The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattavud.za456, 2021-03-28 22:47:23

ประวัติ

ประวัติ

เรื่อง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ผู้จัดทา

1. นาย กนั ตภณ จินดาศรี รหสั 622010200069

2. นาย ปริญญากร แกว้ แสงทอง รหสั 62201020080

3. นาย คุณานนต์ ก่พู ิมาย รหสั 62201020071

4. นาย พงศธร อุดมศรี รหสั 62201020081

5. นาย เตชิต ทองเทพ รหสั 62201020052

6. นาย ณฐั วฒุ ิ นอ้ ยสกลุ รหสั 6121020113

ระดบั ช้นั ปวช.2 กลมุ่ 3

เอกสารฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ ประกอบการเรียนรายวิชา ประวตั ิศาสตร์ชาติ
ไทย วิทยาลยั เทคนิคลพบุรี สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปี
การศึกษา 2563

ชื่อเร่ือง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

ช่ือผ้จู ดั ทา 1. นาย กนั ตภณ จินดาศรี รหสั 622010200069

2. นาย ปริญญากร แกว้ แสงทอง รหสั 62201020080

3. นาย คุณานนต์ กู่พิมาย รหสั 62201020071

4. นาย พงศธร อดุ มศรี รหสั 62201020081

5. นาย เตชิต ทองเทพ รหสั 62201020052

6. นาย ณฐั วุฒิ นอ้ ยสกลุ รหสั 6121020113

ทปี่ รึกษา อาจารย์ ศิริโสภา วิศิษฎ์วฒั นะ

ปี การศึกษา 2563

บทคดั ย่อ

เร่ือง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์สมยั อยธุ ยา มีจุดม่งุ หมายเพ่อื อยากทราบความเป็นมาของกรุงศรีอยธุ ยา
และ หลกั ฐานตา่ งๆในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาวา่ มีอะไรบา้ ง และอยากทราบวา่ หลกั ฐานน้นั เกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร
ใครเป็นคนคน้ พบหลกั ฐาน และ หลกั ฐานน้นั มีความเป็นมาอยา่ งไร ดงั น้ี

กติ ตกิ รรมประกาศ

ในงานวจิ ยั ฉบบั น้ีสาเร็จลลุ ว่ งไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ดว้ ยความกรุณาอยา่ งยง่ิ จาก อาจารณ์ ศิริโสภา วศิ ิษฎว์ ฒั นะที่
ไดส้ ละเวลาอนั มีค่าแก่นกั ศึกษาเพอื่ ใหค้ าปรึกษา แนะนา ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ดว้ ยความเอาใจใส่เป็น
อยา่ งยง่ิ จนงานวิจยั ฉบบั น้ีสาเร็จลุลว่ งไดด้ ว้ ยดี คณะนกั ศึกษาขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ที่น้ีจาก
ใจจริง

นาย กนั ตภณ จินดาศรี

นาย ปริญญากร แกว้ แสงทอง

นาย คุณานนต์ กู่พมิ าย

นาย พงศธร อุดมศรี

นาย เตชิต ทองเทพ

นาย ณัฐวุฒิ นอ้ ยสกุล

สารบญั หน้า
เรื่อง

บทคดั ยอ่ ง
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบญั
บทท่ี1 บทนา 1
1
1.1 ความเป็นมา 1
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1-2
1.3 ขอบเขต 2
1.4 ประโยชน์ที่ไดร้ ับ 3
บทที่2 ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ ง 3
2.1 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 3
2.2 ประโยชน์ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 3-5
2.3 การแบ่งประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 5
2.4 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย 6
บทท่ี3 วิธีการคน้ ควา้ 6
3.1 คน้ ควา้ จากอินเตอร์เน็ต 6
3.2 คน้ ควา้ จากหนงั สือประวตั ติศาสตร์ 6
3.3 คน้ ควา้ จากหนงั สือพิมพก์ รือส่ือต่างๆ 7
บทที่4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 7
บทท่ี5 สรุป ผลอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ

บทที1่

บทนา

1.ความเป็ นมา

กรุงศรีอยธุ ยา ต้งั อยใู่ นที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทย บริเวณท่ีแมน่ ้าสาคญั 3 สายไหลมาบรรจบกนั คอื แม่น้า
เจา้ พระยา แม่น้าลพบรุ ี และแมน่ ้าป่ าสกั ทาใหม้ ีความอดุ มสมบรู ณ์ ตอ่ การเกษตรกรรมอนั เป็นพ้ืนฐานของการต้งั ถิ่นฐาน
ของมนุษย์ เป็นชุมทางคมนาคมท่เี อ้ืออานวยตอ่ การคา้ ท้งั ภายในและภายนอก จนทาให้เมืองอยธุ ยาเติบโตเป็นศนู ยก์ ลางทาง
เศรษฐกิจ และการคา้ ที่สาคญั ในภมู ิภาคเอเชียในช่วง พุทธศตวรรษที่ 20 - 23 พ้นื ที่บริเวณเมืองอยธุ ยาไดป้ รากฏร่องรอย
การอยอู่ าศยั มาก่อนการสถาปนากรุงศรีอยธุ ยา โดยมีหลกั ฐานในพระราชพงศาวดารที่กลา่ วถึงการสร้างพระเจา้ พแนงเชิง
เมื่อ พุทธศกั ราช 1867 เป็นพระพุทธรูปปูนป้ันองคใ์ หญ่ ท่ีแสดงใหเ้ ห็นว่าขณะน้นั ชุมชนบริเวณน้ีมีขนาดใหญ่ มีฐานะทาง
เศรษฐกิจมนั่ คง จงึ มีท้งั กาลงั คนและกาลงั ทรัพยใ์ นการสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ข้นึ ได้ จนกระทง่ั สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี
1 หรือพระเจา้ อทู่ อง ทรงสถาปนากรุงศรีอยธุ ยาข้ึนเป็นศนู ยก์ ลางทางการเมืองการปกครองเม่ือ พทุ ธศกั ราช 1893 โดย
รวบรวมกลมุ่ เมืองท่ีมีความสัมพนั ธท์ างดา้ นเครือญาตเิ ขา้ ดว้ ยกนั อาทิ เมืองลพบรุ ี เมืองสุพรรณบรุ ี เป็นตน้ ตอ่ จากน้นั กรุง
ศรีอยธุ ยาไดเ้ จริญรุ่งเรืองข้นึ โดยลาดบั มีการขยายดินแดนออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง สืบต่อมาถึง 417 ปี มีพระมหากษตั ริย์
ปกครองแผน่ ดินสืบต่อกนั มา 34 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ และสมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั น์ ทรงเป็นพระมหากษตั ริยอ์ งคส์ ุดทา้ ย
ก่อนที่กรุงศรีอยธุ ยา จะสิ้นสุดลงใน พทุ ธศกั ราช 2310 ทาใหศ้ ูนยก์ ลางของประเทศไทยตอ้ งยา้ ยลงมากรุงธนบุรีและ
กรุงเทพมหานครตราบจนถึงทกุ วนั น้ี

2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพือ่ อธิบายความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์

2.2 เพื่อใหไ้ ดร้ ู้ถึงหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

2.3 เพอื่ เรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ในทางประวตั ิศาสตร์

3. ขอบเขต

3.1 สถานที่

3.2 ระยะเวลา

3.3 ตวั แปรหรือประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง

3.1 ตวั แปรตน้ คือ

3.2 ตวั แปรตาม คือ

3.3 ตวั แปรควบคุม คือ
3.1 ประชากร คือ
3.2 กลุ่มตวั อยา่ ง คือ

4. ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ

4.1เพื่อใหน้ กั เรียกนกั ศึกษาไดเ้ ขา้ ใจความเป็นมาของกรุงศรีอยธุ ยา
4.2เพ่ือใหน้ กั เรียนนกั ศึกษาทราบภูมิศาสตร์เบ้ืองตน้ ของกรุงศรีอยธุ ยา
4.3เพือ่ ใหน้ กั เรียนนกั ศึกษาพอจะทราบความเป็นมาของไทยในสมยั อยธุ ยา

บทท2่ี

ทฤษฎีที่เกยี่ วข้อง

ในการศึกษาเร่ืองหลกั ฐานสมยั อยธุ ยา

ผจู้ ดั ทารวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การต่างๆจากเอกสารที่เก่ียวขอ้ งดงั ต่อไปน้ี

2.1 หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ( Historical sources )

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทา การพดู การเขยี น การประดิษฐ์ การอยอู่ าศยั
ของมนุษย์ หรือลึกไปกวา่ ที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทศั น์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบตั ิของ
มนุษยใ์ นอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบนั สิ่งท่ีมนุษยจ์ บั ตอ้ งและทิ้งร่องรอยไว้ กลา่ วไดว้ า่ อะไรก็ตามที่มา
เกี่ยวพนั กบั มนุษย์ หรือมนุษยเ์ ขา้ ไปเก่ียวพนั สามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไดท้ ้งั สิ้น

