แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1
รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหสั วิชา ว32282 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ชอื่ หนว่ ย เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพ่อื การพัฒนาอยา่ งยั่งยืน เวลา 12 ชัว่ โมง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง นวตั กรรมคืออะไร เวลา 4 ช่ัวโมง
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ครผู ู้สอน นายกรกฎ เกษมสนิ ธ์ุ
1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด
1.1 ตัวชวี้ ัด
ว 4.1 ม.5/1 ประยุกต์ใช้ความรแู้ ละทักษะจากศาสตร์ตา่ ง ๆ รวมทงั้ ทรัพยากรในการทำโครงงาน
เพ่อื แก้ปญั หาหรือพฒั นางาน
2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของนวัตกรรมและเทคโนโลยีไดถ้ ูกต้อง (K)
2. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมได้ถูกต้อง (K)
3. สืบค้นข้อมูลเก่ยี วกับตัวอย่างการสรา้ งนวัตกรรมได้ถูกต้อง (P)
4. เล็งเห็นถึงความสำคญั ของการนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่
- การทำโครงงาน เปน็ การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
และทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทัง้ ทรพั ยากร
ในการสร้างหรอื พฒั นาช้นิ งานหรอื วธิ กี าร เพื่อ
แกป้ ญั หาหรืออำนวยความสะดวกในการทำงาน
- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
สามารถดำเนินการได้ โดยเรม่ิ จาก การสำรวจ
สถานการณ์ปัญหาท่ีสนใจ เพือ่ กำหนดหวั ขอ้
โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับปญั หา ออกแบบแนวทางการ
แก้ปัญหา วางแผน และดำเนินการแก้ปัญหา
ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรบั ปรุงแก้ไขวิธีการ
แกป้ ัญหาหรอื ชนิ้ งาน และนำเสนอวธิ กี าร
แก้ปญั หา
4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
นวตั กรรม คือ การสร้างสิง่ ใหม่ หรอื การนำของเก่ามาปรับปรงุ ให้แตกต่างจากของเดมิ โดยใช้
ความคดิ สร้างสรรค์ และความรูใ้ นแขนงตา่ ง ๆ ทำการทดสอบการใชง้ าน และปรบั ปรงุ ใหม้ ีประสิทธิภาพ
ดขี ึ้น หรอื อาจกล่าวไดว้ า่ นวัตกรรมมาจากการนำเทคโนโลยแี ละความรู้หลายดา้ นมารวมกนั
5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ
- ทกั ษะการส่ือสาร 2. ใฝเ่ รยี นรู้
- ทกั ษะการแลกเปล่ยี นข้อมูล 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
2. ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
- ทกั ษะการทำงานร่วมกนั
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทักษะการสืบค้นขอ้ มูล
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชว่ั โมงที่ 1
ขนั้ นำ
ข้นั ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีและนวตั กรรม
เพ่ือการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน เพ่ือวัดความร้เู ดมิ ของนักเรียนก่อนเขา้ สู่กจิ กรรม
2. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนวา่ “นวตั กรรมเปน็ ส่งิ ประดิษฐท์ ่ีคดิ ค้นข้นึ มาใหม่
หรอื เปลยี่ นแปลงไปจากเดิม”
(แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยูก่ บั ดุลยพนิ จิ ของ
ครูผูส้ อน)
3. ครูถามคำถามประจำหวั ข้อกับนักเรียนวา่ “นกั เรียนคิดว่าดินสอจดั เป็นนวตั กรรมหรือไม่
เพราะเหตุใด”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยกู่ บั ดุลยพินจิ ของ
ครผู สู้ อน)
ข้นั สอน
ข้นั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน หรือตามความเหมาะสมเพ่ือให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสืบค้น
เก่ยี วกบั ความหมายของคำว่า“นวตั กรรม” จากหนงั สือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเพือ่ การพัฒนาอย่างยง่ั ยนื หรือจากอินเทอร์เน็ตที่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง
2. จากนั้นให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอเก่ียวกบั ความหมายของนวตั กรรม
ตามทไี่ ดส้ บื ค้นจากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ พรอ้ มอภปิ รายร่วมกันในหอ้ งเรียน
3. ครเู น้นยำ้ กับนักเรียนเพ่ือใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจมากยิ่งข้ึนวา่ “นวัตกรรม หมายถึง การสร้างส่ิงใหม่
หรือการนำของเกา่ มาปรบั ปรุงให้แตกต่างจากของเดมิ โดยใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ และความรู้
ในแขนงต่าง ๆ แล้วมีการทดสอบการใช้งาน และปรับปรุงใหม้ ีประสิทธภิ าพดีขึน้ ”
4. ครูยกตัวอยา่ งนวัตกรรมของการพัฒนาของที่มอี ยู่ใหด้ ียิ่งข้ึนตามหนงั สือเรียน ไดแ้ ก่ ห่นุ ยนต์
Pepper และอธบิ ายวา่ “หนุ่ ยนต์ Pepper เป็นหุ่นยนต์ที่ถกู พัฒนาขึ้นให้มีรูปรา่ งและสติปัญญา
เทียบเท่ามนุษย์ สร้างขึ้นมาเพ่ือสร้างความสุขให้กับคนรอบตวั มีปญั ญาประดิษฐท์ ี่ชว่ ยใน
การเรียนรอู้ ารมณ์และความรู้สกึ ของมนุษย์จากสีหน้า และจรวด Falcon 9 เปน็ นวตั กรรม
การสร้างพาหนะสำหรับเดินทางในอวกาศโดยจรวดนี้ถกู ออกแบบมาให้สามารถนำกลับมาใช้
ใหม่ได้อยา่ งน้อย 10 คร้ัง เป็นต้น”
5. ครชู ี้แนะกับนักเรยี นว่า“นวตั กรรมยังช่วยทำให้เศรษฐกิจมีการเติบโต โดยการสรา้ งเศรษฐกจิ
ตอ้ งใชค้ วามรู้ในการแปลงทรัพยากรให้อยใู่ นรูปของผลิตภัณฑห์ รือรูปของกระบวนการ หากใช้
ทรัพยากรอย่างไม่ระมัดระวัง จะทำให้ทรัพยากรเกดิ การเสียสมดลุ ส่งผลใหก้ ารเติบโต
ทางเศรษฐกจิ ไม่ยั่งยืน เกิดปัญหาในอนาคตได้”
6. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรู้เพ่มิ เตมิ ในสว่ นน้ัน
ชว่ั โมงที่ 2
ขั้นสอน
ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
7. ครทู บทวนเน้ือหาการเรยี นเม่ือชัว่ โมงทแ่ี ลว้ เกีย่ วกับความหมายของนวตั กรรม และใหน้ ักเรียน
แสดงความคิดเหน็ พร้อมยกตัวอยา่ งนวตั กรรมตา่ ง ๆ ร่วมกับเพอ่ื นในช้ันเรียน
8. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม (กลมุ่ เดมิ ) เพอ่ื ร่วมกันสงั เกตและศึกษาวิวัฒนาการเทคโนโลยีการจดั เก็บ
ข้อมลู จากหนงั สอื เรยี น
9. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั วิวัฒนาการของการนำเทคโนโลยีมาใชว้ ่า“ในด้านการคำนวณกม็ ี
วิวฒั นาการมาตง้ั แตส่ มัยก่อนซง่ึ จะใช้ก้อนหินหรือกิ่งไม้มาช่วยในการคำนวณ ต่อมาก็พัฒนา
มาเป็นลูกคดิ เครื่องคิดเลข เครอื่ งบวกเลข และมาเป็นคอมพวิ เตอร์ในปัจจบุ ัน”
10. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครใู ห้ความรเู้ พ่ิมเตมิ ในส่วนน้นั
11. จากน้นั ครูถามกระตุ้นความคิดของนักเรียนวา่ “นักเรียนคดิ วา่ ปัจจบุ ันมีวิวัฒนาการใดอีกบ้าง
ที่นำเทคโนโลยเี ขา้ มาใช้งานในชวี ติ ประจำวัน โดยให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นร่วมกนั และบันทึกขอ้ มูลลงในสมุดประจำตัว”
12. นักเรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
ชั่วโมงท่ี 3
ขน้ั สอน
ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
13. ครูทบทวนเน้ือหาการเรยี นเม่ือชวั่ โมงทแี่ ลว้ เกี่ยวกบั ความสัมพนั ธข์ องเทคโนโลยีและนวัตกรรม
14. นักเรยี นศึกษารปู แบบของเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม จากหนังสือเรยี นหรอื สบื ค้นเพิม่ เตมิ จาก
อนิ เทอร์เนต็ ท่เี ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ของตนเอง
15. ครสู มุ่ นักเรยี น 2-3 คน ออกมาอธบิ ายความหมายของคำว่าเทคโนโลยีหน้าช้ันเรยี น
ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
16. ครูอธิบายเพิ่มเตมิ เกย่ี วกับเทคโนโลยีวา่ “เทคโนโลยีมีประโยชนส์ ำหรบั มนษุ ยใ์ นหลาย ๆ ด้าน
เช่น ช่วยยกระดับคุณภาพชวี ิตของมนุษย์ ชว่ ยให้มนุษย์มคี วามสะดวกสบายขึน้ ชว่ ยให้มนษุ ย์
ทันสมยั ชว่ ยประหยดั เวลา และช่วยเหลอื ในการทำงานของมนษุ ย์”
17. ครยู กตัวอย่างผลติ ภัณฑท์ ส่ี ร้างจากความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ในหนังสือเรียน เช่น ดนิ สอ
คอมพิวเตอร์ รถยนต์ โทรศัพท์ ดาวเทยี ม เป็นตน้
18. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นภายในชั้นเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกนั ภายในชน้ั เรยี นเกี่ยวกบั
ผลิตภณั ฑท์ ่สี รา้ งจากความรทู้ างวิทยาศาสตร์
19. ครตู ัง้ คำถามเพ่ือกระตุ้นความคดิ ของนักเรียนว่า“นักเรยี นคิดว่าเทคโนโลยีและนวตั กรรม
แตกต่างกนั อย่างไร”
(แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยู่กับดลุ ยพนิ ิจของ
ครผู ้สู อน เช่น เทคโนโลยีคือการนำความรูไ้ ปใชใ้ ห้เกดิ ผลติ ภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิต
และผลผลิตที่สรา้ งขนึ้ สามารถนำไปจัดจำหนา่ ยได้จะเรียกว่า นวตั กรรม เปน็ ตน้ )
20. ครอู ธิบายเกรด็ เสริมความรู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับเน้ือหา (Design Focus) เรื่อง การสร้างนวัตกรรมวา่
“การสรา้ งนวตั กรรม คือ การนำของเก่ามาปรบั ปรงุ เพ่ิมเติม โดยการใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์เป็น
สิ่งใหมน่ ำมาซึ่งผลิตภณั ฑ์ทด่ี ีขึ้นกว่าเดมิ เชน่ ตัวเก็บข้อมลู โทรทศั น์ รถยนต์ ซึ่งแตล่ ะ
ผลติ ภณั ฑ์
มีจุดประสงค์หลัก คอื ได้เพ่ิมความสะดวกสบาย ทนั สมยั ลดตน้ ทนุ แต่ได้มูลค่าทสี่ ูงขน้ึ ”
21. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสยั และครใู ห้ความรเู้ พมิ่ เตมิ ในสว่ นนั้น
ชัว่ โมงที่ 4
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
22. นักเรยี นแตล่ ะคนทำกจิ กรรมที่สอดคล้องกบั เนื้อหา โดยให้ผ้เู รยี นฝึกปฏิบตั ิเพือ่ พัฒนาความรู้
และทกั ษะ (Design Activity) ลงในสมุดประจำตวั
23. ครูสมุ่ นกั เรียน 4-5 คน หรือตามความเหมาะสม ออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน
Note
วัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรมเพือ่ ใหน้ กั เรียน
- มีทกั ษะการทำงานรว่ มกนั โดยใช้กระบวนการกลมุ่ ในการทำงานหรอื การทำ
กจิ กรรมเพือ่ ใหเ้ กดิ การส่ือสารและแลกเปลย่ี นข้อมูลรว่ มกันภายในกลุ่ม
- มีทกั ษะการสืบค้นข้อมูล โดยใหน้ กั เรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็
เพื่อสืบเสาะหาความรู้ตามหวั ขอ้ ที่ได้รบั มอบหมาย
- มีทักษะการสงั เกต โดยใหน้ ักเรยี นสังเกตวิวฒั นาการเทคโลยีจากหนงั สือเรียน
เพอื่ นำไปปรับใชใ้ นการเรียนได้อย่างเหมาะสม
- มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ โดยให้นกั เรยี นพจิ ารณาเนื้อหาจากการสบื คน้ หรือศึกษา
ขอ้ มลู จากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ เช่น หนงั สือเรยี น อินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น
ขัน้ สรปุ
ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมนิ ผลนักเรยี นจากการนำเสนอผลงาน สังเกตการตอบคำถาม และการให้ความร่วมมอื
ทางการเรียน
2. ครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกบั เนอ้ื หา โดยใหผ้ ูเ้ รยี นฝึกปฏบิ ัติ
เพอ่ื พฒั นาความรู้และทักษะ (Design Activity)
3. นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ เก่ียวกับนวตั กรรมและเทคโนโลยีวา่ “นวตั กรรมและเทคโนโลยีล้วน
เกิดข้นึ จากความต้องการของมนษุ ยท์ ต่ี ้องการส่งิ ใหมท่ ่ีดีกว่ามาทดแทนสง่ิ เดมิ เพื่ออำนวยความ
สะดวก ตัวอย่างเช่น ในอดตี มนุษยใ์ ชไ้ ม้กวาดและที่ตัดผงในการทำความสะอาดบ้านเรือน
ต่อมามีการคิดค้นนวัตกรรมเครื่องดูดฝนุ่ เพือ่ ผ่อนแรงและประหยดั เวลา เปน็ ตน้ ”
7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ัด เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมนิ ตามสภาพจริง
รายการวดั ก่อนเรียน
7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2
- ประเมนิ การนำเสนอ การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
- แบบทดสอบก่อนเรยี น ผลงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
เร่ือง เทคโนโลยีและ การทำงานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2
นวตั กรรมเพื่อการพฒั นา - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
อย่างยั่งยืน การทำงานกลมุ่
7.2 ประเมินระหว่างการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้
1) การนำเสนอผลงาน
2) พฤตกิ รรมการทำงาน
รายบคุ คล
3) พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
4) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
ความรบั ผดิ ชอบ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ ม่นั อนั พงึ ประสงค์
ในการทำงาน
8. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพื่อการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื
2) เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอร์เน็ต
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวิชา ว32282 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ชื่อหนว่ ย เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพื่อการพฒั นาอยา่ งย่ังยืน เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง การพฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื เวลา 8 ชั่วโมง
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นายกรกฎ เกษมสนิ ธุ์
1. มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด
1.1 ตวั ชว้ี ดั
ว 4.1 ม.5/1 ประยกุ ตใ์ ช้ความรแู้ ละทักษะจากศาสตรต์ า่ ง ๆ รวมทงั้ ทรัพยากรในการทำโครงงาน
เพื่อแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ถกู ต้อง (K)
2. อธิบายหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ถกู ต้อง (K)
3. เขียนแนวทางการปฏิบตั ิตนตอ่ ด้านตา่ ง ๆ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้ (P)
4. เลง็ เห็นถงึ ความสำคญั ของการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั (A)
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ
พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การทำโครงงาน เป็นการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้และทกั ษะจาก
ศาสตรต์ ่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากร ในการสรา้ งหรือพัฒนา
ชิ้นงานหรอื วธิ ีการ เพอ่ื แก้ปัญหาหรืออำนวยความสะดวกใน
การทำงาน
- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี สามารถ
ดำเนนิ การได้ โดยเร่ิมจาก การสำรวจสถานการณป์ ัญหาท่ี
สนใจ เพอ่ื กำหนดหวั ข้อโครงงาน แล้วรวบรวมข้อมูลและ
แนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้องกบั ปัญหา ออกแบบแนวทางการ
แกป้ ัญหา วางแผน และดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ
ประเมนิ ผล ปรับปรุงแก้ไขวิธีการแกป้ ัญหาหรอื ชิ้นงาน และ
นำเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา
4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรชั ญาท่ีช้ถี ึงแนวทางการดำรงอย่แู ละปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทุกระดับ
ในการพฒั นาประเทศและบริหารประเทศใหด้ ำเนนิ ไปในทางสายกลาง ประกอบด้วยความพอประมาณ
ความมเี หตผุ ล และมภี มู ิคุ้มกัน โดยมเี ง่ือนไขความรู้ และเง่ือนไขคณุ ธรรม นอกจากน้ันหลักปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพียงยังทำให้เกิดการพฒั นาอยา่ งยั่งยืนได้ เพราะเปน็ แนวคิดการใชช้ วี ติ ที่สมดุลกบั ธรรมชาติ
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ
- ทกั ษะการสื่อสาร
- ทักษะการแลกเปล่ียนข้อมลู 2. ใฝ่เรยี นรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทักษะการสืบค้นขอ้ มลู
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
ขัน้ นำ
ข้ันท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1. ครูทบทวนความร้เู ดิมจากชั่วโมงท่ผี ่านมาเก่ียวกบั เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
2. ครูเขียนคำว่า“การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน” ลงบนกระดานหน้าช้ันเรียน จากนั้นให้นักเรียน
ออกมาเติมคำตอบว่ามีแนวทางในการพัฒนาประเทศอย่างไรบ้าง โดยเติมคำตอบในลักษณะ
ของผงั มโนทัศน์ (Mind Mapping) ใหถ้ ูกตอ้ ง
3. จากนัน้ นกั เรยี นและครพู ิจารณาคำตอบร่วมกัน โดยครูอธบิ ายกับนักเรยี นวา่ “หลักปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นปรัชญาท่มี ีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยสามารถยึด
เปน็ แนวทางสูก่ ารพัฒนาประเทศทยี่ ง่ั ยนื ”
4. ครถู ามคำถามประจำหวั ข้อกับนกั เรยี นว่า “นกั เรียนรูห้ รือไมว่ ่าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สัมพันธก์ บั เทคโนโลยีอยา่ งไร”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยู่กับดลุ ยพนิ ิจของ
ครูผูส้ อน)
ขั้นสอน
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน หรือตามความเหมาะสม เพอ่ื ร่วมกันสืบคน้ เกย่ี วกบั
ความหมายของคำว่า “หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” จากอินเทอรเ์ นต็ ที่เครอ่ื ง
คอมพิวเตอร์ของตนเอง จากน้นั นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอเกี่ยวกับ
ความหมายของคำวา่ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พร้อมอภปิ รายร่วมกนั ในห้องเรียน
2. นกั เรยี นศึกษาเพม่ิ เตมิ เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากหนังสอื เรยี นรายวชิ า
พ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1
เร่อื ง เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพ่อื การพัฒนาอยา่ งย่ังยืน
3. ครูช้แี นะกบั นักเรยี นเก่ียวกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งวา่ “เศรษฐกจิ พอเพียงเป็น
ปรชั ญาทร่ี ชั กาลท่ี 9 ทรงชีแ้ นะแนวทางการดำเนินชวี ติ แก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอด
รวมถึงการพฒั นาและการบริหารประเทศท่ีตัง้ อยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง โดยคำนึง
ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งภูมิคุม้ กนั ทีด่ ใี นตัว ตลอดจนใช้ความรู้
ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสนิ ใจ และการกระทำ”
4. นกั เรียนศึกษาทฤษฎีใหม่หวั ใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากหนังสือเรยี นเก่ยี วกับการจัดพ้นื ท่ดี ินเพื่อ
การอยู่อาศยั และการมีชวี ติ ที่ย่งั ยืน และให้นกั เรยี นสังเกตแผนภาพแสดงเกษตรทฤษฎใี หม่
ในการแบง่ สดั สว่ นพน้ื ที่ออกเป็น 30 : 30 : 30 : 10
ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
5. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมเกย่ี วกบั ทฤษฎใี หม่หัวใจเศรษฐกจิ พอเพียงว่า“เกษตรทฤษฎีใหม่ คือ
ตวั อย่างที่เปน็ รูปธรรมของการประยุกต์ใช้เศรษฐกจิ พอเพยี งทีเ่ ดน่ ชดั ท่สี ุด ซึง่ รัชกาลที่ 9
ไดพ้ ระราชทานเพ่ือชว่ ยเหลือเกษตรกรท่ีมักประสบปัญหาทั้งภยั ธรรมชาติ ใหส้ ามารถผา่ นพน้
ชว่ งเวลาวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำได้โดยไมเ่ ดอื ดรอ้ นและยากลำบาก”
ช่ัวโมงท่ี 2
ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
6. ครทู บทวนความรู้เดิมเกีย่ วกับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กล่มุ เดิม) พร้อมต้ังคำถามเพื่อใหน้ กั เรียนไดส้ บื คน้ ข้อมูลจากทาง
อินเทอร์เนต็ ภายใต้หวั ข้อเกษตรทฤษฎใี หม่สำคัญอย่างไร จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นจัดทำออกมาใน
รปู แบบของปา้ ยนเิ ทศให้ความรู้ และส่งตวั แทนออกมานำเสนอในชว่ั โมงถดั ไป
ช่วั โมงที่ 3
ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
8. ครูทบทวนหวั ขอ้ เรื่องทีค่ รมู อบหมายให้นักเรยี นไปสืบคน้ ข้อมลู จากทางอินเทอร์เน็ตว่า
“เกษตรทฤษฎีใหมส่ ำคัญอย่างไร”
9. เปิดโอกาสให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน โดยครคู อยใหค้ ำแนะนำ
ตามความเหมาะสม
ชั่วโมงที่ 4
ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
10. นักเรยี นศึกษาคุณสมบัติของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ประการจากหนงั สือเรยี น ท่ีแบง่ ออกเปน็
ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และมีภมู คิ มุ้ กัน
11. ครวู าดรปู 3 ห่วง ของเศรษฐกิจพอเพียงบนกระดานหนา้ ช้ันเรยี น และอธิบายประกอบ
เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเข้าใจเพ่ิมขึน้ ว่า“เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยคณุ สมบตั ิ 3 ประการ ดังนี้
1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป
โดยไมเ่ บียดเบยี นตนเองและผู้อ่ืน
2) ความมเี หตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกยี่ วกับระดับความพอเพียงนน้ั จะต้องเปน็ ไป
อยา่ งมีเหตผุ ล
3) มีภูมิคมุ้ กัน หมายถงึ การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน
ตา่ ง ๆ ที่จะเกดิ ขน้ึ
โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมให้อยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ คือ
เง่อื นไขความรู้และเง่ือนไขคุณธรรม”
12. นักเรียนสงั เกตและบันทึกผงั แสดงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลที่ 9 ลงในสมุด
ประจำตัวของตนเอง
13. นกั เรยี นทำความเขา้ ใจกบั เกร็ดเสรมิ ความร้ทู เี่ กี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหา (Design Focus) เรื่อง
เศรษฐกิจพอเพยี ง และสุม่ นกั เรียนออกมาอภิปรายหนา้ ช้ันเรียนว่า“เศรษฐกิจพอเพยี งในระดับ
บุคคล คือ การดำรงชวี ิตอยู่ได้อย่างไม่เดือดรอ้ น ไมห่ ลงใหลไปตามกระแสของวตั ถุนยิ ม มี
เสรีภาพ ไมพ่ ันธนาการอยู่กบั สงิ่ ใด สามารถพ่ึงตนเองได้ทัง้ ทางจิตใจ สงั คม ประยกุ ตใ์ ช้
ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ มาทดลองและศึกษาเพ่ือให้เกดิ เทคโนโลยใี หม่ ๆ สอดคล้องกบั ภมู ิประเทศ
และสงั คม ทำใหเ้ กิดเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งที่แมจ้ ะไม่มีเงินก็ยังมีอาหารเพ่ือยงั ชีพ ซงึ่ สามารถ
นำไปส่กู ารพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศในระดับมหภาคต่อไป”
14. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรเู้ พ่ิมเตมิ ในสว่ นน้นั
15. นกั เรียนทำใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และสุ่มนกั เรียน 2-3 คนออกมานำเสนอ
หน้าช้นั เรยี น พร้อมกบั อภปิ รายร่วมกนั ในห้องเรยี น
ชวั่ โมงท่ี 5
ขั้นสอน
ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
16. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันทบทวนเนอื้ หาการเรียนเมอ่ื ชั่วโมงที่ผ่านมาเกีย่ วกับผังแสดง
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของรัชกาลท่ี 9
17. นักเรยี นศกึ ษาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืนทีไ่ ด้รับการเชิดชู
เกยี รติสูงสดุ จากองค์การสหประชาชาติ (UN) จากหนงั สือเรยี นหรอื สืบคน้ เพ่ิมตมิ จาก
ทางอินเทอร์เน็ต
18. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ เพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจเพิ่มมากขนึ้ ว่า“รชั การที่ 9 ได้พระราชทานหลักปรัชญา
เพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยืนใหก้ ับโลก และไดร้ บั การเชดิ ชูเกยี รตสิ ูงสุดจากองค์การสหประชาชาติ
(UN) ต่อมาองคก์ ารสหประชาชาติ (UN)ได้จดั ทำเปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื หรือท่ีเรียกวา่
SDGs 17 ประการ ประกอบด้วย
1) ขจดั ความยากจน
2) ขจัดความหวิ โหย
3) มสี ขุ ภาพและความเป็นอยู่ทีด่ ี
4) การศกึ ษาที่เทา่ เทียม
5) ความเทา่ เทียมทางเพศ
6) การจดั การน้ำและสขุ าภบิ าล
7) พลังงานสะอาดทท่ี ุกคนเขา้ ถงึ ได้
8) การจา้ งงานที่มคี ุณคา่ และการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ
9) อตุ สาหกรรม นวตั กรรม โครงสรา้ งพ้นื ฐาน
10) ลดความเหลอ่ื มลำ้
11) เมอื งและถิน่ ฐานมนุษย์อย่างยั่งยนื
12) แผนการบริโภคและการผลติ ทยี่ ั่งยืน
13) การรบั มอื การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
14) การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเล
15) การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
16) สงั คมสงบสขุ ยตุ ธิ รรมไม่แบง่ แยก
17) ความรว่ มมอื เพ่ือการพฒั นาที่ย่ังยนื
19. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรู้เพิ่มเตมิ ในสว่ นนั้น
ชว่ั โมงที่ 6
20. นักเรยี นทำใบงานที่ 1.2.2 เรอ่ื ง เป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยนื และสมุ่ นักเรยี น 17 คน
ออกมาเฉลยคำตอบ พร้อมกับอภปิ รายร่วมกนั ในห้องเรียน โดยครคู อยใหค้ ำแนะนำตาม
ความเหมาะสม
ชั่วโมงที่ 7
ข้ันสอน
ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
21. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ทบทวนเน้ือหาการเรียนเมอื่ ชั่วโมงท่ีผา่ นมาเกย่ี วกบั เป้าหมายการพัฒนา
อยา่ งยง่ั ยนื 17 ประการ
22. นักเรยี นศกึ ษาเกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกับวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
จากหนังสือเรยี น พรอ้ มสงั เกตตวั อยา่ งการผลิตพลังงานทดแทนไบโอดีเซลในหนังสือเรยี น
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
23. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คนหรือตามความเหมาะสม เพื่อรว่ มกนั สืบค้นตัวอยา่ งการใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี ากอินเทอรเ์ น็ต และ
คัดเลอื กเนอ้ื หา 1 เร่ือง เพื่อนำเสนอหนา้ ชนั้ เรียน
24. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอหน้าชนั้ เรียน โดยครูคอยให้คำแนะนำ
ตามความเหมาะสม
Note
วัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพือ่ ใหน้ กั เรียน
- มีทักษะการทำงานรว่ มกันโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานหรอื การทำ
กจิ กรรมเพ่ือให้เกิดการสื่อสารและแลกเปลย่ี นขอ้ มูลรว่ มกันภายในกลมุ่
- มีทกั ษะการสบื คน้ ข้อมลู โดยให้นกั เรยี นแต่ละคนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เนต็
เพ่ือสบื เสาะหาความรู้ตามหัวข้อท่ีได้รับมอบหมาย
- มีทกั ษะการสงั เกต โดยให้นักเรียนสังเกตแผนภาพเกษตรทฤษฎีใหม่ ผังแสดงหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และตัวอยา่ งการผลติ พลังงานทดแทนไบโอดีเซลจากหนงั สือเรียน
เพ่อื นำไปปรบั ใช้ในการเรียนได้อย่างเหมาะสม
- มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ โดยใหน้ กั เรียนพิจารณาเนื้อหาจากการสืบค้นหรือศึกษา
ขอ้ มูลจากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ เชน่ หนงั สอื เรียน อนิ เทอรเ์ น็ต เป็นตน้
ชวั่ โมงที่ 8
ขัน้ สรปุ
ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลนกั เรียนจากการนำเสนอผลงาน สังเกตการตอบคำถาม การให้ความร่วมมือ
ทางการเรียน สมุดประจำตวั และการทำใบงาน
2. ครตู รวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานท่ี 1.2.1 และ ใบงานท่ี 1.2.2
3. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ เก่ียวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการพฒั นาอย่าง
ย่ังยนื
4. นกั เรียนทำแบบฝึกหดั ทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาการคดิ ของผเู้ รยี น
(Unit Question) โดยการตอบคำถามลงในสมดุ ประจำตัว
5. ครูสุม่ นกั เรียน 5 คน ออกมาเฉลยการตอบคำถามจากการทำกิจกรรม Unit Question
หน้าชัน้ เรยี น
6. นักเรียนตรวจสอบระดับความสามารถของตนเอง (Self - Check) โดยพิจารณาข้อความวา่ ถกู
หรือผดิ หากนักเรียนพจิ ารณาขอ้ ความไม่ถูกต้องให้นักเรยี นกลบั ไปทบทวนเน้อื หาตามหัวขอ้ ที่
กำหนดให้
7. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพ่ือการ
พฒั นาอย่างยง่ั ยืน เพื่อวัดความรูท้ ่ีนกั เรียนได้รบั หลังจากผ่านการเรียนรู้
8. มอบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทำชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) เรอื่ ง การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จากนั้นนำมาส่งในชั่วโมงถดั ไป
7. การวัดและประเมนิ ผล
รายการวดั วธิ ีวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน
7.1 ประเมินระหวา่ งการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
1) เศรษฐกิจพอเพยี ง - ตรวจใบงานที่ 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2) เปา้ หมายการพฒั นา - ตรวจใบงานท่ี 1.2.2 - ใบงานท่ี 1.2.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
อยา่ งยงั่ ยืน
3) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
4) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
5) พฤติกรรมการทำงานกล่มุ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
รายการวดั วธิ วี ดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน
6) คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สังเกตความมีวินยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2
ความรับผิดชอบ คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
7.2 การประเมินหลังเรียน ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั อนั พงึ ประสงค์
1) แบบทดสอบหลงั เรียน ในการทำงาน ประเมินตามสภาพจรงิ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 - แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง เทคโนโลยีและ - ตรวจแบบทดสอบ ระดบั คุณภาพ 2
นวตั กรรมเพ่ือการพัฒนา หลังเรียน - แบบประเมินชิ้นงาน ผา่ นเกณฑ์
อย่างยง่ั ยนื /ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจชิน้ งาน/ภาระ
2) การประเมินช้ินงาน งาน (รวบยอด)
/ภาระงาน (รวบยอด)
เร่อื ง การปฏิบตั ิตนตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2) ใบงานที่ 1.2.1 เร่อื ง เศรษฐกิจพอเพียง
3) ใบงานท่ี 1.2.2 เร่ือง เป้าหมายการพฒั นาอย่างยั่งยนื
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อนิ เทอรเ์ นต็
ใบงานท่ี 1.2.1
เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการใช้จา่ ยของนกั เรียน
โดยเขยี นตามหลกั 3 ห่วง 2 เง่อื นไข
พอประมาณ
.......................................
.......................................
.......................................
มเี หตุผล....................................มีภมู ิคมุ้ กัน
....................................... .......................................
....................................... .......................................
....................................... .......................................
.................................... ....................................
เงอ่ื นไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
การใชจ้ า่ ยของนกั เรยี น
ใบงานท่ี 1.2.1 เฉลย
เรอื่ ง เศรษฐกจิ พอเพียง
คำช้แี จง : ให้นักเรียนบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการใชจ้ ่ายของนกั เรียน
โดยเขียนตามหลัก 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข
พอประมาณ
มคี วามพอประมาณในการ
ใช้จา่ ยให้เพยี งพอเหมาะสม
กับรายรับ
มเี หตุผล มีภูมคิ ุ้มกนั
ร้จู ักใชจ้ า่ ยเฉพาะสงิ่ ทเ่ี ปน็ หาแนวทางเพ่ิมรายได้ใหก้ บั
ประโยชน์ ไมฟ่ ่มุ เฟือย ตนเอง เพ่ือป้องกันภาวะ
รายจา่ ยเกินรายรับ
เงอ่ื นไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม
มีความรอบรู้ในการใชจ้ า่ ยอย่างเหมาะสม รูจ้ ักประหยดั อดออม มมี านะ และ
กับรายรบั ของตนเองและรู้วธิ ีการเพิ่ม อดทน
รายได้
การใชจ้ า่ ยของนกั เรียน
ใบงานที่ 1.2.2
เรื่อง เป้าหมายการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน
คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาวา่ เปา้ หมายการพัฒนาอยา่ งยั่งยนื ทั้ง 17 ประการมคี วามสัมพันธเ์ ก่ียวข้องกบั
ดา้ นใด โดยใหท้ ำเคร่ืองหมาย ในดา้ นทน่ี ักเรยี นคิดวา่ เกี่ยวขอ้ ง
เปา้ หมาย ดา้ นสงั คม ด้านเศรษฐกจิ ด้านสิง่ แวดล้อม ด้านการจัดการ
1 : ขจัดความยากจน
2: ขจดั ความหวิ โหย
3: การมีสขุ ภาพและความเป็นอยทู่ ดี่ ี
4: การศกึ ษาท่ีเทา่ เทียม
5: ความเทา่ เทียมทางเพศ
6: การจัดการน้ำและสขุ าภบิ าล
7: พลงั งานสะอาดทีท่ กุ คนเข้าถงึ ได้
8: การจา้ งงานทมี่ ีคณุ ค่าและการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ
9: อตุ สาหกรรม นวตั กรรม โครงสร้างพนื้ ฐาน
10: ลดความเหลอ่ื มล้ำ
11: เมืองและถ่ินฐานมนุษยอ์ ยา่ งยง่ั ยืน
12: แผนการบรโิ ภคและการผลติ ท่ียง่ั ยืน
13: การรบั มือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
14: การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรพั ยากรทางทะเล
15: การใช้ประโยชนจ์ ากระบบนิเวศทางบก
16: สังคมสงบสขุ ยุติธรรม ไมแ่ บง่ แยก
17: ความร่วมมอื เพ่อื การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน
ใบงานที่ 1.2.2 เฉลย
เร่อื ง เปา้ หมายการพฒั นาอย่างย่งั ยนื
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนพิจารณาว่าเปา้ หมายการพัฒนาอย่างยั่งยนื ทง้ั 17 ประการมีความสัมพนั ธเ์ กย่ี วขอ้ งกับ
ดา้ นใด โดยใหท้ ำเคร่ืองหมาย ในด้านทนี่ กั เรยี นคิดว่าเก่ียวขอ้ ง
เปา้ หมาย ดา้ นสังคม ด้านเศรษฐกจิ ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นการจดั การ
1 : ขจัดความยากจน
2: ขจัดความหวิ โหย
3: การมสี ขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ี่ดี
4: การศกึ ษาท่ีเทา่ เทียม
5: ความเท่าเทยี มทางเพศ
6: การจัดการนำ้ และสุขาภบิ าล
7: พลังงานสะอาดทีท่ กุ คนเขา้ ถงึ ได้
8: การจ้างงานท่ีมีคณุ ค่าและการเติบโตทางเศรษฐกจิ
9: อตุ สาหกรรม นวตั กรรม โครงสร้างพื้นฐาน
10: ลดความเหล่ือมลำ้
