The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานคอมพิวเตอร์ รวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natamon3364, 2021-09-28 03:53:17

TO DO LIST ม.4.9

โครงงานคอมพิวเตอร์ รวม

โครงงานคอมพิวเตอร

เรอ่ื ง TO DO LIST

เสนอ

คุณครูฐิติภัทร ทองมา

จดั ทำโดย

1. นางสาวณฐมน วงั สขุ เลขที่ 10
2. นางสาวนาเดยี กรมี ี เลขท่ี 18
3. นางสาวปยธิดา สุทธชิ าติ เลขท่ี 22
4. นางสาวภัชชนก นิรนิ ธนชาติ เลขที่ 30

ช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 4 หอง 9

รายงานวิชา วิทยาการคำนวณ 3 รหัสวิชา ว30113
ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2564

โรงเรียนสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

เกี่ยวกับโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร

เรือ่ ง TO DO LIST

กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

ผูจดั ทำ 1. นางสาวณฐมน วงั สุข เลขท่ี 10
2. นางสาวนาเดยี กรมี ี เลขท่ี 18
3. นางสาวปยธิดา สทุ ธชิ าติ เลขท่ี 22
4. นางสาวภัชชนก นิรินธนชาติ เลขท่ี 30

ครทู ปี่ รึกษา 1. คณุ ครูปยภทั ร เสลาวรรณ
สถานศึกษา โรงเรียนสตรวี ิทยา เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร
ปการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2564

1

บทคดั ยอ

ชือ่ โครงงาน แอปเพอ่ื การจดบนั ทกึ ขอมูล
TO DO LIST
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 4 หอง 9
ภาคเรียนที่ 1

ปการศกึ ษา 2564

ครูที่ปรึกษา 1. คุณครูปยภทั ร เสลาวรรณ

โครงงานเรื่อง TO DO LIST จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาการสรางผลงานดานคอมพิวเตอร โดยมีเนื้อหา
เกีย่ วกบั การจดบันทึกงานในชวี ิตประจำวนั และคำนวณความสมบรู ณของงาน เร่อื ง TO DO LIST ซึ่งเปนหัวขอ
ในการสรางผลงานดานคอมพิวเตอร เนื่องจากกลุมของขาพเจาตองการศึกษาการบันทึกและการคำนวณของ
แอพลิเคชนั โดยไดจัดทำเปนโครงงานเพื่อการศึกษาและเพื่อรุนตอไป รวมไปถึงบุคคลทตี่ อการศึกษาเรื่องการ
บนั ทึกและการคำนวณ นอกจากนยี้ งั มีเนือ้ หาอื่นทน่ี าสนใจศึกษาและพฒั นาตอไปไดอีก

2

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานคอมพิวเตอร เรื่อง TO DO LIST ประกอบวชิ าโครงงานคอมพิวเตอร โดยมีการสรางผลงาน
ดานคอมพิวเตอร สามารถดำเนินงานไปอยางมีระบบ ตามขั้นตอนที่วางไว จนทำใหงานสำเร็จลุลวงไปดวยดี
เนอ่ื งจากการเรียนการสอนและการใหคำปรกึ ษาแนะนำ จาก ครูที่ปรกึ ษาประจำวชิ าโครงงานคอมพวิ เตอร ซึง่
ใหความรูทางดานวิชาการและตลอดจนการใหคำแนะนำในการทำโครงงาน เรื่อง TO DO LIST พรอมทั้งยัง
อธิบายวิธีการทำและโปรแกรมทางคอมพิวเตอร คือ เพื่อใชประกอบกับโครงงาน จากคำแนะนำของครูที่
ปรึกษา ทำใหกลุมขาพเจา มีแนวทางในการดำเนินงานและทำงานกันไดอยางเปนระบบ จนสำเร็จลุลวงไป
ดวยดี จึงขอขอบพระคุณ มาไว ณ ทีน่ ี้ดวย

คณะผูจดั ทำ

1. นางสาวณฐมน วงั สุข เลขที่ 10
2. นางสาวนาเดีย กรีมี เลขท่ี 18
3. นางสาวปยธดิ า สทุ ธชิ าติ เลขท่ี 22

4. นางสาวภัชชนก นิรินธนชาติ เลขท่ี 30

ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 4.9

3

สารบัญ

หนา

บทคดั ยอ......................................................................................................................... (1)
กิตติกรรมประกาศ.......................................................................................................... (2)
สารบัญ........................................................................................................................... (3)
บทที่
1 บทนำ............................................................................................................... (5)

แนวคดิ และความสำคญั ................................................................................... (5)
วตั ถปุ ระสงค.................................................................................................... (6)
ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน..................................................................................... (6)
แผนการดำเนินงาน.......................................................................................... (6)
ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั ............................................................................... (7)
2 เอกสารทีเ่ กย่ี วของ........................................................................................... (8)
โครงงานคอมพิวเตอร
ความหมายของโครงงานคอมพวิ เตอร............................................................. (8)
องคประกอบของโครงงานคอมพวิ เตอร.......................................................... (8)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร.................................................................. (9)
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพวิ เตอร............................................................... (9)
โปรแกรมทใ่ี ชในการทำโครงงาน
แนวคดิ และทฤษฎี……………………….……………………………………………………….. (9)
เอกสารทเ่ี กยี่ วของ……………………………………………………………………………….. (12)
3 วิธีดำเนินการ................................................................................................... (17)
การเตรยี มพฒั นาโครงงาน............................................................................... (17)
การลงมอื พัฒนา.............................................................................................. (17)
4 ผลการดำเนินการ............................................................................................ (18)
5 อภิปรายผล ประโยชนท่ไี ดรบั จากโครงงาน และขอเสนอแนะ..................... (19)
อภปิ รายผล………………………………………………................................................ (19)
ประโยชนที่ไดรับจากโครงงาน……………………………........................................ (19)
ขอเสนอแนะ................................................................................................... (19)
6 ภาคผนวก
ก ประมวลภาพในการทำงาน………………………………………………….............. (21)

4

7 ประวัติผจู ดั ทำ…………………………………………………...................………............. (23)
8 บรรณานุกรม……………………………………………………………………………............. (24)

5

บทท่ี 1
บทนำ

แนวคดิ และความสำคญั
โครงงานคอมพิวเตอร คือ ผลงานทไี่ ดจากการศกึ ษาคนควาตามความสนใจ ความถนดั และ

ความสามารถของผูเรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร โครงงานจงึ เปนกิจกรรมการเรยี นรทู ่มี กี ารเนนผูเรียน
เปนสำคญั โดยผเู รียนจะหาหัวขอโครงงานทตี่ นเองสนใจ รวมทง้ั เช่ือมโยงความรูตาง ๆ และความรดู าน
คอมพวิ เตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื สรางผลงานตามความตองการไดอยางเหมาะสม โดยมีครูเปนที่
ปรกึ ษาและใหคำแนะนำความสามารถท่ีเกดิ จากการทำโครงงานคอมพิวเตอร โครงงานคอมพวิ เตอรเปน
กจิ กรรมการเรยี นรทู ี่ทำใหผูเรียนเกิดความสามารถในดานตาง ๆ ท่ีสำคัญ 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปนความสามารถท่เี กิดจากการทีน่ ักเรยี นเปนผทู ำโครงงานตอง
นำเสนอผลงานให ครูและเพื่อนนักเรยี นใหเขาใจโครงงานคอมพิวเตอรไดอยางชดั เจน ดงั นน้ั ผทู ำโครงงานตอง
สื่อสารความคดิ ในการสรางสรรคโครงงานดวยการเขียน หรอื ดวยปากเปลา รวมทัง้ เลือกใชรูปแบบของสือ่
อยางมีประสิทธภิ าพเพือ่ นำเสนอแนวคิดในการจดั โครงงานใหผอู ื่นไดเขาใจ

