๕) ให้มีสุขภาพพลานามัยท่ีสมบูรณ์แข็งแรง รู้จักการป้องกันตนเองจากโรคภัย
แ ละสง่ิ เสพต(๖ิด) ใหม้ ีวฒุ ภิ าวะทางอารมณต์ ามสมควรแก่วัย รวมทั้งมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
(๗) ใหม้ ที กั ษะและเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การท�ำ งาน มศี กั ดศิ์ รแี ละภาคภมู ใิ จในการท�ำ งาน
ท่ีสจุ ริต
(๘) ใหร้ จู้ กั คดิ อย่างมีเหตุผลและมงุ่ ม่ันพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง
(๙) ให้รู้จักช่วยเหลือผู้อื่นโดยมีจิตสำ�นึกในการให้และการเป็นอาสาสมัคร
รวมทง้ั มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ
(๑๐) ใหม้ ีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ผอู้ ่ืน และต่อส่วนรวม ตามสมควรแก่วยั
(๑๑) ให้สามารถแสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้
ความสามารถท่ีพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็ก
และเยาวชน
(๑๒) ให้สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรมในเรื่องท่ีมีผลกระทบ
เตด่อ็กเแดล็กะแเลยะาวเยชานว๕ชนอย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือผ่านผู้แทนหรือองค์กรเพ่ือ
มาตรา ๗ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนทกุ คนมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การจดทะเบยี นรบั รองการเกดิ
การพฒั นา การยอมรบั การคมุ้ ครองและโอกาสในการมสี ว่ นรว่ มตามทบ่ี ญั ญตั ใิ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี
หรอื กฎหมายอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งอยา่ งเทา่ เทยี ม โดยไมม่ กี ารเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรมเพราะเหตุ
แหง่ ความแตกต่างในเรื่องถนิ่ ก�ำ เนดิ เช้อื ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรือ
สุขภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกจิ หรือสังคม ความเช่อื ทางศาสนาและวัฒนธรรม
การศึกษาอบรม ความคิดเห็นทางการเมือง การเกิดหรือสถานะอื่นของเด็กและเยาวชน
บดิ ามารดา หรือผปู้ กครอง
มาตรา ๘ ใหส้ �ำ นกั งานหรอื ส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
จังหวัดร่วมมือ ส่งเสริม และประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานอ่ืน
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพ่อื จดั ท�ำ แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถิ่นใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนพัฒนา
เดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ และใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จดั สรรงบประมาณเพอ่ื การพฒั นา
เดก็ และเยาวชนท่อี ยูใ่ นพนื้ ทีร่ ับผิดชอบ
ในการจัดทำ�แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนตามวรรคหนึ่ง ให้คำ�นึงถึงหลักการและ
แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและประชาสังคมในทอ้ งถ่นิ ดว้ ย

๕มาตรา ๖ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.​๒๕๖๐

๔ พระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

มาตรา ๙ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้หน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชนทีเ่ กย่ี วข้องให้ความร่วมมอื สง่ เสริม และสนบั สนนุ การด�ำ เนินงานของสภาเด็ก
และเยาวชนอ�ำ เภอ สภาเดก็ และเยาวชนจงั หวัด สภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร และ
สภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย

หมวด ๒
คณะกรรมการส่งเสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ

มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
ประกอบดว้ ย
(๑) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็น
ประธานกรรมการ
(๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็น
รองประธานกรรมการ คนทห่ี น่ึง
((๓๔))๖ รกฐัรมรนมตกราีวรา่โดกายรตกำ�รแะหทนร่งวงไศดกึ ้แษกา่ ธปกิ ลารัดกเปร็นะทรอรงวปงรกะลธาาโนหกมรรปมลกัดากรรคะนททร่สีวองกงาร

ทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ปลดั กระทรวงดจิ ทิ ลั
เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม ปลดั กระทรวงแรงงาน
ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้บัญชาการ
ตำ�รวจแห่งชาติ ปลัดกรุงเทพมหานคร ประธานสภาองค์การพัฒนาเด็กและเยาวชน และ
ประธานสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย
(๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังจากนักจิตวิทยา นักสังคม
สงเคราะห์ และบคุ คลทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ ความเชย่ี วชาญ และประสบการณด์ า้ นการพฒั นา
เ ด็กและเยาว(๖ช)น๗ เผปู้แ็นททน่ีปอรงะคจก์ ักรษป์ กซคงึ่ ตรอ้องงสเปว่ ็นนผทปู้้อฏงถิบิน่ ตั ซงิ ึง่าเนลใอื นกภกานั คเเอองกชจน�ำ นจว�ำนนสวานมไคมนเ่ กนิ หา้ คน
(๗) ผแู้ ทนเดก็ และเยาวชน ซง่ึ ไดร้ บั เลอื กจากสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย
จำ�นวนสองคนเป็นชายหนง่ึ คนและหญงิ หนงึ่ คน
ใหผ้ อู้ �ำ นวยการเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และใหผ้ อู้ �ำ นวยการแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการ
ของสำ�นักงานจำ�นวนไมเ่ กินสองคนเปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เป็นไปตามระเบียบที่
รัฐมนตรกี ำ�หนด

๖มาตรา ๑๐ (๔) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ๗. ม๒า๕ต๖ร๐า

(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.​๒๕๖๐ ๑๐ (๖) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ

พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕

มาตรา ๑๑ คณะกรรมการมอี ำ�นาจหน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เสนอนโยบายและแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ
พจิ ารณาอนมุ ัติ โดยต้องคำ�นึงถงึ พนั ธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศมอี ยดู่ ้วย
(๒) เสนอแนวทางปรบั ปรงุ กฎหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เก่ียวกบั การส่งเสรมิ
การพัฒนาเดก็ และเยาวชนต่อคณะรัฐมนตรี
(๓) ก�ำ หนดระเบียบและวธิ ีปฏิบัติเกีย่ วกับการชว่ ยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และ
พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้
การช่วยเหลือทางวิชาการ การวิจัยและพัฒนา เงินอุดหนุน สิ่งอำ�นวยความสะดวก หรือ
บรกิ ารต่างๆ อย่างท่ัวถงึ และเป็นธรรม
(๔) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดสมัชชาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
อยา่ งน้อยปลี ะครัง้ เพื่อวิเคราะห์สถานการณด์ า้ นเด็กและเยาวชน ทบทวนกลไกและกระบวน
การท�ำ งาน และพฒั นาองคค์ วามรู้ ทกั ษะ และทศั นคตใิ นการพฒั นาเดก็ และเยาวชนของประเทศ
(๕) จดั การประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานและเสนอรายงานการสง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็
และเยาวชนของประเทศต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาอย่างนอ้ ยปีละครงั้
(๖) ปฏิบัติการอ่ืนตามที่กฎหมายกำ�หนดหรอื ตามท่คี ณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) มอี ายไุ มต่ ่ำ� กว่าสามสิบปีบริบรู ณ์
(๓) เปน็ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในภาคเอกชนที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญ และ
ประสบการณ์ด้านการพฒั นาเด็กและเยาวชนเปน็ ท่ีประจกั ษ์
(๔) ไม่เปน็ บุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ
(๕) ไมเ่ คยไดร้ บั โทษจ�ำ คกุ โดยค�ำ พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ้ �ำ คกุ เวน้ แตเ่ ปน็ โทษส�ำ หรบั
ความผดิ ทีไ่ ด้กระทำ�โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ
(๖) ไมเ่ คยตอ้ งค�ำพพิ ากษาหรอื ค�ำสงั่ ของศาลใหท้ รพั ยส์ นิ ตกเปน็ ของแผน่ ดนิ เพราะ
รำ่� รวยผิดปกตหิ รอื มีทรพั ย์สนิ เพมิ่ ขนึ้ ผดิ ปกติ
(๗) ไมเ่ คยถกู ไลอ่ อก ปลดออก หรอื เลกิ จา้ งจากหนว่ ยงานของรฐั หรอื เอกชนเพราะ
ทจุ ริตตอ่ หนา้ ที่
(๘) ไมเ่ ป็นผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ในกจิ การทก่ี ระท�ำ กับสำ�นักงาน
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละสามปี
นับแตว่ ันทไี่ ด้รับแต่งตงั้ กรรมการซง่ึ พน้ จากต�ำ แหนง่ ตามวาระอาจได้รบั แต่งตั้งอีกได้ แต่ต้อง
ไม่เกินสองวาระตดิ ต่อกนั
ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งต้ังกรรมการใหม่
ใหก้ รรมการน้นั ปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ปพลางก่อนจนกวา่ จะได้แตง่ ตง้ั กรรมการใหม่

๖ พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
พน้ จากตำ�แหนง่ เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) นายกรฐั มนตรใี หอ้ อกเพราะบกพรอ่ งตอ่ หนา้ ที่ มคี วามประพฤตเิ สอื่ มเสยี หรอื
หย่อนความสามารถ
(ม๔า)ต รขาาด๑ค๔ุณ/ส๑ม๘ บัตผแิ ู้แลทะนมเลี ดัก็กษแณละะเตยอ้ างวหช้านมใตนาคมณมะากตรรราม๑ก๒ารส่งเสริมการพัฒนาเด็ก