11: เมอื งและถิน่ ฐานมนษุ ย์อยา่ งยง่ั ยืน
12: แผนการบรโิ ภคและการผลติ ที่ย่ังยนื
13: การรบั มือการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
14: การใช้ประโยชน์จากมหาสมทุ รและทรัพยากรทางทะเล
15: การใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบนเิ วศทางบก
16: สังคมสงบสขุ ยตุ ธิ รรม ไม่แบง่ แยก
17: ความร่วมมือเพอื่ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรื่อง การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง
1. ให้นกั เรียนเขียนแนวทางการปฏบิ ัติตนตอ่ ดา้ นต่าง ๆ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในมิติของ
สงั คม เศรษฐกจิ สิ่งแวดล้อม และวฒั นธรรม
มติ ิ ตนเอง ชุมชน ประเทศ
สงั คม
เศรษฐกิจ
สิง่ แวดล้อม
วฒั นธรรม
2. ให้นักเรียนคน้ หานวตั กรรมของประเทศไทยที่ก่อให้เกิดการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน พร้อมทั้งใหเ้ หตผุ ลว่าเพราะ
เหตุใดนักเรียนจึงคดิ ว่านวัตกรรมชิน้ นี้ก่อใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างย่งั ยืนได้
ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เฉลย
เร่อื ง การปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คำช้แี จง : ใหน้ ักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง
1. ให้นกั เรยี นเขียนแนวทางการปฏิบตั ติ นต่อด้านต่าง ๆ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในมติ ขิ อง
สงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรม
มิติ ตนเอง ชมุ ชน ประเทศ
เสยี สละ ช่วยเหลือผู้อืน่ ลดละเลิกอบายมขุ ชว่ ยเหลือ มีความสามัคคี
สังคม ลดละเลกิ อบายมขุ แบ่งปนั เกอ้ื กูลกัน มีความสามคั คี
ผอู้ ่นื สร้างความเข้มแข็งให้ สร้างความเข้มแขง็ ให้ชุมชน
ครอบครวั
ใช้ชวี ติ อย่างพอดีประหยดั วางแผนเพมิ่ รายไดใ้ หช้ มุ ชน ใชส้ ินค้าที่ประหยดั พลังงาน
เศรษฐกจิ และอดออม ลดรายจา่ ย ชว่ ยลดภาวะโลกรอ้ น ลดใช้
เพ่มิ รายได้ คดิ วางแผน สงิ่ ของท่กี ่อใหเ้ กิดมลพิษ
อยา่ งรอบคอบ
รู้จกั ใช้ทรัยาการอย่างฉลาด ฟนื้ ฟแู หลง่ เส่ือมโทรมใน ฟ้ืนฟูทรัพยากรเพ่ือใหเ้ กิด
ส่งิ แวดล้อม และรอบคอบ เลือกใช้ ท้องถ่ิน ความย่ังยนื สูงสดุ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคมุ้ คา่
และเกิดประโยชนส์ งู สดุ
ปลูกฝังมารยาทไทย ฟนื้ ฟูและอนุรักษ์อาหาร ดแู ลบำรงุ โบราณสถาน
วัฒนธรรม การมีสัมมาคารวะ มีน้ำใจ พ้นื บ้าน อนุรักษภ์ มู ปิ ญั ญา โบราณวัตถุ และรักษา
โอบอ้อมอารี ทำนุบำรุง ท้องถิน่ สร้างจิตสำนกึ ศิลปะของไทย สรา้ ง
พระพุทธศาสนา รักบ้านเกิด จิตสำนกึ รักษ์ไทย
2. ให้นกั เรยี นคน้ หานวัตกรรมของประเทศไทยท่กี ่อให้เกิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื พรอ้ มท้งั ใหเ้ หตุผลวา่ เพราะ
เหตใุ ดนกั เรียนจงึ คิดว่านวัตกรรมช้นิ นี้ก่อให้เกิดการพัฒนาอยา่ งย่ังยืนได้
คำตอบของนกั เรียนขึ้นอยู่กบั ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นแตล่ ะบุคคล โดยคำตอบขน้ึ อยู่กับดุลยพินิจ
ของครูผู้สอน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ลงในชอ่ ง
ทตี่ รงกบั ระดับคะแนน
ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1
32
1 ความถูกต้องของเนอ้ื หา
2 ความคดิ สรา้ งสรรค์
3 วิธีการนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใชป้ ระโยชน์
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............/................./...................
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางสว่ น
เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกบั ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32
1 การแสดงความคดิ เห็น
2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผ้อู นื่
3 การทำงานตามหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
4 ความมนี ้ำใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผูป้ ระเมิน
ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่
คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี
ตรงกับระดับคะแนน
การมี
ลำดับที่ ชอ่ื –สกลุ การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมี ส่วนร่วมใน รวม
ของนักเรียน ความ ฟังคนอน่ื ตามทไ่ี ดร้ ับ น้ำใจ การ 15
คดิ เห็น มอบหมาย คะแนน
ปรับปรุง
ผลงานกล่มุ
321321321321321
ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมิน
............./.................../...............
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรุง
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ ง
ท่ีตรงกับระดบั คะแนน
คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พึงประสงคด์ า้ น 32 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
กษตั ริย์ 1.2 เข้าร่วมกจิ กรรมทีส่ ร้างความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่
โรงเรยี น
1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบตั ิตามหลักศาสนา
1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ตามทโ่ี รงเรียนจัดข้ึน
2. ซอ่ื สัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมลู ทถี่ กู ตอ้ งและเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในส่ิงท่ีถกู ต้อง
3. มีวินยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของครอบครวั
มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รู้จกั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ัตไิ ด้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม
4.3 เชือ่ ฟงั คำสง่ั สอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แยง้
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสงิ่ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยัด
5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรียนอย่างประหยดั และรคู้ ุณคา่
5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั และมกี ารเก็บออมเงนิ
6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 6.1 มีความต้ังใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
6.2 มคี วามอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อุปสรรคเพือ่ ใหง้ านสำเร็จ
7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย
7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 ร้จู กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน
8.2 รจู้ ักการดูแลรักษาทรัพย์สมบตั ิและสิ่งแวดลอ้ มของหอ้ งเรียนและ
โรงเรียน
ลงชื่อ..................................................ผปู้ ระเมิน
............/.................../................