2. ความสามารถในการคิด ซึง่ ผูเรยี นจะมีการคดิ ในลักษณะตาง ๆ ดงั นี้
2.1. การคิดวิเคราะห เกิดจากการที่ผเู รยี นตองวิเคราะหปญหาและแยกแยะสาเหตุวาเกดิ จากอะไร
2.2. การคิดสังเคราะห เกิดจากการท่ีผเู รยี นตองนำความรตู าง ๆ ท่ีเรยี นมา รวมท้ังความรจู ากการ

คนหาขอมูล เพื่อใชในการแกปญหาหรอื การสรางสรรคโครงงาน
2.3. การคิดอยางสรางสรรค เกิดจากการที่ผเู รียนนำความรมู าสรางสรรคผลงานใหม ๆ
2.4. การคิดอยางมวี จิ ารณญาณ เกดิ จากการท่ีผูเรียนไดมีการคดิ ไตรตรองวาควรทำโครงงานใดและ

ไมควรทำโครงงานใด เนอื่ งจากโครงงานทีส่ รางข้ึนอาจสงผลกระทบตอสังคมโดยรวม เชน
โครงงานระบบคำนวณเลขหวย สำหรบั หาเลขที่คาดวาสลากกินแบงรัฐบาลจะออกในแตละงวด
อาจสงผลกระทบตอสงั คม ทำใหคนในสงั คมเกดิ ความหมกมนุ ในกบั การใชเงินเลนหวยมากขน้ึ
2.5. การคดิ อยางเปนระบบ เกดิ จากการทผ่ี ูเรยี นคิดแกปญหาอยางเปนขัน้ ตอน โดยใชข้ันตอนใน
การพฒั นาโครงงาน คือ ผเู รยี นเปนผูวางแผนในการศกึ ษา คนควา เกบ็ รวบรวมขอมูล พัฒนา
หรือประดิษฐคิดคนผลงาน รวมทัง้ การสรปุ ผลและการนำเสนอผลการศกึ ษาคนควาดวยตนเอง
โดยมีผูสอนและผูทรงคณุ วุฒเิ ปนผูใหคำปรึกษา
3. ความสามารถในการแกปญหา เกิดจากการท่ีผูเรียนวิเคราะหปญหา เขาใจ และอธิบายปญหา
ทางดานคอมพิวเตอร รวมท้ังประยุกตความรู ทกั ษะ และการใชเคร่อื งมอื ที่เหมาะสมกับการแกไขปญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ เกดิ จากการทีผ่ เู รยี นไดนำความรแู ละกระบวนการตาง ๆ ไปใช
ในการพัฒนาโครงงาน และนำไปประยกุ ตใชในชีวติ ประจำวันไดอยางเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน
กอใหเกดิ การเรยี นรดู วยตนเอง อนั นำไปสูการเรยี นรตู ลอดชวี ิต

6

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เกิดจากการท่ผี ูเรยี นสามารถเลือกใชเทคโนโลยสี ารสนเทศใน
การแกปญหาได อยางถกู ตองเหมาะสม และมีคุณธรรม

คอมพวิ เตอรเขามามีบทบาทกับวถิ ชี วี ิตประจำวันและความเปนอยูมากข้นึ รวมทั้งสถาบนั การศึกษา
ทุกแหงใหความสนใจในเรอื่ งการประยกุ ตเพ่อื ประโยชนทางการศึกษา การเรียนการสอน และการแบงปน
แลกเปลีย่ นความคิดเห็นระหวางกนั ดวย ความกาวหนาของเทคโนโลยใี นปจจบุ นั ตอบสนองตอการประยุกตใช
กบั งานทุกดานไดเปนอยางดี

ในปจจบุ ันเราใชคอมพิวเตอรกันอยางแพรหลาย ยิ่งโดยเฉพาะในสถานการณปจจบุ นั ทีม่ ีการแพร
ระบาดของโรค Covid-19 ทำใหเราไมสามารถท่ีจะหลกี เล่ียงการใชคอมพวิ เตอรได คอมพวิ เตอรเปนเครอ่ื งมอื
อเิ ลก็ ทรอนกิ สทเี่ ขามาอำนวยความสะดวกใหกับเราทง้ั นก้ี ารใชคอมพวิ เตอรกม็ ที ัง้ ประโยชนและโทษขึ้นอยกู บั
การใชงานของผูใช ถาเราใชอยางถกู วธิ ีและเหมาะสมกจ็ ะเกิดประโยชนตอตวั ของเรา

วัตถปุ ระสงค เพ่ือสรางแอปพลิเคชันในการจดบันทกึ งานท่ไี ดรบั มอบหมายในแตละวนั
1. เพื่อเพือ่ ใหทราบถงึ ความสามารถในการทำงานท่ไี ดรับมอบหมาย
เพอ่ื ชวยในการจดจำงานท่ไี ดรับมอบหมายอยางเปนระบบ
2.

3.

ข้ันตอนการดำเนินงาน
1. ศึกษาและรวบรวมขอมลู
2. จดั แบบเสนอรางโครงงาน
3. เสนอโครงงานกับอาจารย
4. ศกึ ษาการใชโปรแกรม thunkable
5. เขยี นโคดทำแอปพลเิ คชนั
6. ทดสอบการทำงานของแอปพลเิ คชัน

แผนการปฏิบตั งิ าน
6-12 กรกฎาคม 2564 : หาหวั ขอโครงงาน
19-26 กรกฎาคม 2564 : เสนอหวั ขอโครงงาน
2-14 สงิ หาคม 2564 : เขยี นอลั กอริทมึ และ Flowchart ของโครงงาน
18-29 สิงหาคม 2564 : หาขอมลู ในการทำโครงงาน และศึกษาภาษาท่ใี ชในการเขยี น
5-13 กนั ยายน 2564 : เขียนแอปพลเิ คชัน

7

14-16 กนั ยายน 2564 : ทดสอบการทำงานของแอปพลเิ คชนั และแกไข
16-20 กันยายน 2564 : ทำรปู เลมโครงงาน
24 กนั ยายน 2564 : นำเสนอโครงงาน

ประโยชนท่คี าดวาจะไดรบั

1. ผใู ชงานทราบถงึ ภาระงานที่ตนเองตองทำไดทันทที ต่ี องการ
2. ผูใชงานสามารถสรุปและประเมินความสามารถในการทำงานที่ตนเองไดรบั มอบหมายไดตาม

ตองการ
3. ผูใชงานสามารถทราบถงึ วันกำหนดสงของงานแตละงานไดทันทที ีต่ องการ

8

บทท่ี 2
เอกสารที่เก่ยี วของ

โครงงานคอมพิวเตอร เร่ือง TO DO LIST จดั ทำขึ้นเพ่อื ศึกษาการบันทกึ และการคำนวณ ประกอบ
วชิ าพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร โดยมีเน้ือหาเกยี่ วกบั การจดบันทกึ สง่ิ ทเี่ ราตองทำในแตละวันและคำนวณ
ความสมบูรณของงานท่ีเราทำเสรจ็ และจัดเปนโครงงานคอมพวิ เตอรประเภทการประยุกตใชงานมหี ลกั และ
ทฤษฎีที่เกี่ยวของดังน้ี