และเยาวชนแห่งชาติ ตามมาตรา ๑๐ (๗) พน้ จากตำ�แหนง่ เมือ่
(๑) มีอายุเกนิ ยส่ี ิบห้าปี
(๒) พน้ จากการเป็นผแู้ ทนของสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย
มาตรา ๑๕ ในกรณที ก่ี รรมการผทู้ รงคณุ วฒุ พิ น้ จากต�ำ แหนง่ กอ่ นวาระ ใหผ้ ไู้ ดร้ บั
แต่งตัง้ ให้ดำ�รงตำ�แหนง่ แทนอยู่ในตำ�แหน่งเทา่ กับวาระท่เี หลอื อยูข่ องผ้ซู ง่ึ ตนแทน
มาตรา ๑๖ ใหน้ ำ�ความในมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ (๑) และ (๒) และมาตรา ๑๕
มาใชบ้ งั คับแก่การดำ�รงต�ำ แหน่งของกรรมการตามมาตรา ๑๐ (๖) และ (๗) โดยอนุโลม
มาตรา ๑๗ การประชุมของคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อย
กวา่ กึง่ หน่งึ ของจ�ำ นวนกรรมการทง้ั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชมุ
ในกรณีท่ีประธานกรรมการไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้
ใหร้ องประธานกรรมการคนทหี่ นง่ึ เปน็ ประธานในทป่ี ระชมุ ถา้ รองประธานกรรมการคนทหี่ นงึ่
ไมอ่ ยใู่ นทปี่ ระชมุ หรอื ไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้ ใหร้ องประธานกรรมการคนทส่ี องเปน็ ประธาน
ในทป่ี ระชมุ ถา้ รองประธานกรรมการทง้ั สองคนไมอ่ ยใู่ นทป่ี ระชมุ หรอื ไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ด้
ให้กรรมการซ่ึงมาประชุมเลือกกรรมการคนหนงึ่ ข้นึ ท�ำ หน้าทแี่ ทน
การวนิ จิ ฉัยช้ขี าดของทปี่ ระชุมใหถ้ ือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่งึ ใหม้ เี สียงหนึ่ง
ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กันให้ประธานในทป่ี ระชุมออกเสียงเพมิ่ ขึ้นอีกเสียงหน่งึ
เป็นเสยี งชี้ขาด
ใหม้ ีการประชมุ คณะกรรมการอยา่ งน้อยปีละสี่คร้งั
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอำ�นาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทำ�งาน
เพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และมีอำ�นาจแต่งต้ังที่ปรึกษา
คเปณน็ ะผบูเ้ สรนหิ อาร๙สภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทยตามทสี่ ภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย
ให้นำ�ความในมาตรา ๑๗ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการและ
คณะทำ�งานโดยอนโุ ลม

๘มาตรา ๑๔/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.​​๒๕๖๐
๙มาตรา ๑๘ วรรคหน่ึง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

พระราชบญั ญัติส่งเสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๗

มาตรา ๑๙ ใหส้ �ำ นกั งานมอี �ำ นาจหนา้ ทด่ี �ำ เนนิ การสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
เด็กและเยาวชน และรบั ผิดชอบงานธุรการและวิชาการของคณะกรรมการ รวมทง้ั ใหม้ ีอ�ำ นาจ
หนา้ ที่ ดังต่อไปน้ี
(๑) จดั ท�ำ นโยบายและแผนพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาตเิ สนอตอ่ คณะกรรมการ
(๒) กำ�หนดแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย
และแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และกำ�หนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายและ
แผนดงั กลา่ วตลอดจนการประสานงาน ตดิ ตาม และประเมินผล ทั้งในสว่ นของรฐั และเอกชน
ให้มกี ารปฏบิ ัตงิ านตามนโยบายเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
(๓) พฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากรดา้ นเดก็ และเยาวชน ตลอดจนสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
และรว่ มมือกับเอกชนในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดังกล่าว
(๔) ศกึ ษาวจิ ยั หรอื สนบั สนนุ ใหม้ กี ารศกึ ษาวจิ ยั เกยี่ วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
(๕) ส�ำ รวจ ศกึ ษา รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลเกย่ี วกับสทิ ธิ
ประโยชนข์ องเด็กและเยาวชนตามอนสุ ัญญาวา่ ด้วยสิทธิเดก็ และความตกลงระหว่างประเทศ
ที่ประเทศไทยเป็นภาคี ตลอดจนกฎหมายภายในประเทศ เพื่อจัดทำ�ระบบฐานข้อมูลและ
รวบรวมขอ้ คดิ เหน็ ของเดก็ และเยาวชน รวมทงั้ จดั ท�ำ รายงานเพอ่ื เปน็ แนวนโยบายในการพฒั นา
เด็กและเยาวชนต่อไป
(๖) สนับสนุนและประสานงานกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศเพ่ือ
รว่ มมอื กนั พฒั นาเดก็ และเยาวชน รวมทง้ั สง่ เสรมิ การด�ำ เนนิ กจิ การสภาเดก็ และเยาวชนในทกุ ระดบั
(๗) ส่งเสริมสื่อมวลชนและสถานศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือสร้าง
จิตส�ำ นกึ ในการให้และการอาสาสมคั รใหแ้ กเ่ ด็กและเยาวชน
(๘) เปน็ ศนู ยก์ ลางในการประสานงาน เผยแพร่ และประชาสมั พนั ธง์ านและกจิ การ
เกี่ยวกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
(๙) ศกึ ษา วเิ คราะห์ และวางแผนการงบประมาณและคา่ ใชจ้ า่ ย เพอื่ การพฒั นาเดก็
และเยาวชน โดยรว่ มกับหน่วยงานอนื่ รวมทัง้ พิจารณาจดั สรรเงินอุดหนนุ ให้แกอ่ งค์กรเอกชน
หรอื องค์กรชุมชนตามมาตรา ๔๒
(๑๐) ด�ำ เนนิ การจดั งานสมชั ชาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาตริ ว่ มกบั สภาเดก็ และเยาวชน
แห่งประเทศไทยอย่างน้อยปีละคร้ัง เพ่ือเป็นเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้สำ�หรับเด็กและเยาวชน
ในด้านตา่ งๆ
(๑๑) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกำ�หนด ตามมติคณะกรรมการ หรือตามท่ี
คณะรฐั มนตรมี อบหมาย
มาตรา ๒๐ ให้สำ�นักงานจัดทำ�รายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนเสนอ
คณะกรรมการเพอ่ื พจิ ารณาเสนอคณะรฐั มนตรอี ยา่ งนอ้ ยปลี ะครง้ั โดยมสี าระส�ำ คญั ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) การใช้งบประมาณเพื่อการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๒) ผลการดำ�เนนิ งานของสภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทย
(๓) สภาพการณแ์ ละแนวโนม้ ของปัญหาเดก็ และเยาวชน

๘ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

(๔) ผลการด�ำ เนนิ การเพอื่ แกไ้ ขปญั หาการพฒั นาเดก็ และเยาวชน ตลอดจนปญั หา
และอุปสรรคจากการด�ำ เนนิ งาน
(๕) แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
มาตรา ๒๑ เพ่ือปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการ
คณะอนกุ รรมการหรือสำ�นักงาน อาจเชญิ บุคคลใดมาให้ข้อเทจ็ จรงิ คำ�อธบิ าย คำ�แนะน�ำ หรอื
ความเห็นทางวิชาการได้เม่ือเห็นสมควร และอาจขอความร่วมมือจากบุคคลใดเพ่ือให้ได้มา
ซ่ึงข้อเทจ็ จรงิ หรือเพอื่ ส�ำ รวจกิจการใดที่อาจมีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนได้

หมวด ๓
มาตรการส่งเสริมการดำ�เนนิ งานเพอื่ การพฒั นาเด็กและเยาวชน

ส่วนท่ี ๑
สภาเด็กและเยาวชน๑๐
มาตรา ๒๒๑๑ ให้องค์การบริหารส่วนตำ�บล เทศบาล โดยคำ�แนะนำ�ของหัวหน้า

บ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนตำ�บล สภาเด็กและ
เยาวชนเทศบาล แลว้ แตก่ รณี ซง่ึ สมาชกิ ประกอบดว้ ยเดก็ และเยาวชนทอี่ ยใู่ นเขตพน้ื ทอ่ี งคก์ าร
บริหารสว่ นต�ำ บลหรือเทศบาลนัน้
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนตำ�บลหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
เทศบาล ประกอบดว้ ยประธานสภาหนง่ึ คน และผ้บู ริหารอกี ไมเ่ กินยส่ี บิ คน ซง่ึ คดั เลือกกนั เอง
จากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนต�ำ บล หรอื สมาชิกสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล แล้วแต่กรณี
โดยคำ�นึงถึงผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ให้มีหน้าที่บริหารงานทั่วไปของสภาเด็กและเยาวชน
และปรึกษาหารือร่วมกันเพื่อกำ�หนดแนวทางในการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในเขตพ้ืนที่ รวมท้ังด�ำ เนนิ การอ่ืนใดทีจ่ ำ�เปน็ เพื่อใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคข์ องพระราชบัญญตั ิน้ี
ใหน้ ายอ�ำ เภอ เปน็ ทปี่ รกึ ษาคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บลหรอื คณะบรหิ าร
สภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล และใหแ้ ตง่ ตง้ั ทป่ี รกึ ษาคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บลหรอื
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล จากนายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล นายกเทศมนตรี
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บล ปลัดเทศบาล แล้วแต่กรณี ผู้แทนสำ�นักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ผู้แทนบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด
ผู้แทนสำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้แทนสถานศึกษา
ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนท่ีตั้งอยู่ในเขตพื้นท่ีองค์การบริหารส่วนตำ�บลหรือเทศบาลน้ัน และผู้แทนองค์กรภาค

๑๐สว่ นที่ ๑ สภาเด็กและเยาวชน มาตรา ๒๒ ถึง มาตรา ๔๐ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัติส่งเสริม
ก ารพัฒนาเดก็ แ๑ล๑มะเายตารวาช๒นแ๒หง่แชกาไ้ ตขิเ(พฉ่มิ บเบัตทมิ โี่ ๒ดย) พพร.ศะ.ร​า๒ช๕บ๖ญั ๐ญตั สิ ่งเสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