2.2 ประโยชน์ของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

เป็นเคร่ืองมือในการสืบคน้ ร่องรอยของอดีต เป็นแหลง่ คน้ ควา้ ขอ้ เทจ็ จริงเก่ียวกบั เรื่องใดเร่ืองหน่ึง โดย
นาเอาไปประกอบกบั วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ เพื่อสร้างความเขา้ ใจ ในเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ท้งั ในอดีตและ
ปัจจุบนั

2.3 การแบ่งประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์

1. แบ่งตามยคุ ตามสมยั

-หลกั ฐานสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ คอื หลกั ฐานท่ีเกิดข้ึนในสมยั ท่ียงั ไม่มีการบนั ทึกเป็นอกั ษร แต่เป็นพวก
ซากโครงกระดูกมนุษย์ ซากส่ิงมีชีวิตต่างๆ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เคร่ืองประดบั ร่องรอยการต้งั ถ่ินฐานของ
ชุมชน ตลอดจนความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์ของมนุษยก์ ่อนประวตั ิศาสตร์ ในลกั ษณะของการ
บอกเล่าต่อๆกนั มา เป็นนิทานหรือตานานซ่ึงเราเรียกวา่ “มุขปาฐะ”

-หลกั ฐานสมยั ประวตั ิศาสตร์ คอื หลกั ฐานสมยั ที่มนุษยส์ ามารถประดิษฐ์ตวั อกั ษร และบนั ทึกในวสั ดุต่างๆ
มีร่องรอยที่แน่นอนเก่ียวกบั สงั คมเมือง มีการรู้จกั ใชเ้ หลก็ และโลหะอื่นๆ มาเป็นเครื่องมือใชส้ อยที่ปราณีต
มีร่องรอยศาสนสถานและประติมากรรมรูปเคารพในศาสนาอยา่ งชดั เจน

2. แบ่งตามลกั ษณะหรือวิธีการบนั ทกึ

-หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ จารึก ตานาน พงศาวดาร จดหมายเหตุ บนั ทึกความทรงจา
เอกสารทางวชิ าการ ชีวประวตั ิ จดหมายส่วนตวั หนงั สือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร กฎหมาย วรรณกรรม ตารา
วิทยานิพนธ์ งานวจิ ยั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย มีการเนน้ การฝึกฝนทกั ษะการใชห้ ลกั ฐาน
ประเภทลายลกั ษณ์อกั ษร เป็นส่วนใหญ่ จนอาจกล่าวไดว้ ่าหลกั ฐานประเภทน้ีเป็นแก่นของงานทาง
ประวตั ิศาสตร์ไทย

-หลกั ฐานไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไดแ้ ก่ หลกั ฐานโบราณคดี เช่น โบราณสถาน โบราณวตั ถุ เงินตรา
หลกั ฐานจากการบอกเลา่ ที่เรียกวา่ “มุขปาฐะ” หลกั ฐานดา้ นภาษา เก่ียวกบั พฒั นาการของภาษาพดู
หลกั ฐานทางศิลปกรรม ไดแ้ ก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ หลกั ฐาน
ประเภทโสตทศั น์ ไดแ้ ก่ ภาพถ่าย ภาพสไสด์ แผนท่ี โปสเตอร์ แถบบนั ทึกเสียง แผน่ เสียง ภาพยนตร์ ดวง
ตราไปรษณียากร

3.แบ่งตามความสาคญั

-หลกั ฐานช้นั ตน้ (Primary sources) อนั ไดแ้ ก่หลกั ฐานท่ีบนั ทึกไวโ้ ดยผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งโดยตรงหรือรู้
เห็นเหตุการณ์ดว้ ยตนเอง