โครงงานคอมพิวเตอร
1. โครงงานคอมพิวเตอร คอื กจิ กรรมการเรยี นทีน่ ักเรียนมอี สิ ระในการเลอื กศกึ ษาปญหาท่ีตนเอง
สนใจ โดยจะตองวางแผนการดำเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใชความรูทางกระบวนการ
วศิ วกรรมซอฟตแวร เครือ่ งคอมพวิ เตอรและอปุ กรณที่เกีย่ วของ ตลอดจนทักษะพืน้ ฐานในการพฒั นา
โครงงาน เร่ืองทนี่ ักเรยี นสนใจและคดิ จะทำโครงงาน ซึ่งอาจมีผูศึกษามากอนหรือเปนเร่อื งที่นักพัฒนา
โปรแกรมไดเคยคนควาและพัฒนาแลว นักเรยี นสามารถทำโครงงานเรอ่ื งดังกลาวได แตตองคดิ
ดัดแปลงแนวทางในการศกึ ษา การวิเคราะหขอมูล การพัฒนาโปรแกรม หรอื ศกึ ษาเพิ่มเตมิ จาก
ผลงานเดมิ ที่มีผูรายงานไว จดุ มุงหมายสำคญั ของการทำโครงงานเปนการเปดโอกาสใหนกั เรยี นไดรบั
ประสบการณตรงในการใชระบบคอมพิวเตอรแกปญหา ประดิษฐคดิ คนหรือคนควาหาความรตู างๆ ใช
คอมพิวเตอรในการพัฒนาสอ่ื การเรยี นรเู พอ่ื การศกึ ษา ประดิษฐฮารดแวร ซอฟตแวร หรืออุปกรณใช
สอยตางๆ พฒั นาโปรแกรมประยุกตตางๆ ตลอดจนการพฒั นาเกมคอมพิวเตอร เพ่อื ฝกใหนักเรียน
เปนบคุ คลทใ่ี ฝเรยี นใฝรู การพัฒนาความคดิ ใหมๆ ความมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม เออ้ื เฟอเผอ่ื แผใหกับ
เพื่อนมนุษยและอยใู นสังคมอยางมีความสุข

2. องคประกอบของโครงงานคอมพวิ เตอร ประกอบดวย
2.1. ชอ่ื โครงงาน
2.2. ชอื่ ผจู ัดทำ
2.3. ครูที่ปรึกษา
2.4. ระยะเวลาการดำเนนิ งาน
2.5. แนวคิดทมี่ า
2.6. วัตถุประสงค
2.7. หลกั การและทฤษฎี
2.8. วธิ ีดำเนนิ งาน
2.9. ข้นั ตอนปฏบิ ัติงาน

9

2.10. ผลที่คาดวาจะไดรับ
2.11. เอกสารอางอิง

3. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร แบงเปน
3.1. โครงงานพฒั นาส่อื เพอื่ การศกึ ษา (Educational Media)
3.2. โครงงานพฒั นาเครอื่ งมือ (Tools Development)
3.3. โครงงานประเภทจำลองทฤษฎี (Theory Experiment)
3.4. โครงงานประเภทการประยุกตใชงาน (Application)
3.5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)

4. ขัน้ ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร ประกอบดวย
4.1. การเตรยี มการ
4.2. การลงมือพฒั นา
4.3. การทดสอบผลงานและแกไช
4.4. การอภิปรายและขอเสนอแนะ
4.5. แนะทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและขอเสนอแนะ

โปรแกรมท่ีใชในการทำโครงงาน
1. Thunkable.com

เรือ่ ง TO DO LIST
แอปพลเิ คชัน TO DO LIST เขามามีบทบาทอยางมากในการรบั ขอมูลงานและการแจงเตือนขอมูล

งานตางๆ เน่ืองจากผคู นในปจจบุ นั มกี ารใชสมารทโฟนและคอมพิวเตอรเพื่อที่จะเขาถงึ แอปพลิเคชันตางๆ
รวมถงึ แอปพลิเคชนั การบันทกึ ขอมูลอยาง TO DO LIST ไดงายมากยงิ่ ข้ึน ในปจจบุ ันการมีสมารทโฟน
คอมพิวเตอร โนตบุค ไมใชเร่อื งแปลก เราสามารถพบเจอผูคนที่ใชอุปกรณอิเลก็ ทรอนิกสเหลาน้เี พอ่ื อำนวย
ความสะดวกใหกบั ตนเองไดอยางงายดาย ไมวาจะเปนออฟฟศ Co-Working space หรือแมแตรานกาแฟ เรา
ก็สามารถพบเจอสิ่งตางๆเหลานไี้ ด โดยมกี ารกลาววา สมารทโฟน คอื โทรศพั ทมือถือท่ีนอกเหนอื จากใชโทร
ออกรับสายแลวยงั มแี อพพลิเคช่ันใหใชงานมากมาย สามารถรองรับการใชงานอินเทอรเน็ตผาน 3G, Wi-Fi
และสามารถใชงานโซเชียลเน็ตเวิรคและแอปพลิเคชนั สนทนาชน้ั นำ เชน LINE, Youtube, Facebook,
Twitter ฯลฯ โดยท่ีผูใชสามารถปรบั แตงลูกเลนการใชงานสมารทโฟนใหตรงกบั ความตองการไดมากกวา
มอื ถอื ธรรมดา ผูผลติ สมารทโฟนรนุ ใหมๆ นยิ มผลิตสมารทโฟนที่มีหนาจอระบบสมั ผัส ใสกลองถายรปู ทม่ี ี
ความละเอยี ดสูง ออกแบบดไี ซนใหสวยงามทันสมัย มีแอพพลเิ คชน่ั และลกู เลนทน่ี าสนใจทำใหผูคนหันมาสนใจ

10

สมารทโฟนมากยงิ่ ข้ึน คอมพิวเตอร คอื เคร่อื งมือชวยในการจดั การกับขอมูลท่อี าจเปนได ท้งั ตัวเลข ตัวอักษร
หรอื สญั ลักษณท่ีใชแทนความหมายในสิ่งตาง ๆ โดยคณุ สมบัติทสี่ ำคัญของคอมพิวเตอรคอื การท่ีสามารถ
กำหนดชุดคำสัง่ ลวงหนาหรอื โปรแกรมได (programmable) น่นั คอื คอมพวิ เตอร สามารถทำงานได
หลากหลายรูปแบบข้นึ อยกู ับชุดคำส่งั ที่เลือกมาใชงาน ทำใหสามารถนำคอมพิวเตอรไปประยกุ ตใชงานไดอยาง
กวางขวาง เชน ใชในการตรวจคล่นื ความถ่ขี องหัวใจ การฝาก - ถอนเงินในธนาคาร การตรวจสอบสภาพ
เครื่องยนต เปนตน ขอดขี องคอมพิวเตอร คอื เคร่ืองคอมพิวเตอรสามารถทำงานไดอยางมปี ระสิทธิภาพ
มคี วามถูกตองและมคี วามรวดเรว็ อยางไรก็ดไี มวาจะเปนงานชนดิ ใดกต็ ามเครื่องคอมพวิ เตอรจะมีวงจรการ
ทำงานพืน้ ฐาน 4 อยาง ไดแก การรับขอมูล การประมวลผล การแสดงผล และการเกบ็ ขอมูล อยางไรก็ตาม
จากการกลาวขางตนทำใหเราเขาใจจุดประสงคของการผลิตนั้นๆ โดยแอปพลิเคชัน TO DO LIST จะอยใู น
อุปกรณตางๆเหลาน้ีและชวยอำนวยความสะดวกใหแกผใู ชงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจบุ นั มีการ work
from home, online class ตางๆไมวาจะเปนชวงวัยประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอดุ มศกึ ษา ทำใหแอป
พลิเคชนั TO DO LIST มีการใชอยางแพรหลายมากยิ่งขึน้ และมคี วามจำเปนตอตวั ผูใชในชวี ติ ประจำวัน

แนวคิดของแอปพลเิ คชนั ในการจดบนั ทึกขอมลู ( To do list )
การบันทึก คอื ขอความหรอื ขอมูลที่เปนประสบการณความรูหรือสาระสำคัญของเร่ืองราวทต่ี องการ