พระราชบัญญตั ิสง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๙

ประชาสงั คมทม่ี กี จิ กรรมหรอื ผลงานเกย่ี วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน ทง้ั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ี
ค ณะบริหารมสาภตารเดา็ก๒แ๓ล๑ะ๒เ ยาสวภชานเตด�ำ็กบแลลหะรเือยคาณวชะนบตริหำ�บารลสแภลาะเดส็กภแาลเะดเ็กยแาวลชะนเยเทาศวบชานลเทเสศนบอาล
มีอ�ำ นาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ประสานงานระหวา่ งสภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บล สภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล
สภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ เพอื่ แลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณใ์ นดา้ นตา่ งๆ ของเดก็ และ
เยาวชน
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรดู้ า้ นวชิ าการ การศกึ ษา สขุ ภาพ
กีฬา อาชพี และวฒั นธรรมในทอ้ งถ่นิ ของเดก็ และเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออก
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความรคู้ วามสามารถทพ่ี ฒั นาไปตามวยั ของเดก็ หรอื เยาวชน โดยเฉพาะเรอ่ื ง
ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ เด็กและเยาวชน
(๔) จัดกิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้มี
ความรคู้ วามสามารถ รวมทง้ั คณุ ธรรมและจริยธรรม
(๕) รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ เสนอแนะ หรอื ประเมนิ เรอ่ื งทม่ี ผี ลกระทบตอ่ เดก็ และเยาวชน
ในเขตพืน้ ที่ เพอื่ สง่ ตอ่ ข้อมลู ดังกลา่ วใหก้ ับสภาเดก็ และเยาวชนอำ�เภอ
(๖) เสนอความเหน็ ตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็
และเยาวชน รวมทงั้ การแกป้ ญั หาที่มีผลกระทบตอ่ เด็กและเยาวชนในเขตพน้ื ที่
(๗) เสนอแนะและใหค้ วามเหน็ ตอ่ สภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ เกยี่ วกบั การสง่ เสรมิ
และพัฒนาเดก็ และเยาวชนในท้องถ่นิ
(๘) เสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานของรฐั
และองค์กรเอกชนหรือองคก์ รชุมชนทเ่ี กี่ยวข้องกบั เดก็ และเยาวชนในเขตพื้นท่ี
(๙) ออกขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การประชมุ และการด�ำ เนนิ งานตามอ�ำ นาจหนา้ ท่ี โดยให้
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บลหรอื คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาล แลว้ แตก่ รณี
เปน็ ผเู้ สนอ ทมง้ัานต้ี รใหาส้ ๒อ๔ด๑ค๓ล อ้ ใงหกม้ บั สี ขภอ้ าบเดงั คก็ บัแลขะอเงยสาภวาชเนดอก็ �ำแเลภะอเยซาง่ึ วสชมนาแชหกิ ง่ปปรระะกเอทบศดไทว้ ยยคณะบรหิ าร

สภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บล และคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาลทอ่ี ยใู่ นเขตพน้ื ทอ่ี �ำ เภอนน้ั
ใหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนเขต ในกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ สมาชิกประกอบดว้ ยเดก็ และ
เยาวชนท่ีอยู่ในเขตพนื้ ท่กี รงุ เทพมหานครแตล่ ะเขตน้ัน
ใหม้ คี ณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอและคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเขต
ประกอบดว้ ยประธานสภาหนง่ึ คน และผบู้ รหิ ารอกี ไมเ่ กนิ ยสี่ บิ คน ซงึ่ คดั เลอื กกนั เองจากสมาชกิ
สภาเดก็ และเยาวชนอำ�เภอหรือสมาชกิ เด็กและเยาวชนเขต แล้วแตก่ รณี โดยคำ�นึงถงึ ผูพ้ ิการ

๑๒มาตรา ๒๓ แก้ไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๓มาตรา ๒๔ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

๑๐ พระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

และผดู้ อ้ ยโอกาส ใหม้ หี นา้ ทบ่ี รหิ ารงานทว่ั ไปของสภาเดก็ และเยาวชน และปรกึ ษาหารอื รว่ มกนั
เพื่อกำ�หนดแนวทางในการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ รวมท้ัง
ด�ำ เนินการอ่ืนใดที่จ�ำ เป็นเพื่อใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคข์ องพระราชบญั ญัตินี้
ใหน้ ายอ�ำ เภอหรอื ผอู้ �ำ นวยการเขต เปน็ ทปี่ รกึ ษาคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชน
อำ�เภอหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต แล้วแต่กรณี และให้แต่งตั้งที่ปรึกษา
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอหรอื คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเขต แลว้ แตก่ รณี
จากพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั หวั หนา้ บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั ในแตล่ ะ
จังหวัด ผู้แทนสำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้แทน
สถานศกึ ษา ผแู้ ทนหนว่ ยงานของรฐั หรอื เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสง่ เสรมิ การพฒั นา
เด็กและเยาวชนท่ีตั้งอยู่ในเขตพ้ืนที่อำ�เภอหรือเขตในกรุงเทพมหานคร และผู้แทนองค์กร
ภาคประชาสังคมที่มีกิจกรรมหรือผลงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ท้ังน้ี ให้เป็น
ไ ปตามทค่ี ณมะาบตรรหิ าาร๒ส๕ภ๑า๔เ ดก็ใหแส้ลภะเายเดาวก็ ชแนลอะเ�ำ ยเภาวอชหนรออื �ำ คเภณอะแบลระหิ สาภราสเภดาก็ เแดลก็ ะแเลยะาเวยชานวเชขนตเมขตอี เ�ำ สนนาอจ
หนา้ ทีด่ งั ต่อไปน้ี
(๑) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนอำ�เภอ สภาเด็กและเยาวชนเขต
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพ่ือแลกเปล่ียน
ความร้แู ละประสบการณใ์ นด้านต่างๆ ของเด็กและเยาวชน
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรดู้ า้ นวชิ าการ การศกึ ษา สขุ ภาพ
กีฬา อาชีพ และวฒั นธรรมในท้องถ่นิ ของเดก็ และเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออก
อย่างสอดคล้องกับความรู้ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะ
เรอ่ื งที่มีผลกระทบต่อเดก็ และเยาวชน
(๔) จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถ่ินให้มี
ความร้คู วามสามารถ รวมทัง้ คุณธรรมและจรยิ ธรรม
(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเร่ืองท่ีมีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชนในเขตพ้ืนท่ี เพ่ือส่งต่อข้อมูลดังกล่าวให้กับสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดหรือสภาเด็ก
และเยาวชนกรุงเทพมหานคร แลว้ แตก่ รณี
(๖) เสนอความเหน็ ตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็
และเยาวชน รวมทัง้ การแก้ปัญหาที่มีผลกระทบต่อเดก็ และเยาวชนในเขตพนื้ ท่ี
(๗) เสนอแนะและใหค้ วามเหน็ ตอ่ สภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั สภาเดก็ และเยาวชน
กรุงเทพมหานคร เก่ียวกบั การสง่ เสริมและพฒั นาเดก็ และเยาวชนในทอ้ งถิน่
(๘) เสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานของรฐั
และองคก์ รเอกชนหรอื องคก์ รชุมชนทเ่ี ก่ยี วข้องกับเดก็ และเยาวชนในเขตพน้ื ที่

๑๔มาตรา ๒๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐

พระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๑

(๙) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดำ�เนินงานตามอำ�นาจหน้าที่
โดยให้คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำ�เภอหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต
แ ลว้ แตก่ รณมี เปาตน็ รผาเู้ ส๒น๖อ๑ท๕ ง้ั นใ้ีหใหม้ ส้สี อภดาคเดลก็ อ้ แงลกะบั เขยอ้าวบชงั นคจบั งัขหอวงดัสภซง่ึาสเดมก็ าแชลกิ ะปเรยะากวอชบนดแว้หยง่ ปปรระะธเทานศสไทภยา
เดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอทกุ อ�ำ เภอ และผแู้ ทนจากคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอแตล่ ะ
อ�ำ เภอ อำ�เภอละสค่ี น
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่งคน
และผบู้ ริหารอีกไมเ่ กินยส่ี ิบคน ซึง่ คดั เลอื กกนั เองจากสมาชกิ สภาเด็กและเยาวชนจงั หวดั ให้มี
หนา้ ทบี่ ริหารงานทั่วไปของสภาเด็กและเยาวชนจงั หวัด และปรึกษาหารือร่วมกันเพ่อื กำ�หนด
แนวทางในการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนที่ รวมทั้งดำ�เนินการอ่ืนใด
ทจี่ �ำ เป็นเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงคข์ องพระราชบญั ญัตินี้
ใหผ้ ูว้ ่าราชการจังหวดั เป็นท่ีปรึกษาคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั และ
ให้แต่งตั้งท่ีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด จากพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนษุ ยจ์ งั หวดั ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา นายกองคก์ ารบรหิ าร
ส่วนจังหวัด หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด ผู้แทนสำ�นักงานส่งเสริมการ
ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน และผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคมที่มี
กจิ กรรมหรอื ผลงานเกย่ี วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน ทง้ั นี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี ณะบรหิ ารสภา
เ ด็กและเยาวมชานตจรางั ห๒ว๗ดั เ๑ส๖ นใอหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ สมาชกิ ประกอบดว้ ย
(๑) ประธานสภาเด็กและเยาวชนเขต จากทกุ เขตในกรุงเทพมหานคร
(๒) ผแู้ ทนกลุ่มเด็กและเยาวชน ประกอบด้วย
(ก) ผู้แทนจากสถาบันการศึกษาในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษา
ระดับอาชวี ศึกษา และระดับอดุ มศกึ ษา ระดับละสิบเอด็ คน
(ข) ผแู้ ทนเดก็ และเยาวชน ซง่ึ มาจากการคดั เลอื กกนั เองจากกลมุ่ เดก็ และเยาวชน
ท่ีได้ลงทะเบียนไว้ตามระเบียบท่ีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครกำ�หนด โดยคำ�นึงถึงความ
หลากหลายของกลุ่มเด็กและเยาวชน จำ�นวนสิบสองคน ซึ่งต้องมาจากแต่ละกลุ่มอย่างน้อย
กล่มุ ละหนึง่ คน
ทงั้ นี้ การคดั เลอื กสมาชกิ สภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร ใหค้ �ำ นงึ ถงึ ผพู้ กิ าร
และผดู้ อ้ ยโอกาสด้วย

๑๕มาตรา ๒๖ แก้ไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๖มาตรา ๒๗ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

๑๒ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแี่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