-หลกั ฐานรอง(Secondary sources) ซ่ึงไดแ้ ก่บนั ทึกของผทู้ ่ีไดร้ ับทราบเหตกุ ารณ์จากคาบอกเลา่
ของบุคคลอื่นมาอีกต่อหน่ึง หนงั สือประวตั ิศาสตร์ท่ีมีผเู้ ขียนข้นึ ภายหลงั โดยอาศยั การศึกษาจากหลกั ฐาน
ช้นั ตน้ ก็ยงั ถือวา่ เป็นหลกั ฐานรองอยนู่ นั่ เอง นิธิ เอียวศรีวงศ์ ไดก้ ล่าวไวว้ า่ การแบง่ ประเภทของ
หลกั ฐานเป็นช้นั ตน้ และช้นั รอง มีประโยชน์ในการประเมินความน่าเชื่อถือของหลกั ฐาน หลกั ฐาน
ช้นั ตน้ มกั ไดร้ ับน้าหนกั ความน่าเช่ือถือจากนกั ประวตั ิศาสตร์มาก เพราะไดม้ าจากผรู้ ู้เห็นใกลช้ ิดกบั
ขอ้ เทจ็ จริง ในขณะที่หลกั ฐานรองไดร้ ับน้าหนกั ความน่าเช่ือถือนอ้ ยลง อยา่ งไรก็ตาม ไม่ควรถือใน
เร่ืองน้ีอยา่ งเคร่งครัดมากนกั เพราะหลกั ฐานช้นั ตน้ กอ็ าจใหข้ อ้ เท็จจริงผดิ พลาดได้ เช่นผบู้ นั ทึกไม่มี
ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริงในเหตกุ ารณ์ที่ตนบนั ทึก หรืออาจจะต้งั ใจปกปิ ดบิดเบือนความจริงเพ่ือประโยชน์
ของตนหรือคนท่ีตนรักเคารพ เป็นตน้ ในทางตรงกนั ขา้ ม เอกสารช้นั รองที่บนั ทึกไวโ้ ดยผไู้ มม่ ีส่วนได้
เสีย แมว้ า่ ห่างไกลจากเหตุการณ์ แต่ก็สอบสวนขอ้ เท็จจริงอยา่ งถ่องแทแ้ ลว้ กอ็ าจใหค้ วามจริงท่ี
ถูกตอ้ งกวา่ ก็ได้

หลกั ฐานในทางประวตั ิศาสตร์ในท่ีน้ีไม่ไดห้ มายถึงเอกสารท่ีเป็นตวั เล่มหรือเป็นกอ้ นศิลาที่เราจบั ตอ้ งได้
แต่หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในท่ีน้ีคือขอ้ ความท่ีบรรจุอยใู่ นเอกสารหรือขอ้ ความท่ีปรากฏอยบู่ นกอ้ นศิลา

น้นั ต่างหากที่ถือวา่ เป็นหลกั ฐาน เพราะขอ้ ความดงั กล่าวสามารถบอกเล่าใหเ้ ราทราบไดว้ า่ เกิดอะไรข้ึนใน

ช่วงเวลาดงั กล่าวได้ ขอ้ ความที่บรรจุอยใู่ นหลกั ฐานท้งั ช้นั ตน้ และช้นั รองน้นั เราเรียกกนั

วา่ “ ขอ้ สนเทศ ” ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ า่ ขอ้ สนเทศน้ีคือตวั หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์นน่ั เอง

ถา้ เช่นน้นั “ขอ้ สนเทศ” คืออะไร ?
“ขอ้ สนเทศ”คือสิ่งบรรจุอยใู่ นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์เช่น ขอ้ ความที่ปรากฏอยบู่ นพ้นื ผิวของศิลา
จารึก ขอ้ ความท่ีปรากฏอยบู่ นใบลาน กระดาษ ผืนผา้ ฝาผนงั สิ่งก่อสร้างตา่ งๆ ตลอดจนถึงจิตรกรรมท่ี
ปรากฏบนพ้นื ผิวตา่ งๆ ลกั ษณะรูปทรงของเจดีย์ วหิ าร อโุ บสถและสิ่งก่อสร้างตา่ งๆ หรือลกั ษณะพุทธ
ลกั ษณะของพระพทุ ธรูป หรือแมแ้ ต่ลกั ษณะถว้ ย ชาม หมอ้ ไห ฯลฯ ท่ีสามารถจาแนกไดว้ า่ อยใู่ นสมยั
ทวารวดี ศรีวชิ ยั ลพบุรี ลา้ นนา สุโขทยั อยธุ ยา รัตนโกสินทร์

2.4 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในประเทศไทย

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
- หลกั ฐานที่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
- หลกั ฐานที่ไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
1. หลกั ฐานที่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ถา้ แบง่ ตามลกั ษณะเด่นของขอ้ สนเทศท่ีใหใ้ นหลกั ฐานแลว้ อาจกลา่ ว
ไดว้ า่ มีอยู่ 12 ประเภท คือ