เกบ็ รักษาไวเพือ่ ประโยชนอยางใดอยางหนึ่ง เชน เพ่ือเตือนความจำ เพ่อื เปนหลักฐานในการทำงานตาง ๆ หรือ
เพือ่ ประโยชนในดานอน่ื ๆ เชน เพื่อการถายทอดตอ หรือเพอื่ นำไปแสวงหาผลตอบแทน เปนตน

List หรือ รายการ หมายถงึ รายการขอมลู ทม่ี กี ารเรยี งลำดบั ในลกั ษณะใดลักษณะหนึง่ เชน เรียงตาม
ตวั อกั ษร ตามความมากนอย เชน สมดุ โทรศพั ท ก็คือรายการของชอื่ และหมายเลขโทรศัพทของชอ่ื แตละช่ือ

1. ความสำคัญของการจดบันทกึ
1.1. เปนหลกั ฐานในการดำเนินงานทปี่ ฏิบัตงิ านอยู หรือเปนหลกั ฐานในงานท่ไี ดกำลังดำเนนิ การเสร็จ

เรียบรอยแลว
1.2. เปนเครอ่ื งมอื ชส้ี มรรถภาพในการทำงานใหทราบถึงผลงานที่ปฏิบัตมิ าแลว วาเปนอยางไร
1.3. เปนแนวทางในการปฏบิ ัติงานในอนาคต เม่ือไดมกี ารจดบันทึกไวอยางถูกตอง สามารถนำมา

เปรยี บเทียบสวนดแี ละเสยี ของงานเดิม และนำเอาสวนทไี่ มดมี าปรบั ปรุงแกไขใหไดผลดีย่งิ ขน้ึ
1.4. เปนหลกั ฐานในการตรวจสอบความถูกตองของการปฏบิ ตั ิงานได
1.5. เปนขอมูลสำหรบั อางอิงในการเขียนทางวชิ าการ
2. ประโยชนของการจดบนั ทึก
2.1. เพ่ิมสมาธใิ นการฟง การจดจะทำใหเราฟงอยางตั้งใจมากข้ึน
2.2. เพม่ิ ความเขาใจ การจดบันทกึ เรือ่ งราวตาง ๆ เปนการสรางความเขาใจในเนอื้ หามากข้ึน
2.3. เพิม่ ความจำ เม่ือมกี ารจดบนั ทึก ชวยใหเราจดจำเนือ้ หาไดดีขึน้
2.4. ใชเปนแหลงสบื คนในภายหลงั นบั เปนหลกั ฐานอยางไมเปนทางการได

11

2.5. สรางภาพลักษณท่ีดีใหกบั ตวั เอง การเปนผูจดบันทกึ จนเปนนิสยั จะสรางภาพลักษณท่ดี ูดี
ภมู ิฐานใหกบั ตัวเอง

3. ประเภทของการจดบันทกึ การจดบันทึก แบงได 2 แบบหลกั ๆ คอื
3.1. บนั ทกึ ท่วั ไป เปนการจดบนั ทึกเรือ่ งราวจากการอาน บนั ทกึ การฟง บันทึกเหตุการณใน

ชวี ิตประจำวัน ไดอาร่ี บนั ทึกนัดหมาย บันทึกเรื่องราวสำคัญตาง ๆ เปนตน
3.2. บันทึกทางธุรกิจ บนั ทกึ ทใ่ี ชส่อื สารในองคกร โดยแตละท่อี าจจะมีรูปแบบหรือแบบฟอรม

ของตัวเอง

ความสำคัญของการทำแอปพลเิ คชันการจดบนั ทกึ ขอมลู
1. ชวยใหไมตองจำ สง่ิ ทห่ี ลายๆ คนมักทำกนั เวลาไดงานหรอื สง่ิ ที่ตองทำเขามา คอื การพยายามจำเขา
ไปในสมองใหได แลวกค็ ดิ ทำนองวาคงไมลมื หรอก แตในความจริงแลวเรามกั จะลืมหลายๆ เรอ่ื งไปอยาง
รวดเรว็ เพราะทกุ ๆ นาทเี ราจะมีสง่ิ เราตางๆ รอบตัวกระตุนและดึงความสนใจอยูตลอด การรบี จดโนตตางๆ
เปนนิสัยจะทำใหคณุ เบาภาระสมองจากเร่ืองเหลานีไ้ ดมากโข เรยี กไดวาแทนทคี่ ุณจะตองใชสมาธแิ ละพลงั งาน
ในการพยายามจำลิสตทกุ อยางของคณุ คุณกใ็ ชกระดาษและปากกาชวยแทนเสียยงั ดกี วา แถมคณุ จะไดไมตอง
หลงๆ ลืมๆ อะไรบอยๆ ดวย
2. ชวยใหเห็นภาพรวม หลักสำคัญของการจด To-do-list คือการเขียนสิ่งทต่ี องทำทุกๆ อยางออกมา
และนนั่ ทำใหคุณเห็นวาในแตละวนั (หรอื แตละชวงเวลา) คุณตองทำอะไรอยางไร และนั่นทำใหคุณเร่ิมนึกออก
มากขน้ึ วาคณุ มเี วลาเพียงพอหรอื ไม จะวางแผนชีวติ อยางไรเพ่อื จดั การส่งิ ตางๆ ใหไดหมด ซ่ึงน่นั ผิดกับการท่ี
คณุ เอาแตคิดในหัวและหลายๆ ครงั้ กเ็ ผลอโฟกสั ไปท่เี รือ่ งบางเร่ืองจนลืมหลายๆ เรื่องไป กวาจะรตู ัวอกี ที ก็
กลายเปนวาเวลาหมดไปแลวนัน่ เอง
3. ชวยใหรูจักการใหลำดับความสำคัญ นอกจากการเหน็ ภาพรวมแลว สิง่ สำคัญตามมาคือการท่คี ุณ
สามารถรูไดวาคุณควรจะบริหารจดั การกับสง่ิ ทีต่ องทำอยางไร อะไรทำกอนทำหลงั อะไรท่ีคุณควรจะใชพลงั
กบั มนั เปนอันดบั ตนๆ ฯลฯ และนน่ั คือหวั ใจสำคัญของการจดั ลำดับความสำคญั ของส่ิงทคี่ ุณกำลังจะลงมือทำ
นัน่ แหละ แนนอนวาเรอ่ื งนีจ้ ะโยงไปถึงหลกั การจดั ลำดับความสำคัญดวยซง่ึ คณุ เองกต็ องไปเรียนรเู ทคนคิ นน้ั
อีกตอหนึง่
4. ชวยใหสอ่ื สารกบั คนอน่ื ไดเขาใจมากข้ึน “คุณกำลังทำอะไรอย”ู เปนคำถามท่หี ลายๆ คนนาจะโดน
ถามกนั บอยๆ แลวบางทีเราก็ไมรูจะตอบมันอยางไรเพราะหลายๆ คนเองกท็ ำงานไปเรื่อยๆ โดยลืมจะใชเวลา
ในการพจิ ารณาหรือสรุปความคิดใหเปนชน้ิ เปนอัน การทำ To-do-list ในทกุ ๆ วันก็มีสวนสำคญั ในการใหคณุ
ไดใชเวลาสกั 5-10 นาทีในการมองงานของคณุ ใหเวลาคุณเรยี นรแู ละเขาใจสงิ่ ท่ีคณุ ทำทกุ ๆ วนั และถาคุณคิด
ไปไดมากกวาน้ัน คุณก็จะสามารถเขาใจภาพใหญวาคุณกำลงั ทำอะไรอยเู พอื่ จะสอ่ื สารกบั คนอื่นไดงายขน้ึ
นัน่ เอง