มาตรา ๒๘๑๗ ใหม้ คี ณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร ประกอบดว้ ย
ประธานสภาหนง่ึ คน และผบู้ รหิ ารอกี ไมเ่ กนิ ยสี่ บิ คน ซง่ึ คดั เลอื กกนั เองจากสมาชกิ สภาเดก็ และ
เยาวชนกรงุ เทพมหานคร ใหม้ หี นา้ ทบ่ี รหิ ารงานทว่ั ไปของสภาเดก็ และเยาวชน และปรกึ ษาหารอื
รว่ มกนั เพอ่ื ก�ำ หนดแนวทางในการจดั กจิ กรรมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในเขตกรงุ เทพมหานคร
รวมทั้งดำ�เนินการอน่ื ใดที่จำ�เปน็ เพ่ือใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องพระราชบัญญตั ิน้ี
ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
กรุงเทพมหานคร และให้แต่งต้ังท่ีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
จากผู้อำ�นวยการสำ�นักพัฒนาสังคม ผู้อำ�นวยการสำ�นักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั การศึกษา ผแู้ ทนกรมกจิ การเด็กและเยาวชน ผู้แทนหนว่ ยงานของรฐั หรือ
เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน และผู้แทนองค์กร
ภาคประชาสงั คมทม่ี กี จิ กรรมหรอื ผลงานเกย่ี วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน ทง้ั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตาม
ทค่ี ณะบริหามราสตภราาเด๒็ก๙แ๑ล๘ะ เยสาภวาชเดนก็ กแรลงุ ะเทเยพาวมชหนาจนงั คหรวเดั สแนลอะสภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
มีอ�ำ นาจหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชน
กรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์ในดา้ นต่างๆ ของเด็กและเยาวชน
(๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรดู้ า้ นวชิ าการ การศกึ ษา สขุ ภาพ
กฬี า อาชีพ และวัฒนธรรมในทอ้ งถนิ่ ของเด็กและเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออก
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความรคู้ วามสามารถทพ่ี ฒั นาไปตามวยั ของเดก็ หรอื เยาวชน โดยเฉพาะเรอ่ื ง
ทมี่ ผี ลกระทบต่อเดก็ และเยาวชน
(๔) จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้มี
ความรูค้ วามสามารถ รวมทั้งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
(๕) รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ เสนอแนะ หรอื ประเมนิ เรอ่ื งทม่ี ผี ลกระทบตอ่ เดก็ และเยาวชน
ในเขตพื้นที่ เพอ่ื สง่ ต่อขอ้ มูลดงั กลา่ วให้กับสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย
(๖) เสนอความเหน็ ตอ่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็
และเยาวชน รวมทั้งการแกป้ ญั หาทีม่ ีผลกระทบต่อเดก็ และเยาวชนในเขตพนื้ ท่ี
(๗) เสนอแนะและใหค้ วามเห็นต่อสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เก่ียวกับ
การส่งเสรมิ และพฒั นาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่น
(๘) เสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานของรฐั
และองคก์ รเอกชนหรอื องค์กรชมุ ชนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนที่
๑๗มาตรา ๒๖ แก้ไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๘มาตรา ๒๗ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๓

(๙) ออกขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การประชมุ และการด�ำ เนนิ งานตามอ�ำ นาจหนา้ ท่ี โดยให้
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั หรอื คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
แ ลว้ แตก่ รณมี เปาน็ตผราเู้ ส๓นอ๐๑ท๙ง้ั นใ้ีหใหม้ ส้ สี อภดาคเดลอก้็ งแกลบั ะขเยอ้ าบวงั ชคนบั แขหอง่งปสภระาเเทดก็ศแไทลยะเซยงึ่าสวชมนาชแกิหปง่ ปรระะกเอทบศดไทว้ ยย
(๑) ประธานสภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั จากทุกจงั หวดั
(๒) ประธานสภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร
(๓) ผแู้ ทนเดก็ และเยาวชน ซง่ึ มาจากการคดั เลอื กกนั เองจากกลมุ่ เดก็ และเยาวชน
ที่ได้ลงทะเบียนไว้ตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกำ�หนด โดยคำ�นึงถึงความหลากหลายของกลุ่มเด็ก
และเยาวชน รวมทง้ั ผูพ้ กิ ารและผู้ดอ้ ยโอกาส จำ�นวนสามสิบแปดคน
ใหม้ คี ณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทย ประกอบด้วยประธานสภา
หนงึ่ คน และผบู้ ริหารอกี ไม่เกินยส่ี บิ ห้าคน ซง่ึ คดั เลือกกันเองจากสมาชกิ สภาเดก็ และเยาวชน
แห่งประเทศไทย ใหม้ หี นา้ ท่บี ริหารงานทวั่ ไปของสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย และ
เสนอแผนงานหรือแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านต่างๆ ต่อกรมกิจการ
เด็กและเยาวชนเพ่ือประโยชน์ในการจัดทำ�แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ รวมท้ัง
เป็นผู้แทน หรือเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกผู้แทนเด็กและเยาวชนของประเทศในการดำ�เนิน
กิจกรรมเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศ
ตลอดจนดำ�เนนิ การอน่ื ท่จี ำ�เปน็ เพ่อื ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของพระราชบัญญตั นิ ี้
ใหค้ ณะกรรมการแตง่ ตงั้ ทปี่ รกึ ษาคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย
จากผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม ผู้แทน
ส�ำ นกั งานอยั การสงู สดุ ผแู้ ทนกรมกจิ การเดก็ และเยาวชน ผแู้ ทนหนว่ ยงานของรฐั หรอื เจา้ หนา้ ท่ี
ของรฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การสง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชน และผแู้ ทนองคก์ รภาคประชาสงั คม
ท่มี กี ิจกรรมหรอื ผลงานเก่ียวกับการพฒั นาเด็กและเยาวชน ทั้งน้ี ให้เปน็ ไปตามท่คี ณะบริหาร
ส ภาเดก็ และมเายตาวรชาน๓แ๑ห๒ง่๐ป รใะหเส้ทภศาไเทดยก็ เแสลนะอเยาวชนแหง่ ประเทศไทย มอี �ำ นาจหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) เปน็ ศนู ยก์ ลางประสานงานเพอื่ ด�ำ เนนิ กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็ และ
เยาวชน
(๒) ให้ความร่วมมือในการดำ�เนินงานของรัฐและองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน
ในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออก
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ความรคู้ วามสามารถทพ่ี ฒั นาไปตามวยั ของเดก็ หรอื เยาวชน โดยเฉพาะเรอ่ื ง
ทีม่ ีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน
(๔) ให้ความเหน็ ในการก�ำ หนดแนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของ

๑๙มาตรา ๓๐ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๐มาตรา ๓๑ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

๑๔ พระราชบัญญตั สิ ง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

หน่วยงานของรฐั เพ่ือการส่งเสรมิ และพฒั นาเด็กและเยาวชน
(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเร่ืองท่ีมีผลกระทบต่อเด็ก
และเยาวชนและข้อมูลที่ถูกส่งต่อมายังสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เพื่อเสนอ
คณะกรรมการพจิ ารณาเปน็ แนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๖) เสนอความเหน็ ตอ่ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็
และเยาวชน รวมทัง้ การแกป้ ญั หาทมี่ ีผลกระทบตอ่ เดก็ และเยาวชน
(๗) เสนอความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานของรฐั
และองคก์ รเอกชนหรือองคก์ รชมุ ชนท่เี ก่ียวขอ้ งกับเดก็ และเยาวชน
(๘) จัดท�ำ ประมวลจริยธรรมของสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน
(๙) ออกข้อบังคับเก่ียวกับการประชุมและการดำ�เนินงานตามอำ�นาจหน้าท่ี
โดยให้คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทยเปน็ ผเู้ สนอ
สภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทยตอ้ งจดั ใหม้ กี ารประชมุ สามญั อยา่ งนอ้ ยปลี ะ
สองคร้ัง
มาตรา ๓๒๒๑ คณะบรหิ ารต้องมีคณุ สมบัติและไม่มีลักษณะต้องหา้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) มีอายไุ ม่เกนิ ยีส่ ิบหา้ ปี
(๒) ไมเ่ ปน็ ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ในทางการเมอื ง กรรมการหรอื ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
ในการบริหารพรรคการเมอื ง ที่ปรกึ ษาพรรคการเมือง เจ้าหนา้ ที่พรรคการเมือง สมาชิกสภา
ท อ้ งถ่ินหรือมผาบู้ ตรรหิ าาร๓ท๓้อ๒ง๒ถ นิ่ คณะบริหารมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละสองปีนับแต่วันที่
ไดร้ บั การคดั เลือก ประธานสภาหรือผบู้ ริหารในคณะบริหารซึง่ พน้ จากต�ำ แหน่งอาจไดร้ ับการ
คดั เลอื กอีกได้ แต่ต้องด�ำ รงต�ำ แหน่งไม่เกินสองวาระติดตอ่ กนั
กรณีท่ีคณะบริหารพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ ให้ดำ�เนินการคัดเลือกใหม่ภายใน
หกสบิ วนั นบั แตว่ นั ทค่ี ณะบรหิ ารพน้ จากต�ำ แหนง่ ตามวาระ แตใ่ นระหวา่ งทย่ี งั มไิ ดม้ กี ารคดั เลอื ก
คณะบรหิ าร ใหค้ ณะบรหิ ารนน้ั ปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ปพลางกอ่ นจนกวา่ จะไดม้ กี ารคดั เลอื กคณะบรหิ ารใหม่
ในวาระเริ่มแรก เมื่อคณะบริหารดำ�รงตำ�แหน่งครบหนึ่งปี ให้คณะบริหารยกเว้น
ประธานสภาจับสลากออกก่ึงหนึ่ง และคัดเลือกผู้บริหารใหม่แทนตำ�แหน่งท่ีว่าง โดยให้ผู้ท่ี
ได้รบั การคดั มเลาตือรกาให๓ม๔่ม๒ีว๓า รนะอกการจดากำ�รกงาตรำ�พแน้ หจนากง่ สตอ�ำ แงปหีนง่ ตามวาระ คณะบรหิ ารพน้ จากต�ำ แหนง่
เมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
๒๑มาตรา ๓๒ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๒มาตรา ๓๓ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐
๒๓มาตรา ๓๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