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดมี าก
พฤติกรรมที่ปฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี
พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ัง 30–40 พอใช้
ต่ำกวา่ 30 ปรับปรงุ
แบบประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ว 4.1 ม.5/1 ประยุกตใ์ ช้ความรูแ้ ละทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทงั้ ทรัพยากรในการทำโครงงาน
เพอื่ แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
รายการ เกณฑ์การประเมิน (ระดับคุณภาพ) ระดับ
ประเมิน คณุ ภาพ
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
1. การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ดีมาก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ บอกวิธีการปฏบิ ตั ติ น บอกวิธกี ารปฏิบตั ติ น บอกวธิ ีการปฏิบัตติ น ไม่สามารถบอกวธิ กี าร
พอเพียง ตามหลกั ปรัชญาของ ปฏบิ ัติตนตามหลัก ดี
เศรษฐกิจพอเพียงได้ ตามหลักปรัชญาของ ตามหลักปรชั ญาของ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
2. นวตั กรรมทีก่ ่อใหเ้ กิด ถูกต้องดมี าก พอเพยี งได้ถูกตอ้ ง พอใช้
การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื บอกนวตั กรรมที่ เศรษฐกจิ พอเพยี งได้ เศรษฐกจิ พอเพยี งได้ ไม่สามารถบอก
กอ่ ให้เกดิ การพฒั นา นวตั กรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ ปรบั ปรงุ
3. ความสมบรู ณข์ องผลงาน อยา่ งย่งั ยนื ไดถ้ กู ต้องดี ถกู ตอ้ งดี ถูกตอ้ งพอใช้ การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื
มาก ไดถ้ กู ต้อง
ผลงานมีความครบถ้วน บอกนวตั กรรมท่ี บอกนวตั กรรมที่ ผลงานมคี วามครบถว้ น
สมบูรณ์ดมี าก สมบรู ณน์ ้อย
ก่อใหเ้ กดิ การพัฒนา กอ่ ใหเ้ กิดการพฒั นา
อย่างยงั่ ยนื ไดถ้ ูกตอ้ งดี อย่างย่ังยนื ไดถ้ กู ต้อง
พอใช้
ผลงานมีความครบถว้ น ผลงานมคี วามครบถว้ น
สมบรู ณค์ อ่ นขา้ งดี สมบูรณ์ดเี ป็นบางส่วน
4. สง่ งานตรงเวลา สง่ ภาระงานภายในเวลา สง่ ภาระงานชา้ กวา่ สง่ ภาระงานชา้ กว่า สง่ ภาระงานช้ากวา่
กำหนด 2 วนั กำหนดเกนิ 3 วนั ข้นึ ไป
ทีก่ ำหนด กำหนด 1 วนั
เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
14 - 16 ดีมาก
10 - 13 ดี
7 - 9 พอใช้
1 - 6 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวิชา ว32282 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 ชื่อหนว่ ย โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 28 ช่วั โมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง ระบบทางเทคโนโลยี เวลา 4 ชั่วโมง
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ครูผู้สอน นายกรกฎ เกษมสินธ์ุ
1. มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
1.1 ตัวชว้ี ดั
ว 4.1 ม.5/1 ประยกุ ต์ใช้ความรแู้ ละทกั ษะจากศาสตรต์ ่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการทำ
โครงงานเพ่ือแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. บอกความหมายของส่วนตา่ งๆ ในระบบทางเทคโนโลยีได้ (K)
2. อธิบายกระบวนการทางเทคโนโลยไี ด้ (K)
3. เขยี นกระบวนการทางเทคโนโลยีได้ (P)
4. เลง็ เห็นถึงความสำคญั ของระบบทางเทคโนโลยี (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
- การทำโครงงาน เปน็ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ และ พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศึกษา
ทกั ษะจากศาสตร์ตา่ ง ๆ รวมทัง้ ทรพั ยากรใน
การสร้างหรอื พฒั นาชนิ้ งานหรือวธิ กี าร
เพื่อแก้ปญั หา หรืออำนวยความสะดวก
ในการทำงาน
- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
สามารถดำเนนิ การได้ โดยเริม่ จากการสำรวจ
สถานการณ์ปัญหาทสี่ นใจ เพื่อกำหนดหวั ข้อ
โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่ี
เก่ียวข้องกับปัญหาออกแบบแนวทางการ
แก้ปัญหา วางแผน และดำเนินการแก้ปัญหา
ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรับปรุงแกไ้ ขวธิ ีการ
แก้ปัญหาหรือชนิ้ งาน และนำเสนอวิธกี าร
แก้ปญั หา
4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ ระบบทีม่ นุษย์สรา้ งขึ้นมาเพือ่ แกป้ ัญหาหรือความต้องการ โดยส่วนประกอบ
ภายในระบบจะทำงานสมั พันธก์ นั เพอ่ื จุดมุง่ หมายเดยี วกนั ระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบดว้ ยตวั ป้อน
กระบวนการ และผลผลติ ที่สมั พันธ์กนั นอกจากนน้ั อาจมขี ้อมลู ย้อนกลบั เพ่ือใช้ปรับปรุงการทำงานให้มี
ประสิทธภิ าพมากขึน้
5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ยั รบั ผิดชอบ
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการแลกเปลยี่ นข้อมูล 2. ใฝเ่ รยี นรู้
2. ความสามารถในการคิด 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน
- ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- ทักษะการสงั เกต
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานร่วมกนั
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มูล
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วิธกี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชัว่ โมงท่ี 1
ขนั้ นำ
ขัน้ ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
2. ครถู ามคำถามประจำหัวข้อกับนกั เรียนเพ่ือกระตุ้นความสนใจของนักเรยี นว่า“กระบวนการ
เทคโนโลยเี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของระบบทางเทคโนโลยหี รอื ไม่ อยา่ งไร”
(แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยกู่ บั ดุลยพนิ จิ ของ
ครูผูส้ อน เช่น กระบวนการเทคโนโลยี เป็นสว่ นหน่ึงของระบบทางเทคโนโลยี เนื่องจาก
กระบวนการทางเทคโนโลยีเป็นขน้ั ตอนหรือวธิ ดี ำเนินการแก้ปญั หาหรือสนองความตอ้ งการ
โดยอาศัยทรัพยากรทางเทคโนโลยีพ่อื ให้ได้ผลผลติ หรอื ผลลัพธต์ รงตามความตอ้ งการของ