12

5. ชวยฝกในการมองเห็นรายละเอียดตางๆ สำหรับบางคนน้นั การทำ To-do-list คือการแตกสง่ิ ท่ี
ตองทำตางๆ ใหละเอยี ดกวาการบอกแคชื่อโปรเจคลอยๆ และนั่นทำใหคนทำงานหลายคนเห็นลำดับข้นั ตอน
ตางๆ อยางชดั เจนมากข้ึน สามารถรไู ดวาจดุ ไหนจะตองทำอะไร อยางไร และฝกใหคนท่ีทำแบบน้รี จู กั
วิเคราะหสิง่ ตางๆ ในระดับรายละเอียดที่ดขี ึน้ กวาเดมิ ดวย

6. ชวยใหมสี มาธอิ ยางตอเนือ่ ง ไมขาดตอน เมื่อไมมกี ารเขยี น TO DO LIST เตรยี มไว หลงั ทำงานนงึ
เสร็จกจ็ ะเกิดคำถามวา “งานตอไปคืออะไร?” ซึ่งชวงเวลาทีต่ องมานง่ั คิดนี่แหละ สงผลใหสมาธิทกี่ ำลังไดทถี่ ูก
รบกวน ไมตอเน่อื ง และตองเสียเวลารวบรวมสมาธใิ หมกอนเรม่ิ ทำงานถดั ไปทกุ ครงั้ แตหากมี TO DO LIST
เตรียมพรอมเอาไว เพยี งแคเหลือบไปอานก็สามารถทราบไดทันทวี าสง่ิ ทตี่ องทำตอคอื อะไร โดยไมเสียสมาธิ
และทำงานตอไปไดอยางรวดเร็วและตอเนอ่ื ง

7. ลดความผดิ พลาดใหเปนศนู ย เมื่องานลนมอื จะทำใหเกิดความสบั สนและเกิดความผิดพลาดไดงาย
หลายคนมักเชอ่ื มน่ั วาตนเองมคี วามจำท่ีดี แตอยางไรกต็ าม “การจำ” มปี ระสทิ ธภิ าพนอยกวา “การจด”
หลายเทา ดงั นน้ั TO DO LIST จึงเปนตัวชวยในการเรียบเรยี งความคดิ และงาน หรอื สิ่งทต่ี องทำออกมาได
ทงั้ หมดอยางเปนระบบ ซึ่งสามารถชวยแกนิสยั ข้ีลืม ปญหาการจัดลำดับความสำคญั ผิด อนั เปนสาเหตุหลกั ท่ี
ทำใหเกิดความความผิดพลาดในการทำงานไดอยางมาก
แหลงขอมูล :
https://officeaceshop.com/benefits-of-note/
https://miraicampus.com/to-do-list/
https://www.nuttaputch.com/5-good-things-from-to-do-list/
https://sites.google.com/a/ccat.ac.th/

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วของ
Michael Greshko. (2562). ความจำของมนุษย. มนุษยเก็บความทรงจำประเภทตางๆ สำหรับ

ชวงเวลาซ่ึงแตกตางกันไป ความทรงจำระยะส้ันคงอยไู ดเพียงไมก่วี ินาทีจนถึงชั่วโมง ขณะที่ความทรงจำระยะ
ยาวอยูกบั เราไปนานหลายป นอกจากน้ี เรายงั มี ความจำเพอ่ื ใชงาน (Working memory) อกี เชนกนั ซง่ึ มัน
ชวยใหเราเกบ็ ขอมูลเอาไวภายในใจดวยเวลาจำกัดโดยการเนนย้ำ ยกตวั อยางเชน เม่อื ไรก็ตามท่ีเรากำลงั จดจำ
หมายเลขโทรศพั ทของใครสักคน เราจึงพยายามพดู กบั ตัวเองซ้ำแลวซ้ำเลา โดยกระบวนการเหลาน้ีถือเปนชวง
ท่ี ความจำเพ่ือใชงาน กำลงั ประมวลอยู

Michael Greshko. (2562). การสรางและจัดเก็บขอมูลของมนษุ ย. ขอมลู มากมายที่สมองรับเขามาใน
ตอนแรกยังคงเปน ความจำระยะส้ัน (short-term memory) ดังน้ันเราตองเรยี กใชขอมลู นน้ั ซำ้ ไปซ้ำมา มันจึง
คอยๆ เปลี่ยนเปน ความจำระยะยาว (long-term memory) ภายหลัง โดยผานกระบวนการที่มีชื่อวา
การสรางเสถียรภาพแกความทรงจำ (Memory consolidation) อยางไรก็ตาม ความจำระยะยาวนั้นไม

13

จำเปนตองเริ่มจากความจำระยะสั้นเสมอไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเร่ืองราวและฌ เหตุการณอ ซึ่งอาจมีความสำคัญ
แตกตางกนั

กองบรรณาธิการ HD. (2561). การทำ To-Do List ชวยใหนอนหลับดีขึ้น. "เรามีชีวิตที่ยุงแทบ
ตลอดเวลา จนทำใหเรามีสิ่งท่จี ำเปนตองทำเพม่ิ ข้ึนอยางตอเนอ่ื ง และน่นั ก็เปนสาเหตุทท่ี ำใหเรากังวลเก่ียวกับ
งานที่ทำยังไมเสร็จเมื่อถึงเวลาเขานอน" กลาวโดย Michael Scullin หัวหนางานวิจัย และผูอำนวยการท่ี
Neuroscience and Cognition Laboratoryนักวิจัยใหนักเรียนอยูในหองแล็ปที่ทดสอบการนอนในชวง
กลางคืนของวันธรรมดา ซึ่งความนาจะเปนที่จะทำงานไมเสร็จก็อาจมากขึ้นในชวงเวลาดังกลาว อยางไรก็ดี
นกั วจิ ยั ใหคนกลุมหนึ่งเขียนทุกสิ่งท่ีพวกเขาจำเปนตองทำ ในขณะทค่ี นอีกกลุมหนึ่งตองเขียนเกี่ยวกับงานท่ีทำ
เสรจ็ แลวในชวง 2-3 วนั กอนหนาน้ี และนกั เรียนทุกคนสามารถเขานอนไดตอน 22.30 น. โดยมกี ารจำกัดการ
ใชเทคโนโลยี การบาน ฯลฯ

Peerawat Sereewattananukul. (2557). การทำ To Do List ใหมีประสิทธิภาพ. งานแตละงานมี
ลำดับความสำคญั แตกตางกนั กอนอน่ื ตองเรมิ่ จากการลองเขยี นรายการงานทม่ี ีท้ังหมด หลงั จากนั้นก็จัดลำดับ
ความสำคัญของงาน เรียงลำดับจากงานที่สำคัญและงานที่เรงดวนกอน และกำหนดวางานใดที่จะตองทำใน
วันน้ี ในสัปดาหนี้ ในเดือนน้ี และในเวลาวาง ทั้งหมดนี้ก็คอื "To Do List" การทำรายการสิง่ ที่ตองทำเชนนี้จะ
ชวยไมใหหลงลืมและจัดการงานตางๆไดไมผดิ พลาด งานที่ทำเสร็จแลวก็ใหทำเคร่ืองหมายขีดฆาออกจาก To
Do List ทีละขอ การทำ To Do List นอกจากจะชวยใหทราบความคบื หนาของงานท่ีสม่ำเสมอ ยังทำใหรูสึก
สบายใจกบั งานที่