พระราชบัญญัติสง่ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๕

(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๓๒
(ม๔า)ต รถากู ถ๓อ๕ด๒ถ๔ อนในจกากรตณ�ำ ีทแี่คหณนง่ ะตบารมิหทาก่ี ร�ำ ขหอนงดสไภวใ้ านเขดอ้็กบแงัลคะบั เยขาอวงชสภนาพเ้นดก็จแาลกะตเำ�ยแาหวชนน่ง

กอ่ นครบวาระ ใหม้ กี ารคัดเลอื กผอู้ ่ืนแทนต�ำ แหน่งท่วี า่ ง เว้นแต่วาระของผ้ทู พ่ี ้นจากต�ำ แหนง่
เหลอื ไมถ่ งึ เกา้ สบิ วนั อาจคดั เลอื กผอู้ น่ื แทนต�ำ แหนง่ ทว่ี า่ งนน้ั กไ็ ด้ และใหผ้ ทู้ ไี่ ดร้ บั การคดั เลอื ก
แ ทนต�ำ แหนม่งาทตวี่ รา่ างอ๓ย๖ู่ใน๒๕ต ำ�ใแหห้กนรง่ มเทกิจา่ กกับารวเาดร็กะแทลเี่ หะเลยอื าอวยชู่ขนอดงำ�ผเนู้ซินึ่งตกนารแสท่งนเสริม สนับสนุน และ
ประสานงานการจัดต้ังและการดำ�เนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนตำ�บล สภาเด็กและ
เยาวชนเทศบาล สภาเด็กและเยาวชนอำ�เภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และสภาเด็กและ
เยาวชนแหง่ ประเทศไทย
ใหก้ รมกจิ การเดก็ และเยาวชนรว่ มกบั กรงุ เทพมหานครด�ำ เนนิ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
และประสานงานการจัดต้ังและการดำ�เนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนเขตและสภาเด็ก
แ ละเยาวชนมการตุงเรทาพ๓ม๗ห๒า๖น คกรารประชุมของสภาเด็กและเยาวชน ต้องมีสมาชิกมาประชุม
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนสมาชิกท้ังหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ท้ังน้ี ให้การประชุมของ
สภาเด็กและเยาวชนเปน็ ไปตามระเบียบทีร่ ัฐมนตรกี ำ�หนด
การวนิ จิ ฉยั ชข้ี าดของทป่ี ระชมุ ใหถ้ อื เสยี งขา้ งมาก สมาชกิ สภาเดก็ และเยาวชนคนหนง่ึ
ใหม้ เี สยี งหนง่ึ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กนั ใหป้ ระธานในทปี่ ระชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ขนึ้
อ กี เสยี งหนึ่งมเปาต็นรเสายี ๓งช๘ข้ี ๒๗า ดการดำ�เนินงานของสภาเด็กและเยาวชน และคณะบริหารสภา
เดก็ และเยาวชน ให้เป็นไปตามข้อบงั คับทสี่ ภาเด็กและเยาวชนได้ก�ำ หนดไว้ ท้ังนี้ ใหส้ ภาเดก็
และเยาวชนจัดให้มีการประชุมสามัญอย่างน้อยปีละหนึ่งคร้ัง เว้นแต่สภาเด็กและเยาวชน
แห่งประเทศไทย ตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง และใหค้ ณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนจัดให้มี
ก ารประชุมอมมยาา่าตตงรรนาาอ้ ๔๓ยป๐๙ลี๒๒๙๘ะ ส((อยยงกกคเเลลรัง้ิิกก))

๒๔มาตรา ๓๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๕มาตรา ๓๖ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐
๒๖มาตรา ๓๗ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัติส่งเสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๗มาตรา ๓๘ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิสง่ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐
๒๘มาตรา ๓๙ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๙มาตรา ๔๐ แก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติส่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ.​๒๕๖๐

๑๖ พระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

ส่วนท่ี ๒
การส่งเสรมิ บทบาทขององคก์ รเอกชนหรอื องค์กรชุมชนในการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
มาตรา ๔๑ เพื่อเปน็ การสนับสนนุ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการส่งเสรมิ

และพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้องค์กรเอกชนหรือองค์การชุมชนที่มีกิจกรรมหรือผลงาน
เกยี่ วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน และมิไดม้ ีวัตถปุ ระสงคใ์ นทางการเมืองหรอื มงุ่ คา้ หาก�ำ ไร
จากการประกอบกิจกรรมดังกล่าวมีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชน
ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนต่อกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขท่กี ำ�หนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๒ องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนท่ีได้จดทะเบียนตามมาตรา ๔๑
อาจไดร้ บั เงินอดุ หนุน ความช่วยเหลือ หรอื การสนบั สนุนจากรัฐในการดำ�เนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) การจัดให้มีอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองและพัฒนาเด็กและ
เยาวชน
(๒) การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรข่ อ้ มลู หรอื ขา่ วสาร เพอ่ื สรา้ งจติ ส�ำ นกึ ของสาธารณชน
ที่ถูกตอ้ งเก่ยี วกบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน
(๓) การจดั ต้ังหรือดำ�เนนิ โครงการหรอื กิจกรรมเพ่ือการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๔) การศกึ ษาวจิ ยั เก่ยี วกับการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
(๕) การให้ความช่วยเหลือหรือสนับสนุนในด้านอื่นๆ แก่เด็กและเยาวชนท่ีถูก
ละเมดิ สทิ ธิ เชน่ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นกฎหมาย การแพทย์ การบ�ำ บดั ฟนื้ ฟู การสงเคราะห์
เด็กและเยาวชน
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการให้เงินอุดหนุน ความช่วยเหลือ หรือ
การสนับสนนุ จากรัฐตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบยี บทรี่ ฐั มนตรีก�ำ หนด
มาตรา ๔๓ ให้องค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนที่ได้รับความช่วยเหลือหรือ
สนับสนุนจากรัฐตามมาตรา ๔๒ มีหน้าที่จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานเสนอต่อสำ�นักงาน
ตามระเบียบท่ีรฐั มนตรกี ำ�หนด
มาตรา ๔๔ องคก์ รเอกชนหรอื องคก์ รชมุ ชนใดทไ่ี ดจ้ ดทะเบยี นแลว้ ด�ำ เนนิ กจิ การ
ทอ่ี าจกอ่ ความวนุ่ วายหรอื ขดั ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ไมด่ �ำ เนนิ
การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสม หรือไม่มีผลงานตามมาตรฐานท่ีรัฐมนตรีกำ�หนด
ให้รัฐมนตรีมีอำ�นาจส่ังเพิกถอนการจดทะเบียนหรือระงับการให้เงินอุดหนุน ความช่วยเหลือ
หรอื การสนบั สนุนทใี่ ห้แก่องค์กรเอกชนหรือองคก์ รชุมชนน้นั ได้

พระราชบญั ญัติสง่ เสริมการพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๗

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๔๕ ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแหง่ ชาตติ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหค้ ณะกรรมการสง่ เสรมิ และประสานงานเยาวชน
แหง่ ชาตติ ามพระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ และประสานงานเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๒๑ ซึ่งด�ำ รง
ตำ�แหน่งอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ทำ�หน้าที่คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติตามพระราชบัญญัตินี้ จนกวา่ คณะกรรมการท่ีได้รับแตง่ ต้ังขน้ึ ใหม่จะเขา้
รับหน้าที่ ทง้ั น้ี ไม่เกนิ สามร้อยวันนบั แตว่ นั ท่ีพระราชบญั ญัตินใี้ ชบ้ ังคบั

ผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ์ จุลานนท์
นายกรัฐมนตรี

๑๘ พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยที่พระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​​ ๒๕๒๑ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน สมควร
กำ�หนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เหมาะสม
และสอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมในปจั จบุ นั โดยก�ำ หนดใหม้ กี ารจดั ตง้ั ศนู ยเ์ ดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ
และสภาเดก็ และเยาวชน เพอ่ื ให้การส่งเสรมิ และพัฒนาเด็กและเยาวชนมปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ข้ึน
รวมทั้งให้องค์กรเอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการพัฒนา
เด็กและเยาวชน จึงจำ�เป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ินี้
พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐๓๐
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
มาตรา ๑๐ ในวาระเรมิ่ แรก ให้มีการด�ำ เนินการดงั ต่อไปน้ี
(๑) ใหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนต�ำ บลหรอื สภาเดก็ และเยาวชนเทศบาลตามมาตรา ๒๒
ให้แลว้ เสร็จภายในหน่งึ รอ้ ยยิี่สิบวนั นบั แตว่ นั ทีพ่ ระราชบญั ญัตนิ ใ้ี ชบ้ ังคับ
(๒) ใหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนเขตตามมาตรา ๒๔ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในหนง่ึ รอ้ ยหา้ สบิ วนั
นบั แตว่ ันทพี่ ระราชบญั ญัตินีใ้ ช้บงั คบั
(๓) ใหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานครตามมาตรา ๒๘ ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายใน
หนง่ึ ร้อยแปดสบิ วนั นบั แต่วนั ที่พระราชบัญญัตินใ้ี ช้บงั คับ
มาตรา ๑๑ ให้สภาเด็กและเยาวชนอำ�เภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด
สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยตาม
พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ ทมี่ อี ยใู่ นวนั กอ่ นวนั ที่
พระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ้ งั คบั เปน็ สภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ สภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั สภาเดก็
และเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทยตามพระราชบัญญตั ิ
สง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซงึ่ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ี้
มาตรา ๑๒ ให้คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอำ�เภอ คณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนจังหวัด คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร คณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งด�ำ รงต�ำ แหน่งอยูใ่ นวนั ก่อนวนั ทพี่ ระราชบัญญัตินีใ้ ช้บงั คับ ยังคงปฏบิ ตั หิ น้าที่
อยตู่ อ่ ไปจนกวา่ จะมกี ารคดั เลอื กคณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนอ�ำ เภอ คณะบรหิ ารสภาเดก็
และเยาวชนจงั หวดั คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร และคณะบรหิ ารสภาเดก็
และเยาวชนแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
พ.ศ.​​๒๕๕๐ ซึง่ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั นิ ี้

