สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงานนานาชาติ
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
กระทรวงแรงงาน
INTERNATIONAL INSTITUTE FOR SKILL DEVELOPMENT
DEPARTMENT OF SKILL DEVELOPMENT MINISTRY OF LABOUR THAILAND
พระบิดาแห่งมาตรฐานการช่างไทย
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถ
บพิตร ทรงสนพระราชหฤทัยและทรงมีพระ
ปรีชาสามารถทรงงานด้านต่าง ๆ ใน
หลายด้าน ซึ่ง งานช่าง เป็นงานด้านหนึ่งที่
ทรงมีความสนพระราชหฤทัย มีความถนัด
และทรงมี ฝีพระหัตถ์เป็นเยี่ยมมา ตั้งแต่
ยังทรงพระเยาว์ ทั้งด้านช่างไม้ ช่างโลหะ
และ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ หรือ แม้กระทั่ง
ด้านเครื่องยนต์ พระองค์ทรงสามารถ
ทำได้ดีในทุกแขนงของงานที่เป็นพื้นฐาน
ทางสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์
เพื่อเทิดพระเกียรติที่พระองค์ทรงพระ
ปรีชาสามารถทางการช่างและเพื่อเป็นแบบ
อย่าง และ แรงใจต่อแรงงานไทยทุกคน ที่
ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบตามที่
กระทรวงแรงงานเสนอ จึงได้กำหนดให้วันที่
พระราชประวัติ 2 มีนาคมของทุกปี เป็น
สมเด็จพ"วรันะบมรามตชรนฐากนาฝธิีเมบือศแรรงมงหานา
ภแูมห่ิงพชลาอติด"ุลรยวเมดถชึมงทหูลาเรกาลช้าบฯรถมวนาายถพบรพะิรตารชสว่ามัเญป็นญา"พแดร่ะพบิดระาบแาห่ทง
มาตรฐานการช่างไทย“
“ช่างทุกประเภทอันเป็นกล
ไกสำคัญ
อย่างยิ่งในชีวิตของบ้านเมืองและของคนทุก
คน เพราะตลอดชีวิตของเรา เราต้องอาศัย
และใช้บริการหรือสิ่งต่าง ๆ ที่มาจากฝีมือ
ของช่างอยู่ทุกวี่ทุกวันผู้เป็นช่างจึงสมควรได้
รับความเอาใจใส่ สนับสนุนจากทุก ๆ ฝ่าย
ยิ่งในสมัยปัจจุบัน วิทยาการทุกอย่างเจริญ
ก้าวหน้าอันยิ่งจำเป็นต้องส่งเสริมมากเป็น
พิเศษ เพื่อให้ได้ช่างที่มีความสามารถสูง
ให้มีสิ่งใช้สอยที่มีคุณภาพดีและเพียงพอกับ
ความต้องการ ข้าพเจ้าใคร่ขอฝากความคิด
ทั้งนี้ไว้เป็นแนวปฏิบัติของท่านทั้งหลายต่อ
ไป“
พระราชดำรัส ในพิธีเปิดงานแนะแนว
อาชีพและแข่งขันฝีมือช่างของสโมสรโรตารี่
กรุงเทพมหานครฯ วันจันทร์ ที่2 เดือน
มีนาคม 2513 ณ ลุมพินีสถาน
THE FATHER OF THAI SKILL STANDARD The King Bhumibol Adulyadej is great
since he was young in carpentry,
metalworking, electronics, automotive. He is
able to do well in all areas of engineering
fundamental work. In honor of His Majesty's
skillful craftsmanship and being an exemplar
and encouragement to all Thai workers.
In honor, His Majesty King Bhumibol
Adulyadej is in the position of His Holiness
"The Father of Thai Skill Standards" and all
sectors recognize the importance of the
HISTORY National Skill Standards. Include the
information of the GAP and the standard of
workmanship to the public. By March 2, every
year is the "National Day of Skilled Workers".
important"iAnlllifkeinodfsaollfpteeocphlnei.cBiaen
csaaurseeeaxlltroeumr elifley
The importance of skill development of Thai
technicians is standardized.
we have to live and use services or things that
came from the workmanship of a mechanic
every day who is a mechanic therefore
deserves attention support from all parties,
especially now all science advances. It is very
necessary to promote. In order to get a highly
skilled technician to have utilities of good quality
and sufficient to meet the needs I would like to
continue to leave this idea as your practice”
Royal speech in opening ceremony of
the Rotary Club of Southern Bangkok in
professional guidance and skilled workers on
Monday March 2,1970 at Lumpini, Bangkok,
Thailand.