รศ.อุบลรัตน เพง็ สถิต. (2535). ความจำระยะสัน้ . ความจำระยะสน้ั (shot-term memory - STM) ส่ิง
ที่เราเหน็ หรือไดยินทุกอยางไมจำเปนตองอยูในระบบการจำ เชน ถาอานรายการซ้อื ของใหฟง สิ่งทส่ี นใจเฉพาะ
อยางจะเคลื่อนจากความจำจากการรับสัมผัส สูความจำระยะสั้น (STM) ซึ่งจะอยูใน ชวงสั้น ๆ พอกับ
ระยะแรกความจำระยะสั้นเก็บขอมูลในลักษณะจิตภาพ แตบอยครั้งที่จะเก็บขอมูล ในลักษณะของเสียง
โดยเฉพาะ อยางยิ่ง ถาเปนคำพูด เชนถาไดรับการแนะนำใหรูจักคนชื่อ แอด แตเราจำไมไดอาจเรียกเขาวา
แจดกไ็ ด เพราะเสยี งคลาย ๆ กนั ความจำระยะสั้นทำหนาท่ี คลายคลงั ขอมูลชวั่ คราว ทเี่ กบ็ ขอมูลไดในจำกัด
ไมวาขอมูลนั้นจะสำคัญเพียงใดก็ตาม ขอมูลจะเคลื่อน ออกจาก STM แลวหายไป ความจำระยะสั้นชวย
ปองกนั ไมใหเราสับสนเกี่ยวกบั ช่ือ วันท่ี หมายเลขโทรศัพท และเรื่องเลก็ ๆ นอย ๆ อื่น ๆ นอกจากนั้น ยังเปน
ความจำในสวนที่ปฏิบัติงานเรียกวา Working memory ซ่งึ ชวยในการคิดของเรามาก การหมนุ โทรศัพท การ
คิดเลขในใจ การจำรายการสั่งของที่จะซ้อื ลวน แตอาศัยการจำระยะส้นั ทงั้ สิ้น (Atkinson และShriffrin,1971)
ความจำระยะสั้นถกู รบกวน หรือถูกแทรกไดงาย เชน เมื่อจำหมายเลขโทรศพั ทแลว เดินไปโทรศพั ท แตสาย
ไมวาง พอจะโทรเราอาจลมื หมายเลขไปแลว ตองกลับไป ทวนอกี คร้งั พอหมนุ โทรศัพทใหมมีเพ่ือนมาถามอะไร

14

บางอยาง อาจทำใหลืมหมายเลขทีต่ องการหมุนไปได เพราะความจำระยะสั้น ถูกรบกวน ถาตองการจำไดนาน
ๆ ก็ตองใชความจำระบบท่ีสาม

รศ.อุบลรัตน เพ็งสถิต. (2535). การลืมจากการโดนรบกวน. การเรยี นรใู หมสามารถรบกวนการเรียนรู
เกา ทำใหเกิดการลืมได เกิดข้ึนทงั้ ในความจำระยะสนั้ และระยะยาว การรบกวนมกั เปนสาเหตสุ ำคัญของการ
ลืม การรบกวนมี 2 ประเภท คือ Retroactive Inhibition เปนการที่เรียนรูใหมรบกวนการเรียนรูเดิม ถาไม
เรียนรสู งิ่ ใหม Retroactive Inhibition กจ็ ะไมเกดิ สวน Proactive Inhibition เกิดเมอื่ สิง่ ที่เรียนรูเดิมรบกวน
สิง่ ท่ีเรียนรใู หม

(พรอมพรรณ อุดมสิน, 2544). การจดบันทึกขอมูล คือวิธีการใหผูเรียนรายงานตนเองโดยการเขียน
Journals มีลกั ษณะการเขียนเปนการพรรณา (Descriptive) มีความยาวและลักษณะการเขียนมากกวา Logs
บันทึกการเรยี นรู (Journal Writing) ในการเขียนบันทึกการเรียนรูถือ เปนเครื่องมือในการประเมินผลคุณคา
ชวยใหผูสอนสามารถประเมินและทบทวนเทคนิคการสอนของตนเองไดอยางรวดเร็ว ทำใหผูสอนเขาใ จ
นักศึกษาไดดียิ่งขึ้น และยังเปนแนวทางใหผูสอนไดคิดคนวิธีการสอนใหม ๆ ใหเหมาะสมกับนักศึกษาของ
ตนเอง กลาวคอื เมอ่ื ผสู อนไดเปด โอกาสใหนักศึกษาไดเขียนบนั ทึก นกั ศกึ ษาไดแสดงถงึ ความสามารถในการ
สื่อสารใหเห็นถึงผลการเรยี นรูความเขาใจในเนื้อหาสาระสำคัญ รวมทั้งปญหาที่นักศึกษายังไมเขาใจ ตองการ
คำอธบิ ายและความคิดเหน็ ที่เปนอิสระเกี่ยวกับการเรียนการสอน นักศกึ ษาสามารถเขยี นบรรยาย วาดรูปภาพ
แผนภมู ิประกอบความคิดเห็น ซึ่งการเขียนบนั ทกึ การเรียนรูน้ีอาจถือเปนกิจกรรมอยางหน่ึงท่ีนักศึกษาทำเปน
การบานประจำทกุ วัน หลงั จากทีเ่ รียนไปแลวในวันนน้ั

1. ลกั ษณะของการเขียนบันทกึ การเรยี นรู
1.1. เปนการเขียนท่ใี หนกั เรยี นไดถายทอดความรสู กึ ตอการเรยี นการสอนอยางอสิ ระ
1.2. เปนการเขยี นทีค่ รไู มควรใหคะแนนการเขียนหรอื ใหความสำคัญกับการสะกดคำ การใชภาษาท่ี

ถูกตอง หรอื รปู แบบการเขียน มากกวาประเดน็ ท่ีนักเรยี นตองการสื่อสาร
1.3. เปนการเขียนท่ีใชเปนสอ่ื ในการสนทนาระหวางครกู บั นกั เรยี น
1.4. ในการประเมนิ การเขียนบนั ทกึ การเรียนรขู องนักเรียน ครจู ะทำการแกไขหรอื เขยี นคำติชมลงไป

ในงานเขยี นของนกั เรียน แตไมควร ตอิ ยางตรงไปตรงมา ไมเขยี นสง่ิ ที่ทำใหนักเรียนรูสกึ ผดิ
ทอแท ควรชมเชยในสิง่ ทีน่ กั เรยี นเขียนถูกตอง และชมเชยความคิดของ นกั เรียน ซึง่ ลักษณะ
ดังกลาวเปนการกระตนุ และเสรมิ กำลงั ใจใหนักเรียนอยากเขียน
2. ประโยชนของการเขยี นบันทึกการเรียนรู
2.1. ประโยชนตอตวั นกั ศึกษาเอง เม่ือไดเขยี นบนั ทกึ การเรียนรู
2.1.1. ใหเห็นคณุ คาในการปรับปรุงแกไขโดยนักศกึ ษาสามารถแสดงความรูสึกและเจตคติ

เกีย่ วกับเนอ้ื หาไดท้ังแงบวกและลบ

15

2.1.2. เปนการเพ่ิมการเรียนรูในเนอ้ื หาโดยทนี่ ักศกึ ษาใชภาษาของตนเองในการเขียน อธิบายความ
เขาใจในมโนมติหรือมโนทัศน (Concept) และกฎเกณฑตาง ๆ

2.1.3. นักศึกษาไดปรับปรงุ การเรยี นรแู ละทักษะการแกปญหา จากการที่นกั ศึกษาไดเขียนวิธกี าร
แกปญหาท่นี ักศกึ ษาใชหรือวธิ ีการเรยี นรู ในเนื้อหาเร่อื งใดจงึ ทำใหนักศกึ ษาไดทบทวน
ใครครวญในสง่ิ ทเี่ รียนรูไป

2.1.4. นกั ศกึ ษาไดประเมินตนเองผานการเขียนบนั ทึกการเรยี นรู ทง้ั ทางดานความรูและเจตคติ
ของตนเอง