๓๐ราชกิจจานเุ บกษา เล่ม ๑๓๔/ตอนที่ ๖๓ ก/หนา้ ๑/๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐

พระราชบัญญัตสิ ง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๙

มาตรา ๑๓ ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี


หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติ
สง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​​ ๒๕๕๐ มบี ทบญั ญตั บิ างประการไมเ่ หมาะสม
กับสภาพการณ์ในปัจจุบัน ทำ�ให้ไม่อาจส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วม
ในการด�ำ เนนิ งานเพอ่ื การพฒั นาเดก็ และเยาวชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั การสง่ เสรมิ ให้
เดก็ และเยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชน ตลอดจนสนบั สนุนให้เดก็ และเยาวชนได้มีการแสดงออกที่สอดคลอ้ งกบั ระดับความรู้
ความสามารถ ซึ่งพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน สมควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติ
เพอื่ ให้การพฒั นาเดก็ และเยาวชนมีประสิทธภิ าพยิ่งข้นึ จึงจำ�เป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้



ภาคผนวก



พระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมการพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๓

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๑ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา



พระราชบญั ญตั ิ

สง่ เสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๑๑ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นปที ่ี ๒ ในรชั กาลปัจจุบนั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ใหป้ ระกาศวา่

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แห่งชาติ

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิติบัญญตั ิแห่งชาติทําหน้าทรี่ ัฐสภา ดังตอ่ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ ้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป

มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ ความในบทนิยามคําว่า “คณะบริหาร” “สํานักงาน” และ “ผู้อํานวยการ”
ในมาตรา ๔ แหง่ พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความ
ตอ่ ไปน้แี ทน

““คณะบริหาร” หมายความว่า คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนตําบล คณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนเทศบาล คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร และคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทย

๒๔ พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๒ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

“สํานักงาน” หมายความว่า กรมกิจการเด็กและเยาวชน
“ผู้อาํ นวยการ” หมายความวา่ อธบิ ดกี รมกิจการเด็กและเยาวชน”
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้แี ทน
“การดาํ เนินการตามวรรคหนงึ่ ใหก้ ระทาํ โดยมแี นวทาง ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) ให้เด็กและเยาวชนมีความผูกพันต่อครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีวิถีชีวิตแบบ
ประชาธปิ ไตย
(๒) ให้สามารถดําเนินชีวิตได้อย่างปลอดภัย รู้จักเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น รวมท้ัง
กฎหมาย กฎเกณฑ์ และกติกาในสังคม
(๓) ให้การสนับสนุนและส่งเสริมความร่วมมือทางการศึกษา ทั้งภายในประเทศและภายนอก
ประเทศ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ และเยาวชนทกุ คนสามารถเขา้ ถึงการศึกษาไดอ้ ย่างเหมาะสม
(๔) ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาเพ่ือพัฒนาเด็กพิการ เด็กท่ีมีข้อจํากัดทาง
การเรยี นรู้ และเด็กทม่ี ีความสามารถพิเศษ ให้สามารถพึง่ ตนเองได้ ให้มีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สามารถประกอบอาชพี และดํารงชีวิตไดอ้ ยา่ งเป็นอสิ ระ
(๕) ให้มีสุขภาพพลานามยั ทีส่ มบูรณแ์ ข็งแรง รูจ้ กั การปอ้ งกันตนเองจากโรคภยั และสิ่งเสพตดิ
(๖) ใหม้ ีวุฒภิ าวะทางอารมณ์ตามสมควรแก่วยั รวมท้ังมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
(๗) ใหม้ ที ักษะและเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ การทํางาน มีศกั ด์ิศรีและภาคภูมิใจในการทํางานทีส่ จุ ริต
(๘) ให้รู้จกั คดิ อย่างมีเหตุผลและม่งุ มนั่ พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง
(๙) ให้รู้จักช่วยเหลือผู้อ่ืนโดยมีจิตสํานึกในการให้และการเป็นอาสาสมัคร รวมทั้งมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาชมุ ชนและประเทศชาติ
(๑๐) ให้มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง ผู้อนื่ และต่อส่วนรวม ตามสมควรแกว่ ัย
(๑๑) ให้สามารถแสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้องกับความรู้ความสามารถ
ทพี่ ัฒนาไปตามวัยของเดก็ และเยาวชน โดยเฉพาะเรือ่ งทมี่ ผี ลกระทบต่อเด็กและเยาวชน
(๑๒) ให้สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรมในเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชนอย่างเหมาะสม ไมว่ า่ จะโดยทางตรง หรือผ่านผู้แทนหรือองคก์ รเพอื่ เดก็ และเยาวชน”
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“(๔) กรรมการโดยตําแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม
ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ ปลัดกรุงเทพมหานคร
ประธานสภาองคก์ ารพัฒนาเด็กและเยาวชน และประธานสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย”

พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๖๓ ก หนา้ ๓ ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความใน (๖) ของมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม
การพฒั นาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้ีแทน

“(๖) ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ซงึ่ เลือกกนั เอง จํานวนสามคน”
มาตรา ๗ ใหเ้ พิม่ ความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
“มาตรา ๑๔/๑ ผู้แทนเด็กและเยาวชนในคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
แหง่ ชาติ ตามมาตรา ๑๐ (๗) พน้ จากตาํ แหนง่ เมือ่
(๑) มอี ายุเกนิ ยี่สิบห้าปี
(๒) พ้นจากการเปน็ ผูแ้ ทนของสภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทย”
มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในวรรคหน่ึงของมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปน้แี ทน
“มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพ่ือพิจารณา
หรือปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และมีอํานาจแต่งต้ังที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
แหง่ ประเทศไทยตามท่ีสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทยเป็นผเู้ สนอ”
มาตรา ๙ ให้ยกเลิกบทบัญญัติในส่วนท่ี ๑ สภาเด็กและเยาวชน ของหมวด ๓
มาตรการส่งเสริมการดําเนินงานเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔
มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒
มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ และ
มาตรา ๔๐ แหง่ พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความ
ต่อไปน้ีแทน

“ส่วนท่ี ๑
สภาเด็กและเยาวชน

มาตรา ๒๒ ให้องค์การบริหารส่วนตําบล เทศบาล โดยคําแนะนําของหัวหน้าบ้านพักเด็ก
และครอบครัวในแต่ละจังหวัด จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนตําบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล แล้วแต่กรณี
ซ่งึ สมาชกิ ประกอบด้วยเด็กและเยาวชนท่ีอยใู่ นเขตพืน้ ท่ีองค์การบริหารส่วนตําบลหรอื เทศบาลนนั้

ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนตําบลหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล
ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่งคน และผู้บริหารอีกไม่เกินย่ีสิบคน ซึ่งคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็ก
และเยาวชนตําบล หรือสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล แล้วแต่กรณี โดยคํานึงถึงผู้พิการและ
ผู้ด้อยโอกาส ให้มีหน้าท่ีบริหารงานท่ัวไปของสภาเด็กและเยาวชนและปรึกษาหารือร่วมกันเพื่อกําหนด
แนวทางในการจดั กจิ กรรมการพฒั นาเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนท่ี รวมท้งั ดําเนินการอ่นื ใดที่จําเป็นเพ่ือให้บรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องพระราชบัญญัตนิ ้ี

๒๖ พระราชบัญญตั ิส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแี่ ก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๖๓ ก หน้า ๔ ๑๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

ให้นายอําเภอ เป็นทปี่ รึกษาคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนตําบลหรือคณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนเทศบาล และให้แต่งตั้งที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนตําบลหรือคณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนเทศบาล จากนายกองค์การบริหารส่วนตําบล นายกเทศมนตรี ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล
ปลัดเทศบาล แล้วแต่กรณี ผู้แทนสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ผู้แทนบ้านพักเด็ก
และครอบครัวในแต่ละจังหวัด ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้แทนสถานศึกษา ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนท่ีตั้งอยู่ในเขตพ้ืนที่องค์การบริหารส่วนตําบลหรือเทศบาลน้ัน และผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคม
ท่มี กี จิ กรรมหรือผลงานเกี่ยวกบั การพัฒนาเด็กและเยาวชน ท้ังนี้ ให้เป็นไปตามที่คณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนตําบลหรือคณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนเทศบาลเสนอ

มาตรา ๒๓ สภาเด็กและเยาวชนตําบลและสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล มีอํานาจหน้าท่ี
ดังต่อไปนี้

(๑) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนตําบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล สภาเด็ก
และเยาวชนอาํ เภอ เพือ่ แลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณใ์ นด้านตา่ ง ๆ ของเด็กและเยาวชน

(๒) ส่งเสริม สนับสนุน และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิชาการ การศึกษา สุขภาพ กีฬา
อาชพี และวฒั นธรรมในทอ้ งถิน่ ของเดก็ และเยาวชน

(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้อง
กับความรู้ความสามารถท่ีพัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะเร่ืองท่ีมีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชน

(๔) จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถิ่นให้มีความรู้
ความสามารถ รวมทัง้ คุณธรรมและจรยิ ธรรม

(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่
เพ่ือส่งต่อขอ้ มูลดังกล่าวใหก้ บั สภาเด็กและเยาวชนอาํ เภอ

(๖) เสนอความเหน็ ตอ่ หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องกับกจิ กรรมการสง่ เสรมิ และพัฒนาเด็กและเยาวชน
รวมทงั้ การแกป้ ญั หาท่มี ีผลกระทบตอ่ เด็กและเยาวชนในเขตพนื้ ที่

(๗) เสนอแนะและให้ความเห็นตอ่ สภาเด็กและเยาวชนอําเภอ เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา
เดก็ และเยาวชนในท้องถนิ่

(๘) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและองค์กร
เอกชนหรือองค์กรชุมชนทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเดก็ และเยาวชนในเขตพน้ื ท่ี