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงง
าน
นานาชาติ
วิสัยทัศน์
“เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน
ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงและอาเซียน”
พันธกิจ
ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาหลักสูตรการฝึกและการให
้บริการฝึกที่เสริมสร้างศักยภาพ
ทางเศรษฐกิจในระดับนานาชาติ และการค้าตามแนวชายแ
ดน การแข่
งขัน
1
2
3
แดปรำรงเะนงสิานานกนใาหนรนร่สวะ่งยดัเงบสานรนิมาทัน้ใงาหใ้ชนคาำแตปิลระึกต่ษางาปแรละะเปทรศะสเพืา่อนจคัดววาามงร่รวะมบมืบอบ
ในริหกาารรแพัลฒะรนะาบบุบคกลาารกฝรึกเกอี่ยบวรกมับจกัดากรพาัรฒฝนึ
กาฝีมือ
อบรม
ทดสอบ และรับรองฝีมือแรงงานตามมาตรฐานสากล และมาตรฐานนานาชาติอื่นๆ
4 สบนรัิหบาสรนุแนผจนางการันฐบโคาลรงองงาคน์กงรบหปรรือะมมูลานณิธิแต่ลางะๆบุคทั้ลงาใกนรแภลาะยต่ใาตง้คปว
ราะมเทร่ศวมมือที่ได้รับการ
เป้าประสงค์
1 พัฒนาหลักสูตรการฝึก เพื่อรองรับทักษะด้านเทคนิคและการบ
ริหารจัดการ และการฝึกทักษะชั้นสูง
2 สเปร็้นางศูเนคยร์ืฝอึกข่อายบทรั้มงภคาวคารมัฐเปแ็นลเะลเิอศกด้ชานนใโนลรจิะสดตัิบกภสู์มิทภ่อางคเแที่ลยะวรแะลดัะบบ
สริากกาลร
3
International Institute for S
kill Development
Vision
“Be the central to skill development and workers potential
in the Greater Mekong Sub-region and ASEAN"
Mission
1 Studying, analyzing, researching and developing training curriculums and providing training
services that enhance competitiveness in the international economy and border trade.
2 To promote, consult and coordinate human resource development related to skill
development at the international level.
3 To coordinate both domestic and international agencies to set up a management in
training
system, organize training, testing and labor skills certification in accordance with
international standards and other international standards.
4 To manage plan, projects, budgets and personnel under cooperation supported by national
and international governments, organizations or foundations.
Goal
1 Develop curriculum of training system to support technical, skill management
and advanced skills.
2 Build networks for government and private sectors in regional and ASEAN.
3 To be logistic, tourism, and service excellence training center.
กิจกรรมการพัฒนาฝีมือแรงงานนา
นาชาติ
(Training Courses)
สาขาอาชีพโลจิสติกส์และการขนส่ง
Logistics & Transportation Courses
เทคนิคการขับรถลากจูง
(TRAILER DRIVING TECHNIQUES)
สาขาเทคนิคการวางแผนและบริหารงานขนส่งสินค้าทางถนน (ระดับพื้นฐาน)
(PLANNING AND MANAGEMENT OF FREIGHT TRANSPORT BY ROAD :
FUNDAMENTAL LEVEL)
สาขาเทคนิคการขับรถยกและจัดการคลังสินค้า (ระดับพื้นฐาน)
(DRIVING FORKLIFT TECHNIQUES AND WAREHOUSE MANAGEMENT :
FUNDAMENTAL LEVEL)
สาขาเทคนิคการสอนงานด้านโลจิสติกส์ (ระดับพื้นฐาน)
(LOGISTICS TRAINING FOR INSTRUCTOR : FUNDAMENTAL
LEVEL)
สาขาเทคนิคการขับรถเชิงป้องกันและปลอดภัย
(DEFENSIVE AND SAFETY DRIVING COURSE)
สาขาผู้ควบคุมรถยกสินค้าขนาดไม่เกิน 10 ตัน ระดับ 1
(FORKLIFT OPERATOR (NOT EXCEED THAN 10 TONS) LEVEL 1)
สาขาผู้ปฏิบัติการคลังสินค้า ระดับ 1
(WAREHOUSE OPERATOR LEVEL 1)
สาขาอาชีพอุตสาหกรรมธุรกิจบริการ
Tourism & Service Courses
สาขาคานาเป้และเครื่องดื่มสำหรับร้านคาเฟ่
(CANAPE AND BEVERAGE FOR CAFÉ)
สาขาการประกอบอาหารนานาชาติ
(INTERNATIONAL COOKING)
สาขาเทคนิคการบริการอาหารและเครื่องดื่ม
(FOOD AND BEVERAGE SERVICE)
สาขาการบริหารจัดการบาร์เทนเดอร์ขั้นสูง
(EXCLUSIVE BARTENDER MANAGEMENT)
สาขาเทคนิคการชงกาแฟและศิลปะบนฟองนม
(BARISTA AND LATTE ART TECHNIQUES)
สาขาหมอเส้นผม
(CLINIC FOR DAMAGED HAIR)
สาขาการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว
(TOURISM BUSINESS MANAGEMENT)
สาขาการประกอบธุรกิจไอศกรีมโฮมเมด
(HOMEMADE TCE CREAM)
สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ
Information Technology Courses