2.2. ประโยชนตอผสู อน เม่อื ผูสอนไดอานบนั ทกึ
2.2.1. ผสู อนไดทราบถึงปญหาหรอื ส่งิ ท่ีเปนปญหาของนกั ศกึ ษาแตละคนอยางชดั เจน ซงึ่ ผูสอน

สามารถจัดการซอมเสรมิ เปนรายบุคคลได ทันทวงที
2.2.2. งานเขยี นของนกั ศึกษาไดสะทอนสง่ิ ท่ีผูสอนสอน ท้ังทางดานเนอ้ื หา วธิ กี ารและการสอนซง่ึ

ผสู อนสามารถนำขอมูลเหลานนั้ ไปใช ในการปรับปรงุ การสอนของผูสอนเองได

2.2.3. การอานบันทกึ ของนักศกึ ษาทำใหผูสอนไดตระหนกั ถึงสิง่ ทีน่ ักศึกษาเขาใจผิด หรือส่ิงที่เปน
ปญหาสำหรบั นักศึกษา

2.3. เปนประโยชนเหมอื นไดสนทนาสวนตวั ระหวางผสู อนและนกั ศึกษา
2.3.1. เปนการพัฒนาการสอนแบบตวั ตอตัวทีถ่ อื วานกั ศกึ ษาแตละคนแตกตางกัน มปี ญหาความ

เขาใจท่แี ตกตางกนั โดยการท่ีผูสอนไดอาน บันทกึ ก็สามารถใหขอมูลยอนกลบั ไปยงั

นกั ศึกษาแตละบุคคลได
2.3.2. เปนการสรางบรรยากาศแหงการมีไมตรจี ิต ทำใหนกั ศกึ ษามีความนับถอื ผูสอนและวางใจ

ผูสอนใหผูสอนสามารถชวยพัฒนา ให นักศึกษาเจริญงอกงามตอไป

9.3 เกณฑการใหคะแนนบนั ทึกการเรียนรขู องจอหนสันแอนดจอหนสัน เกณฑ คะแนน
1. จำนวนประเด็นทเ่ี ขยี น
ไมระบุประเด็นชดั เจน 1-2
ระบุเพยี ง 2-3 ประเดน็ 2-4
ระบุประเด็นท่เี กีย่ วของอยางครอบคลุม 4-5
2. ความยาวของการบนั ทึกการเรยี นรู
นอยกวาครึง่ หนากระดาษ 1-2
ประมาณ 1 หนากระดาษ 2-4
หลายหนากระดาษ 4-5
3. ความลกึ ซ้งึ ในการแสดงความคดิ เห็น
แสดงความคิดเห็นผวิ เผิน 1-2

แสดงความคิดเห็นเปนบางสวน 16
แสดงความคิดเห็นอยางลึกซึง้ และชดั เจน
4. ความสมบรู ณของความคิด 2-4
แสดงการตอบสนองเพียงเลก็ นอย 4-5
แสดงการตอบสนองและยกตวั อยาง
แสดงการตอบสนอง ยกตัวอยางและไตรตรอง 1-2
5. ความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค 2-4
เขียนอยางตรงไปตรงมา 4-5
แสดงการเปรยี บเทียบและจนิ ตภาพ
แสดงความคิดสรางสรรคในระดับสูง 1-2
2-4
4-5

17

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ การ

โครงงานคอมพวิ เตอร เร่อื ง TO DO LIST จัดทำข้ึนเพอ่ื ศกึ ษาการบันทกึ และการคำนวณ ประกอบ
วิชาพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร โดยมีเนื้อหาเก่ยี วกบั การจดบันทกึ สิ่งที่เราตองทำในแตละวนั และคำนวณ
ความสมบรู ณของงานท่ีเราทำเสรจ็ และจัดเปนโครงงานคอมพวิ เตอรประเภทการประยกุ ตใชงาน

วเิ คราะหและออกแบบโปรแกรม

1. เปดแอปพลิเคชนั ในการจดบนั ทกึ ขอมูล
2. จดบนั ทึกงานและการบานลงในชอง “ Type your work here ” แลวกดปุม “ Add ”เพือ่ เพิ่ม

เขาไปในลิสต
3. จดบันทึกวันทีค่ รบกำหนดสงลงในชอง “ Type here ” แลวกดปุม “ Add date ” เพ่ือเพ่ิมเขาไป

ในลิสต
4. กดปุม “ Next ” ท่ีมุมขวาบน เพื่อไปหนาถัดไป
5. จดบนั ทึกชื่องานและการบานลงในชองดานลาง แลวกดปุม “ Add “ เพื่อเพมิ่ เขาไปในลิสต
6. คลกิ สองครง้ั ทดี่ าวดานบน เพ่อื ใหคะแนนความพึงพอใจในผลงานของตัวเอง
7. กดปมุ “ Next “ ท่มี ุมขวาบน เพ่อื ไปหนาถดั ไป
8. ใสจำนวนงานทไี่ ดรบั มอบหมายใน 1 สปั ดาห ลงในชอง “ Number of tasks in 1 week “
9. ใสจำนวนงานท่ีทำเสรจ็ สน้ิ ใน 1 สัปดาห ลงในชอง “ Number of tasks completed “
10. กดปมุ “ Calculate “ เพ่อื คำนวณเปอรเซน็ ตคาความสำเร็จในอาทิตยนน้ั ๆ
11. เปอรเซน็ ตคาความสำเร็จจะปรากฎแทนคำวา “ Result “ ดานบน
11. กดปุม “ Next “ ทมี่ ุมขวาบน เพือ่ ไปหนาถัดไป
12. จดบันทกึ วนั ที่ในสัปดาหนน้ั ๆลงในชอง “ Type the date of the week “ แลวกดปมุ “ Add “

เพ่ือเพ่มิ เขาไปในลิสต
13. จดบันทึกเปอรเซน็ ตคาความสำเรจ็ ท่คี ำนวณจากหนาทีแ่ ลวลงในชอง “ Type percentage

here “ แลวกดปุม “ Add “ เพ่อื เพิม่ เขาไปในลสิ ต
14. ถาตองการกลับไปหนากอนหนานี้ ใหกดปุม “ Back “ ทมี่ ุมขวาบน
15. ถาตองการกลับไปหนาแรก ใหกดปุม “ Home “ ดานลาง

18

บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ การ

โครงงานคอมพิวเตอร เร่ือง TO DO LIST จัดทำข้ึนเพื่อศึกษาการบนั ทึกและการคำนวณ ประกอบ
วิชาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร โดยมเี นื้อหาเก่ียวกบั การจดบันทกึ สิ่งที่เราตองทำในแตละวนั และคำนวณ
ความสมบรู ณของงานที่เราทำเสร็จ และจดั เปนโครงงานคอมพวิ เตอรประเภทการประยุกตใชงาน

กดเพิ่มงานและตง้ั กำหนดสงงาน ใหคะแนนผลงานของตนเอง

โปรแกรมทำการคำนวณเปอรเซน็ ต บันทึกเปอรเซนตการทำงานใน1สปั ดาห
การทำงานใน1สปั ดาห

19

บทที่ 5
อภิปรายผล ประโยชนท่ีไดรับจากโครงงาน และขอเสนอแนะ

โครงงานคอมพิวเตอร เรื่อง TO DO LIST จัดทำขึ้นเพอื่ ศึกษาการบันทกึ และการคำนวณ ประกอบ
วิชาพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร โดยมเี น้ือหาเกยี่ วกับการจดบนั ทึกสง่ิ ทเี่ ราตองทำในแตละวัน และคำนวณ
ความสมบูรณของงานทเี่ ราทำเสร็จ และจัดเปนโครงงานคอมพวิ เตอรประเภทการประยกุ ตใชงาน