(๙) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ โดยให้
คณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนตําบลหรอื คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล แล้วแต่กรณี เป็นผู้เสนอ
ทง้ั น้ี ให้สอดคล้องกับขอ้ บงั คบั ของสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย

พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๗

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๖๓ ก หนา้ ๕ ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๒๔ ให้มีสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ ซึ่งสมาชิกประกอบด้วยคณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนตาํ บล และคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล ท่ีอยู่ในเขตพ้นื ทอ่ี ําเภอน้นั

ให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขต ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งสมาชิกประกอบด้วยเด็กและเยาวชนที่อยู่
ในเขตพน้ื ทก่ี รุงเทพมหานครแตล่ ะเขตน้ัน

ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอและคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต
ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่งคน และผู้บริหารอีกไม่เกินยี่สิบคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็ก
และเยาวชนอําเภอหรือสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนเขต แล้วแต่กรณี โดยคํานึงถึงผู้พิการและ
ผู้ด้อยโอกาส ให้มีหน้าที่บริหารงานท่ัวไปของสภาเด็กและเยาวชน และปรึกษาหารือร่วมกันเพื่อกําหนด
แนวทางในการจัดกจิ กรรมการพฒั นาเด็กและเยาวชนในเขตพ้นื ท่ี รวมท้ังดาํ เนินการอื่นใดที่จําเป็นเพ่ือให้บรรลุ
วัตถุประสงคข์ องพระราชบัญญัตนิ ี้

ให้นายอําเภอหรือผู้อํานวยการเขต เป็นที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอหรือ
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต แล้วแต่กรณี และให้แต่งต้ังท่ีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนอําเภอหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต แล้วแต่กรณี จากพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัด หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวในแต่ละจังหวัด ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้แทนสถานศึกษา ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ที่เก่ียวขอ้ งกับการสง่ เสรมิ การพฒั นาเด็กและเยาวชนทตี่ ้ังอยู่ในเขตพื้นที่อําเภอหรือเขตในกรุงเทพมหานคร
และผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคมท่ีมีกิจกรรมหรือผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ทั้งน้ี
ใหเ้ ปน็ ไปตามทค่ี ณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนอําเภอหรอื คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนเขตเสนอ

มาตรา ๒๕ ให้สภาเด็กและเยาวชนอําเภอและสภาเด็กและเยาวชนเขต มีอํานาจหน้าท่ี
ดงั ต่อไปนี้

(๑) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ สภาเด็กและเยาวชนเขต สภาเด็กและ
เยาวชนจังหวัด และสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เพื่อแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์
ในดา้ นตา่ ง ๆ ของเดก็ และเยาวชน

(๒) ส่งเสริม สนับสนุน และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านวิชาการ การศึกษา สุขภาพ กีฬา
อาชีพ และวัฒนธรรมในท้องถ่นิ ของเดก็ และเยาวชน

(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้อง
กับความรู้ความสามารถที่พัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชน

(๔) จดั กิจกรรมต่าง ๆ เพ่อื ส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถ่ินให้มีความรู้ความสามารถ
รวมท้งั คณุ ธรรมและจริยธรรม

๒๘ พระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๖ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเร่ืองที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนที่
เพ่ือส่งต่อข้อมูลดังกล่าวให้กับสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดหรือสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
แลว้ แตก่ รณี

(๖) เสนอความเหน็ ต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องกบั กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
รวมทง้ั การแกป้ ัญหาท่ีมผี ลกระทบตอ่ เด็กและเยาวชนในเขตพื้นท่ี

(๗) เสนอแนะและให้ความเห็นต่อสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชน
กรงุ เทพมหานคร เกี่ยวกบั การสง่ เสริมและพฒั นาเด็กและเยาวชนในท้องถนิ่

(๘) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเก่ียวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและองค์กร
เอกชนหรือองคก์ รชุมชนทเี่ กย่ี วขอ้ งกับเด็กและเยาวชนในเขตพ้นื ที่

(๙) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าท่ี โดยให้
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต แล้วแต่กรณี เป็นผู้เสนอ
ท้งั นี้ ใหส้ อดคล้องกบั ข้อบงั คับของสภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทย

มาตรา ๒๖ ให้มีสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ซ่ึงสมาชิกประกอบด้วยประธานสภาเด็กและ
เยาวชนอาํ เภอทกุ อําเภอ และผแู้ ทนจากคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอแตล่ ะอําเภอ อาํ เภอละสี่คน

ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ประกอบด้วยประธานสภาหนึ่งคน และผู้บริหาร
อีกไม่เกินย่สี ิบคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด ให้มีหน้าที่บริหารงานท่ัวไป
ของสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และปรึกษาหารือร่วมกันเพ่ือกําหนดแนวทางในการจัดกิจกรรม
การพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนท่ี รวมท้ังดําเนินการอื่นใดท่ีจําเป็นเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
พระราชบัญญัตนิ ี้

ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และให้แต่งตั้งท่ีปรึกษา
คณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั จากพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ผู้อํานวยการ
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด หัวหน้าบ้านพักเด็กและ
ครอบครัวในแต่ละจังหวัด ผู้แทนสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน และ
ผแู้ ทนองค์กรภาคประชาสงั คมทีม่ ีกจิ กรรมหรือผลงานเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามท่ี
คณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวัดเสนอ

มาตรา ๒๗ ให้มสี ภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ซึ่งสมาชิกประกอบด้วย
(๑) ประธานสภาเด็กและเยาวชนเขต จากทกุ เขตในกรุงเทพมหานคร
(๒) ผแู้ ทนกล่มุ เด็กและเยาวชน ประกอบดว้ ย

(ก) ผู้แทนจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษา ระดับอาชีวศึกษา
และระดับอุดมศกึ ษา ระดับละสิบเอด็ คน

พระราชบญั ญตั สิ ่งเสริมการพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และที่แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๙

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๗ ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

(ข) ผู้แทนเด็กและเยาวชน ซึ่งมาจากการคัดเลือกกันเองจากกลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีได้
ลงทะเบียนไว้ตามระเบียบที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด โดยคํานึงถึงความหลากหลายของ
กลุม่ เดก็ และเยาวชน จาํ นวนสบิ สองคน ซ่งึ ต้องมาจากแต่ละกลมุ่ อยา่ งน้อยกลมุ่ ละหนง่ึ คน

ทั้งนี้ การคัดเลือกสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครให้คํานึงถึงผู้พิการและ
ผดู้ อ้ ยโอกาสด้วย

มาตรา ๒๘ ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย
ประธานสภาหน่ึงคน และผู้บริหารอีกไม่เกินย่ีสิบคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน
กรุงเทพมหานคร ให้มีหน้าที่บริหารงานท่ัวไปของสภาเด็กและเยาวชน และปรึกษาหารือร่วมกันเพื่อ
กําหนดแนวทางในการจัดกิจกรรมการพัฒนาเด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร รวมทั้งดําเนินการอ่ืนใด
ทีจ่ ําเปน็ เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องพระราชบัญญตั ินี้

ให้ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นท่ีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
และให้แต่งต้ังที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร จากผู้อํานวยการสํานักพัฒนา
สังคม ผู้อํานวยการสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเท่ียว ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา ผู้แทน
กรมกิจการเด็กและเยาวชน ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชน และผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคมที่มีกิจกรรมหรือผลงานเกี่ยวกับการพัฒนา
เดก็ และเยาวชน ทง้ั นี้ ใหเ้ ป็นไปตามทีค่ ณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานครเสนอ

มาตรา ๒๙ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดและสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
มีอาํ นาจหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปน้ี

(๑) ประสานงานระหว่างสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ
ของเดก็ และเยาวชน

(๒) สง่ เสริม สนับสนุน และเป็นศูนย์กลางการเรียนรูด้ า้ นวิชาการ การศึกษา สุขภาพ กฬี า อาชพี
และวฒั นธรรมในทอ้ งถ่นิ ของเดก็ และเยาวชน

(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่างสอดคล้อง
กับความรู้ความสามารถท่ีพัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะเรื่องท่ีมีผลกระทบต่อเด็กและ
เยาวชน

(๔) จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในท้องถ่ินให้มีความรู้
ความสามารถ รวมทง้ั คณุ ธรรมและจริยธรรม

(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเรื่องที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนที่
เพอื่ สง่ ตอ่ ข้อมลู ดงั กลา่ วใหก้ ับสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทย

(๖) เสนอความเห็นตอ่ หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องกับกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชน
รวมท้งั การแกป้ ัญหาทีม่ ผี ลกระทบตอ่ เด็กและเยาวชนในเขตพน้ื ที่

๓๐ พระราชบัญญัตสิ ่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หนา้ ๘ ๑๓ มิถนุ ายน ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

(๗) เสนอแนะและให้ความเห็นต่อสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการส่งเสริม
และพฒั นาเด็กและเยาวชนในท้องถ่นิ

(๘) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเก่ียวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและองค์กร
เอกชนหรอื องค์กรชุมชนทีเ่ กี่ยวข้องกบั เด็กและเยาวชนในเขตพ้ืนที่

(๙) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ โดยให้คณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัดหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี เป็นผู้เสนอ
ท้ังนี้ ใหส้ อดคล้องกับข้อบังคับของสภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย

มาตรา ๓๐ ใหม้ ีสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบด้วย
(๑) ประธานสภาเดก็ และเยาวชนจงั หวดั จากทกุ จงั หวดั
(๒) ประธานสภาเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
(๓) ผู้แทนเด็กและเยาวชน ซ่ึงมาจากการคัดเลือกกันเองจากกลุ่มเด็กและเยาวชนที่ได้
ลงทะเบียนไว้ตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกําหนด โดยคํานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มเด็กและเยาวชน
รวมทั้งผพู้ ิการและผูด้ ้อยโอกาส จํานวนสามสิบแปดคน
ให้มีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยประธานสภาหน่ึงคน และผู้บริหาร
อีกไม่เกินยี่สิบห้าคน ซ่ึงคัดเลือกกันเองจากสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ให้มีหน้าที่
บริหารงานทั่วไปของสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย และเสนอแผนงานหรือแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนในด้านต่าง ๆ ต่อกรมกิจการเด็กและเยาวชน เพ่ือประโยชน์ในการจัดทําแผนพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแห่งชาติ รวมทั้งเป็นผู้แทน หรือเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกผู้แทนเด็กและเยาวชนของประเทศ
ในการดําเนินกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ
ตลอดจนดาํ เนินการอื่นท่จี ําเปน็ เพื่อให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของพระราชบัญญตั ินี้
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งที่ปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยจาก
ผู้แทนกระทรวงยุติธรรม ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงวัฒนธรรม ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุด
ผู้แทนกรมกิจการเด็กและเยาวชน ผู้แทนหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชน และผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคมท่ีมีกิจกรรมหรือผลงานเก่ียวกับการพัฒนาเด็ก
และเยาวชน ทัง้ น้ี ใหเ้ ป็นไปตามทคี่ ณะบรหิ ารสภาเดก็ และเยาวชนแหง่ ประเทศไทยเสนอ
มาตรา ๓๑ ให้สภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทย มีอาํ นาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี
(๑) เป็นศูนย์กลางประสานงานเพื่อดาํ เนนิ กิจกรรมการสง่ เสรมิ และพัฒนาเด็กและเยาวชน
(๒) ให้ความร่วมมือในการดาํ เนินงานของรัฐและองค์กรเอกชนหรือองค์กรชุมชนในการส่งเสริม
และพฒั นาเดก็ และเยาวชน
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กและเยาวชนได้แสดงความคิดเห็นหรือแสดงออกอย่าง
สอดคล้องกับความรู้ความสามารถท่ีพัฒนาไปตามวัยของเด็กหรือเยาวชน โดยเฉพาะเรื่องท่ีมีผลกระทบ
ต่อเดก็ และเยาวชน

พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓๑

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หนา้ ๙ ๑๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๔) ให้ความเห็นในการกําหนดแนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของหน่วยงานของรัฐ
เพือ่ การสง่ เสริมและพัฒนาเดก็ และเยาวชน

(๕) รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ หรือประเมินเร่ืองที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน และข้อมูล
ท่ีถูกส่งต่อมายังสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย เพื่อเสนอคณะกรรมการพิจารณาเป็นแนวทาง
ในการสง่ เสริมและพฒั นาเดก็ และเยาวชน

(๖) เสนอความเหน็ ต่อหน่วยงานที่เกีย่ วข้องกับกิจกรรมการสง่ เสรมิ และพัฒนาเด็กและเยาวชน
รวมทั้งการแกป้ ญั หาท่ีมผี ลกระทบต่อเด็กและเยาวชน

(๗) เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและองค์กร
เอกชนหรือองคก์ รชมุ ชนทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั เด็กและเยาวชน

(๘) จดั ทําประมวลจรยิ ธรรมของสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน
(๙) ออกข้อบังคับเก่ียวกับการประชุมและการดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่ โดยให้คณะบริหาร
สภาเดก็ และเยาวชนแห่งประเทศไทยเปน็ ผ้เู สนอ
สภาเด็กและเยาวชนแหง่ ประเทศไทยตอ้ งจัดให้มีการประชมุ สามัญอยา่ งน้อยปลี ะสองครั้ง
มาตรา ๓๒ คณะบริหารตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิและไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดงั ต่อไปน้ี
(๑) มอี ายุไมเ่ กนิ ย่สี ิบหา้ ปี
(๒) ไมเ่ ปน็ ผูด้ ํารงตาํ แหนง่ ในทางการเมือง กรรมการหรือผู้ดํารงตําแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหาร
พรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง เจ้าหน้าที่พรรคการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ทอ้ งถิน่
มาตรา ๓๓ คณะบริหารมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปีนับแต่วันที่ได้รับ
การคัดเลือก ประธานสภาหรือผู้บริหารในคณะบริหารซึ่งพ้นจากตําแหน่งอาจได้รับการคัดเลือกอีกได้
แตต่ ้องดาํ รงตําแหนง่ ไมเ่ กนิ สองวาระติดตอ่ กนั
กรณีท่ีคณะบริหารพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้ดําเนินการคัดเลือกใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่
วันท่ีคณะบริหารพ้นจากตําแหน่งตามวาระ แต่ในระหว่างท่ียังมิได้มีการคัดเลือกคณะบริหาร ให้คณะบริหารน้ัน
ปฏบิ ัติหนา้ ทไี่ ปพลางก่อนจนกวา่ จะได้มกี ารคดั เลือกคณะบรหิ ารใหม่
ในวาระเริ่มแรก เมื่อคณะบริหารดํารงตําแหน่งครบหน่ึงปี ให้คณะบริหารยกเว้นประธานสภา
จับสลากออกกึ่งหนึ่ง และคัดเลือกผู้บริหารใหม่แทนตําแหน่งท่ีว่าง โดยให้ผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกใหม่
มีวาระการดาํ รงตาํ แหนง่ สองปี
มาตรา ๓๔ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ คณะบริหารพ้นจากตาํ แหน่ง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบตั ิหรอื มีลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๓๒
(๔) ถกู ถอดถอนจากตําแหน่งตามท่กี าํ หนดไวใ้ นขอ้ บังคบั ของสภาเดก็ และเยาวชน

๓๒ พระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๑๐ ๑๓ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๓๕ ในกรณีท่ีคณะบริหารของสภาเด็กและเยาวชนพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ
ให้มีการคัดเลือกผู้อื่นแทนตําแหน่งท่ีว่าง เว้นแต่วาระของผู้ที่พ้นจากตําแหน่งเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน
อาจคัดเลือกผู้อ่ืนแทนตําแหน่งท่ีว่างน้ันก็ได้ และให้ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกแทนตําแหน่งท่ีว่าง อยู่ในตําแหน่ง
เท่ากบั วาระทเี่ หลืออยูข่ องผูซ้ ่ึงตนแทน

มาตรา ๓๖ ให้กรมกิจการเด็กและเยาวชนดาํ เนินการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานงาน
การจัดต้ังและการดําเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนตําบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล สภาเด็ก
และเยาวชนอําเภอ สภาเด็กและเยาวชนจงั หวัด และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย

ให้กรมกิจการเด็กและเยาวชนร่วมกับกรุงเทพมหานครดําเนินการส่งเสริม สนับสนุนและ
ประสานงานการจัดตั้งและการดําเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนเขตและสภาเด็กและเยาวชน
กรงุ เทพมหานคร

มาตรา ๓๗ การประชุมของสภาเด็กและเยาวชน ต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ท้ังน้ี ให้การประชุมของสภาเด็กและเยาวชนเป็นไปตามระเบียบ
ท่รี ฐั มนตรีกาํ หนด

การวินิจฉยั ช้ขี าดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่ง
ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสียงเทา่ กนั ใหป้ ระธานในท่ีประชมุ ออกเสยี งเพิม่ ข้ึนอีกเสียงหนง่ึ เป็นเสียงช้ขี าด

มาตรา ๓๘ การดาํ เนินงานของสภาเด็กและเยาวชน และคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
ให้เป็นไปตามข้อบังคับท่ีสภาเด็กและเยาวชนได้กําหนดไว้ ทั้งน้ี ให้สภาเด็กและเยาวชนจัดให้มี
การประชุมสามัญอย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง เว้นแต่สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยตามมาตรา ๓๑
วรรคสอง และให้คณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนจัดใหม้ กี ารประชมุ อยา่ งนอ้ ยปีละสองครั้ง”

มาตรา ๑๐ ในวาระเรมิ่ แรก ใหม้ ีการดาํ เนินการดงั ต่อไปน้ี
(๑) ให้มีสภาเด็กและเยาวชนตําบลหรือสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตามมาตรา ๒๒ ให้แล้วเสร็จ
ภายในหนึ่งรอ้ ยย่ีสิบวันนบั แตว่ ันท่พี ระราชบญั ญัตินใี้ ชบ้ ังคบั
(๒) ให้มีสภาเด็กและเยาวชนเขตตามมาตรา ๒๔ ให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงร้อยห้าสิบวันนับแต่
วนั ทีพ่ ระราชบญั ญัตินใ้ี ช้บงั คับ
(๓) ใหม้ สี ภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานครตามมาตรา ๒๘ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
นบั แตว่ ันที่พระราชบัญญัตนิ ใ้ี ช้บงั คบั
มาตรา ๑๑ ให้สภาเด็กและเยาวชนอําเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและ
เยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่มีอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ
เป็นสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่งึ แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติน้ี

พระราชบญั ญัตสิ ่งเสรมิ การพัฒนาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓๓

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หน้า ๑๑ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๑๒ ให้คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
จังหวัด คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงดํารงตําแหน่งอยู่ใน
วันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ยังคงปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ต่อไปจนกว่าจะมีการคัดเลือกคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนอําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
กรุงเทพมหานคร และคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
การพฒั นาเด็กและเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซง่ึ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ิน้ี

มาตรา ๑๓ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้

ผูร้ ับสนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

๓๔ พระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ การพัฒนาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๖๓ ก หนา้ ๑๒ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มบี ทบัญญตั ิบางประการไม่เหมาะสมกบั สภาพการณ์ในปัจจบุ ัน ทําให้ไม่อาจ
ส่งเสริมเด็กและเยาวชนในทุกระดับให้มีส่วนร่วมในการดําเนินงานเพ่ือการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ รวมท้ังการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ
ท่ีมีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน ตลอดจนสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้มีการแสดงออกท่ีสอดคล้องกับระดับ
ความร้คู วามสามารถซึ่งพัฒนาไปตามวัยของเด็กและเยาวชน สมควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติเพื่อให้การส่งเสริม
การพฒั นาเด็กและเยาวชนมปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้ จึงจาํ เปน็ ต้องตราพระราชบญั ญตั ิน้ี

พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนแหง่ ชาติ พ.ศ.​๒๕๕๐ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.)
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พม.)
เลขท่ี ๖๑๘/๑ ถนนนิคมมักกะสัน ราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐

www.dcy.go.th


Click to View FlipBook Version