1.1 จดหมายเหตุชาวตา่ งชาติ
1.2 จดหมายเหตุชาวพ้นื เมือง
1.3 ตานาน
1.4 พงศาวดารแบบพุทธศาสนา
1.5 พระราชพงศาวดาร
1.6 เอกสารราชการหรือเอกสารการปกครอง
1.7 หนงั สือเทศน์
1.8 วรรณคดี
1.9 บนั ทึก
1.10 จดหมายส่วนตวั
1.11 หนงั สือพมิ พ์
1.12 งานนิพนธ์ทางประวตั ิศาสตร์
1.13 จารึก

2. หลกั ฐานท่ีไม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
2.1 หลกั ฐานทางโบราณคดี เช่น หลมุ ฝังศพ ซากโครง
กระดูก เคร่ืองป้ันดินเผา ลกู ปัด หมอ้ ไห ถว้ ย ชาม ภาชนะต่างๆ หลกั ฐานเหลา่ น้ีไดผ้ า่ นการ
ตีความหมายของนกั โบราณคดีตามหลกั วิชาอยา่ งถูกตอ้ งแลว้

2.2 หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ศิลปะ คือ ส่ิงก่อสร้างในงาน
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และส่ิงแวดลอ้ มของสังคมที่ใหก้ าเนิดศิลปกรรม
ท้งั หลาย หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ศิลปะมกั จะช่วยกาหนดอายขุ องเมืองหรืออารยธรรมที่ไมม่ ีหลกั ฐาน
อยา่ งอ่ืนบอกไว้

2.3 นาฏกรรมและดนตรี มกั เป็นศิลปะท่ีไดร้ ับสืบทอดจารีตมาแต่อดีต
2.4 คาบอกเล่า คอื เหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์ท่ีไมไ่ ดม้ ีการจดเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ไมม่ ีการจดบนั ทึก
ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน จึงแปรเปล่ียนไปตามยคุ สมยั และคนเลา่ ซ่ึงคาบอกเล่าน้ีมกั เป็นประวตั ิศาสตร์ทอ้ งถิ่น ท่ี
คนภายในสังคมน้นั มีขอ้ จากดั ทางการศึกษาจึงใชก้ ารจดจาบอกเล่าสืบต่อกนั มา

บทที่ 3
วิธีการค้นคว้า

3.1 คน้ ควา้ จากอินเตอร์เน็ต
3.2 คา้ ควา้ จากหนงั สือเรียนประวตั ิศาสตร์
3.3คน้ ควา้ จากหนงั สือพมิ พห์ รือสื่อตา่ งๆ

ภาพท3่ี .1 เว็บไซต์ท่ศี ึกษาค้นคว้า

ภาพที่ 3.2 หนังสือประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย

บทที4่

ผลการศึกษาค้นคว้า

ไดล้ งมือศึกษาคน้ หาประวตั ิดว้ ยตนเองและลงมือทาตามที่ศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งถูกตอ้ ง และได้
รวบรวมขอ้ มลู มาเพ่ือศึกษาไดม้ ากยง่ิ ข้นึ จะไดม้ ีประโยชน์เพ่ือจะไดใ้ ชใ้ นการลงมือปฎิบตั ิต่อไปได้ และยงั
สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ใหก้ บั เด็กและเยาวชนไดอ้ ีก ท้งั น้ียงั ศึกษาขอ้ มูลทางประวตั ิศาสตร์ในเชิงลึกได้
อีกดว้ ย

บทที่ 5

สรุป ผลอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการทดลอง
เราสามารถใชอ้ ินเทอร์เน็ต หนงั สือ หรือสิ่งต่างๆได้ ซ่ึงสามารถหาขอ้ มลู หรือส่ิงต่างๆไดม้ ากมาย และ

การจดบนั ทึกในสมดุ กรือหนงั สือซ่ึงส่ิงเหล่าน้ียงั ใหค้ วามรู้ไดม้ ากอีกดว้ ย
5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการค้นคว้า

การขดั แยง้ ภายในกลมุ่ การบริหารเวลา ไดข้ อ้ มลู ไมต่ รงกบั กบั ขอ้
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นา

การปรับปรุงส่ือต่างๆที่ไมเ่ ป็นจริง

บรรณานุกรม

หนังสือ
-หนงั สือประวตั ิศาสตร์ชาติไทย

เว็บไซต์
- https://sites.google.com/site/mewmewanittayauppakhot/hlak-than-thang-

prawatisastr


Click to View FlipBook Version