อภปิ รายผล
จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร เรอ่ื ง แอปพลเิ คชันในการจดบันทึกขอมลู ทำใหทราบวา

การสรางแอปพลิเคชันจะตองใชความอดทนในการสราง มีการทำงานเปนกลุมอยางสามัคคี สรางผลงานขึ้น
ดวยความใสใจในทุกรายละเอียด เพื่อใหไดมาซึง่ ผลงานอนั เปนที่นาพึงพอใจ รวมถึงยงั ไดรบั ความรใู นการสราง
แอปพลิเคชนั อนั จะสามารถนำไปปรบั ประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอไป

ประโยชนทไ่ี ดรบั จากโครงงาน
จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร เรื่อง แอปพลิเคชันในการจดบันทึกขอมูล ทำใหไดรับ

ประโยชนคือ ไดทราบถึงขั้นตอนการสรางแอปพลิเคชัน ดวยโปรแกรม thunkable ที่จะสามารถนำไป
ประยุกตใชกับการทำงาน การศึกษา และอื่นๆตอไปได รวมไปถึงยังไดรับทักษะชีวิต ในการทำงาน อันเปน
รากฐานในการตอยอดความรูใหเกดิ ขนึ้ ไดอยางไมรจู บ

ขอเสนอแนะในการพฒั นาโครงงานในอนาคต
จากการดำเนนิ งานโครงงานคอมพิวเตอร เรื่อง แอปพลเิ คชนั ในการจดบันทึกขอมลู ในครงั้ ตอไปควร

จะมีการปรบั ปรงุ พฒั นาใหผลงานมคี วามนาสนใจ มีรปู แบบท่ีโดดเดนไมซ้ำใคร มีรูปแบบกระบวนการทำงานที
ทำงานอยางเปนระบบมรี ะเบยี บแบบแผน และมีการตอยอดความคิดจากในบทเรียนไปสนู อกบทเรียน เพอ่ื ให
เกิดการเรยี นรทู ี่ไมไดจำกดั อยใู นวงแคบ แตเปนการเรยี นรทู เ่ี ปดกวางสโู ลกภายนอก

20

ภาคผนวก ก

21

22

23

ประวตั ิผูจดั ทำ

ช่อื นางสาว ณฐมน วงั สขุ ช้ัน ม.4.9 เลขท่ี 10
ทอ่ี ยู 102/54 หมูบานพฤกษาการเดนโฮม2 หมู6 ถ.กาญจนาภเิ ษก ต.บางมวง
อ.บางใหญ จ.นนทบุรี 11140
E-mail : [email protected] facebook : Gracee Natamon

ชื่อ นางสาว นาเดยี กรีมี ชน้ั ม.4.9 เลขที่ 18
ทอ่ี ยู 22 ถ.จรัญสนทิ วงศ 70/3 แขวงบางออ เขตบางพลดั จ.กรุงเทพ 10700
E-mail : [email protected] facebook : Nadia Karimee

ชอื่ นางสาว ปยธิดา สุทธิชาติ ชน้ั ม.4.9 เลขที่ 22
ทีอ่ ยู 36 ซ.เจริญราษฎร แยก1 แยก7 แขวงยานนาวา เขตสาทร จ.กรุงเทพ 10120
E-mail : [email protected] facebook : Kana Sudthichat

ชื่อ นางสาว ภชั ชนก นิรนิ ธนชาติ ชนั้ ม.4.9 เลขท่ี 30
ทอ่ี ยู 505 ถ.เยาวราช แขวงสมั พนั ธ เขตสมั พนั ธวงศ จ.กรงุ เทพ 10100
E-mail : [email protected] facebook : Patchanok Nirinthanachat

24

บรรณานุกรม

พรอมเลิศ หลอวิจติ ร (2560). การสรางแอปพลิเคชนั สำหรบั มอื ใหม. [ออนไลน].
เขาถงึ ไดจาก :
http://www.flaticon.com/free-icon/footsteps-silhouette-variant_32523 (วนั ทคี่ นขอมูล : 22
สิงหาคม 2564).

ธรี ภัชร กสั สกลุ . (2559). สอนการทำแอพพลิเคชน่ั เบอื้ งตน. [ออนไลน].
เขาถงึ ไดจาก : https://teerapuch.com/2013/software (วนั ทคี่ นขอมลู : 22 สงิ หาคม 2564).

ดมี ีเตอรไอซที ี. (2562). Mobile Application คอื อะไรขอมลู ประวตั แิ อพพลเิ คช่นั , [ออนไลน].
เขาถึงไดจาก : https://www.dmit.co.th/th/blog/2016/12/08/what-is-mobile-application/ (วนั ท่ี
คนขอมูล : 22 สงิ หาคม 2564).

สสวท. (2561). Thunkable เวบ็ ไซตสรางแอพพลเิ คชัน่ สำหรับมอื ใหม . [ออนไลน]. เขาถงึ ได
จาก : https://medium.com/altotech/สราง-mobile-app-งายๆ-ทั้ง-ios-และ-android-แคลากวางดวย-
thunkable-part-1-9285d221752e. (วนั ท่คี นขอมลู : 22 สิงหาคม 2564).

เทพศริ ริ นิ ทร เนาวเงนิ ดี. (2564). การใชงาน Thunkable ในการบนั ทึกขอมูลผาน Air table.
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://youtu.be/J1z3JUEL_As (วันทีค่ นขอมูล : 22 สงิ หาคม 2564).

อภิวัฒน วงศกัณหา. (2563). Thunkable X การใชงาน List Viewer. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก
: https://youtu.be/A1iS6dK2xNw. (วนั ทค่ี นขอมูล : 22 สิงหาคม 2564).

คณุ ากร ธนาธี. (2560). คูมอื Thunkable สรางแอพพลเิ คชน่ั โดยไมตองเขียนโปรแกรม. [ออนไลน].
เขาถึงไดจาก : https://www.youtube.com/watch?v=VXoCcmTBwLE&list=PLi8UR74CWSVbdWO1
iX3jjTUexEx06RBF&index=. (วนั ที่คนขอมูล : 2 กันยายน 2564).

นพรัตน สวยฉลาด. (2560). การสรางแอปพลเิ คช่นั บันทกึ งาน(ไมตองเขียนโคด) ดวย Google Form
และ Thunkable . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://youtu.be/4hr6lcdf6sc . (วนั ทีค่ นขอมูล : 2
กนั ยายน 2564).

25

วรากร คีรนนั ท. (2559). 7 แอปพลิเคชน่ั To do list ท่ดี ีทส่ี ุดในป 2020. [ออนไลน].
เขาถงึ ไดจาก : https://tonkit360.com/62128/?fbclid=IwAR3AQGBeBehDjNraV3raDRuzhPOj0oQ-
zEW2pm0ZMI9QohW0bx9AugA_Yus. (วันท่คี นขอมลู : 2 กันยายน 2564).

บรษิ ทั อมรินทรพรนิ้ ตง้ิ แอนดพับลิชชิ่ง จำกดั (มหาชน). (2559). ผลการคนหา : ความจำของมนษุ ย .
[ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก : https://ngthai.com/?s. (วนั ที่คนขอมูล : 2 กันยายน 2564).

กองบรรณาธกิ ารHD. (2562). งานวิจยั เผย การทำ To-Do List อาจชวยใหเรานอนหลบั ดีขึน้ .
[ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก : https://hd.co.th/to-do-list-before-bedtime-help-sleep-better .
(วนั ทคี่ นขอมูล : 2 กันยายน 2564).

ชัยพร วิชาวธุ . (2560). การจำและการลืม. [ออนไลน].
เขาถงึ ไดจาก : https://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Memory.htm . (วันท่คี นขอมูล :
2 กันยายน 2564).


Click to View FlipBook Version