สาขาการสร้างสื่อมัลติมิเดียเพื่อการท่องเที่ยว
(MULTIMEDIA FOR TOURISM)
การบริหารจัดการตลาดออนไลน์
(E-COMMERCE)
สาขาเทคนิคการสร้างเว็บไซต์ WORDPRESS มืออาชีพ
(PROFESSIONAL WORDPRESS WEBSITE DESIGN)
สาขาการออกแบบติดตั้งและประยุกต์ใช้โซล่าเซลล์
(DESIGN, INSTALLATION AND APPLICATION OF SOLAR CELLS)
การประยุกต์ใช้งานระบบโซล่าเซลล์เพื่อการงานเกษตร
(APPLICATION OF SOLAR CELL SYSTEM FOR AGRICULTURE)
สาขาการประยุกต์ใช้งาน INTERNET OF THINGS ( IOT ) สำหรับการเกษตร
(INTERNET OF THINGS FOR SMART FARMING)
การผลิตสื่อโฆษณาและหนังสั้นด้วยสมาร์ทโฟน
(PRODUCTION ADVERTISEMENTS AND SHORT FILMS ON SMARTPHONE)
สาขาอาชีพการบริหารจัดการ
Management Courses
สาขาการพัฒนาผู้สอนมืออาชีพ
(PROFESSIONAL TRAINING OF TRAINER)
สาขาภาวะผู้นำ
(LEADERSHIP)
สาขาการวางแผนธุรกิจ
(BUSINESS PLAN)
สาขาพิธีกรมืออาชีพ
(PROFESSIONAL MASTER OF CEREMONY)
สาขาการนำเสนอและการจัดการประชุมอย่างมืออาชีพ
(DEFENSIVE AND SAFETY DRIVING COURSE)
สาขาการนำเสนอและการจัดการประชุมอย่างมืออาชีพ
(PROFESSIONAL PRESENTATION AND MEETING SKILL MANAGEMENT)
Vสาขาการจัดการสุขลักษณะและการใช้ระบบ GMP และการใช้ระบบ HACCP ใน
อุตสาหกรรมอาหาร
(VHYGIENIC HANDLING AND USE OF GMP AND HACCP SYSTEMS IN THE
FOOD INDUSTRY)
ผลการดำเนิ นงาน
ประจำปี งบประมาณ 2564
โครงการ
พั ฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติเพื่ อการพั ฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
เป้าห
มาย
คนไทย และ กลุ่มประเทศ GMS / IMT-GT
บุคลากรภาครัฐแรงงานไทยตามแนวชายแดน ผู้ประกอบกิจการ รัฐวิสาหกิจ องค์การระหว่าง
ประเทศ จากประเทศ GMS, IMT-GT และ ASEAN
ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 1,000 คน
เข้าอบรม 1,095 คน (109.50%)
ผ่านอบรม 1,029 คน (93.97%)
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าอบรมคนไทย 754 คน (75.45%)
ผู้เข้าอบรมต่างชาติ 341 คน (34.10%)
ผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลสัมฤทธิ์ (คนไทย)
ในการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น มีขีดความสามารถ และ
ศักยภาพเพิ่มสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงานไทย
ในปี 2564 มีแรงงานผ่านการฝึกทั้งหมด 1,129 คน
ไตรมาส 1 - 3 ผ่านการฝึก 778 คน
ตอบแบบติดตาม 326 คน คิดเป็นร้อยละ 41.90
มีงานทำ มีอาชีพมั่นคง มีรายได้เฉลี่ย 13,361 บาทต่อเดือน
ผลสัมฤทธิ์ (ต่างชาติ)
ผู้ผ่านการพัฒ
นาฝีมือแรงงานในกลุ่มประเทศ GMS, IMT-GT สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับ
ไปประยุกต์ใช้และถ่ายทอดให้กับบุคลากรในประเทศของตนเองได้
สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมา
โครงการ
พั ฒนาบุคลากรรองรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
เป้าห
มาย
ฝึกอบรมบุคลากรด้านโลจิสติกส์ที่ทำงานอยู่แล้วหรือผู้ว่างงานให้ได้รับการพัฒนาความรู้
และทักษะฝีมือตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการพัฒนาฝีมือแรงงาน
กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา ผู้ว่างงาน แรงงานที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์ แรงงานนอกระบบ
ผลการดำเนินงาน
เป้าหมาย 600 คน
เข้าอบรม 649 คน (108.16%)
ผ่านอบรม 638 คน (106.33%)
ผู้ผ่านการพัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถนำความรู้ ไปใช้ ผลสัมฤทธิ์
ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น มีขีดความ
สามารถ และศักยภาพเพิ่มสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานฝีมือ
แรงงานไทย
ในปี 2564 มีแรงงานผ่านการฝึกทั้งหมด 638 คน
ไตรมาส 1 - 3 ผ่านการฝึก 440 คน
ตอบแบบติดตาม 426 คน คิดเป็นร้อยละ 96.81
มีงานทำ มีอาชีพมั่นคง มีรายได้เฉลี่ย 28,756 บาทต่อเดือน
แผนงาน ผลงาน
ประจำปี งบประมาณ 2564
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานนานาชาติ
222 ม.2 ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 57150 โทรศัพท์ 053777471
WEBSITE : WWW.DSD.GO.TH/CHIANGSAEN, FACEBOOK PAGE : IISDDSD
ขอบคุณครับ/ค่ะ