มนษุ ย)์
ข้นั สอน
ขั้นท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
1. ครูถามกระตุ้นความคดิ ของนักเรียนวา่ “นักเรยี นคิดวา่ ระบบทางเทคโนโลยี หมายถงึ อะไร”
(แนวตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดเห็นของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยูก่ ับดุลยพินจิ ของ
ครูผสู้ อน เช่น ระบบท่ีมนุษย์สรา้ งขน้ึ มาเพื่อแก้ปัญหาหรือความต้องการระบบทช่ี ว่ ยเหลอื
ให้การทำงานประสบความสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิทธภิ าพ เป็นตน้ )
2. นกั เรียนศกึ ษาเน้ือหา เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี จากหนังสือเรียนรายวิชาพนื้ ฐานเทคโนโลยี
(การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เร่อื ง โครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยี หรือสบื คน้ ขอ้ มลู เพิ่มเติมเกย่ี วกับระบบเทคโนโลยีจากอนิ เทอร์เน็ตท่ีเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของตนเอง
3. ครสู มุ่ นักเรยี น 2- 3 คนออกมาอธิบายส่ิงท่ีได้จากการสืบค้นข้อมลู เกี่ยวกับระบบทางเทคโนโลยี
หน้าช้ันเรียน
4. จากน้นั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ กับนกั เรียนว่า“ระบบทางเทคโนโลยีสามารถแบง่ ออกได้เปน็
3 องคป์ ระกอบหลกั ได้แก่ ตัวป้อน กระบวนการทางเทคโนโลยี และผลผลติ ซงึ่ ในบางระบบ
อาจมีข้อมูลย้อนกลบั (Feedback) เพ่ือตรวจสอบผลลพั ธใ์ หเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีวางไว้
หรอื บางระบบอาจจะมีหรือไมม่ ีก็ไดโ้ ดยองคป์ ระกอบทงั้ 3 สว่ นจะทำงานสัมพนั ธ์กนั
เพอื่ จดุ ม่งุ หมายเดยี วกัน โดยจะขาดขั้นตอนใดขัน้ ตอนหนงึ่ ไมไ่ ด้”
ชั่วโมงที่ 2
ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
5. ครูทบทวนความรูเ้ ดิมของนกั เรียนเก่ียวกับองคป์ ระกอบหลักของระบบทางเทคโนโลยี
6. นกั เรยี นสังเกตแผนภาพองค์ประกอบของระบบเทคโนโลยจี ากหนังสือเรียน โดยวเิ คราะหถ์ งึ
ความสัมพันธข์ ององค์ประกอบหลักในระบบทางเทคโนโลยีในแตล่ ะส่วน
7. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน หรอื ตามความเหมาสม เพอ่ื ศึกษาตัวอย่างระบบทาง
เทคโนโลยี เรอื่ ง กระบวนการเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมยานยนต์จากหนังสือเรยี น
โดยวเิ คราะห์ถงึ ความสมั พนั ธ์ของตัวป้อน กระบวนการเทคโนโลยี และผลผลติ จากน้ัน
อภปิ รายร่วมกันภายในกลุ่ม
8. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นระดมความคดิ เหน็ รว่ มกันภายในกลุ่มวา่ ในชวี ติ ประจำวันไดม้ ีการใช้
เทคโนโลยีใดบา้ งในการอำนวยความสะดวกและยกตวั อยา่ งกระบวนการเทคโนโลยี 1 อย่าง
พรอ้ มวเิ คราะห์ถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวปอ้ น กระบวนการเทคโนโลยี และผลผลิต
9. นักเรียนแต่ละกล่มุ ออกมานำเสนอขอ้ มลู หน้าช้นั เรียน
ช่วั โมงที่ 3
ข้ันท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
10. ครอู ธิบายกับนักเรียนถงึ องคป์ ระกอบทส่ี มั พนั ธก์ ับกระบวนการทางเทคโนโลยีวา่ “องค์ประกอบ
ท่ีสมั พนั ธก์ ับกระบวนเทคโนโลยี ประกอบไปดว้ ย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ทรัพยาการทาง
เทคโนโลยี และปัจจัยทข่ี ดั ขวางเทคโนโลยี โดยทรัพยากรทางเทคโนโลยีเป็นกระบวนการ
เทคโนโลยีท่ีทำตามขั้นตอนต่าง ๆ เพ่อื ใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ตามความต้องการ ซึ่งประกอบดว้ ย 7 ด้าน
ได้แก่
1) มนุษย์
2) ขอ้ มลู และสารสนเทศ
3) วสั ดุ
4) เครือ่ งมือและอุปกรณ์
5) พลังงาน
6) ทุนและทรัพย์สิน
7) เวลา
และสามารถนำทรพั ยากรทางเทคโนโลยีเหล่าน้ีเข้าไปใช้งานได้ในกระบวนการเทคโนโลยี”
11. นักเรยี นทำความเข้าใจกับความหมายขององค์ประกอบต่าง ๆ ในทรัพยากรทางเทคโนโลยี
รวมถงึ ปัจจัยท่ีขัดขวางเทคโนโลยที ่เี ป็นขอ้ จำกัดหรอื สงิ่ ท่ีต้องคำนึงถงึ ในการสร้างสรรค์และ
พัฒนาเทคโนโลยีเชน่ เวลา งบประมาณ หรอื ทักษะทจี่ ำกัด ซึง่ บรบิ ทเหลา่ น้ีทำใหร้ ะบบ
เทคโนโลยีทำงานต่างกนั ออกไป
12. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นสบื คน้ และสังเกตขั้นตอนของกระบวนการเทคโนโลยที ้ัง 7 ขัน้ ตอน
จากหนังสือเรยี นและอินเทอร์เน็ต โดยศึกษาความหมายและวิธกี ารต่าง ๆ ในกระบวนการ
เทคโนโลยี
13. นักเรยี นศึกษาเกร็ดเสรมิ ความรูท้ ่เี ก่ยี วข้องกับเน้ือหา (Design Focus) เรอ่ื ง หลกั การสำคญั
ในการสรา้ งต้นแบบว่า“หลักการสร้างต้นแบบให้ได้ผลลพั ธ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูงมหี ลักการ
ท่ีสำคัญ 3 ข้อ คือ ความงา่ ย ความเร็ว และความเหมาะสม”
14. จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมกับนักเรียนว่า“เมื่อพบปัญหาเราสามารถใช้กระบวนการเทคโนโลยี
เขา้ มาช่วยในการแก้ปัญหาได้ เนอื่ งจากกระบวนการเทคโนโลยีเป็นกระบวนการท่ีสามารถช่วย
แก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษย์อย่างเป็นขั้นตอน เช่น การแก้ปัญหาการจัด
ทำงานเอกสาร โดยการนำโปรแกรมต่าง ๆ เข้ามาจดั การใหก้ ารจดั ทำเอกสารเปน็ ไปอย่าง
รวดเร็วไม่วา่ จะเป็นโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด โปรแกรมไมโครซอฟตเ์ พาเวอรพ์ อ้ ยท์
โปรแกรมไมโครซอฟตเ์ อกซ์เซล โดยมีการตรวจสอบการสะกดไวยากรณ์เพื่อป้องกนั การพิมพ์ท่ี
ผดิ พลาด สามารถลบข้อความท่ีผิดไดง้ ่ายโดยไม่ต้องใชน้ ้ำยาลบคำผดิ เป็นตน้ ”
ชวั่ โมงที่ 4
ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
15. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามขอ้ สงสยั พร้อมให้ความรู้เพ่ิมเติมในสว่ นน้ันเพื่อขยายความเข้าใจ
และทำใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากย่ิงขึน้
16. นกั เรียนเขียนกระบวนการเทคโนโลยีเพ่ือแก้ปัญหาทางการเรียนของตนเอง โดยครูกำหนดเวลา
ให้ตามความเหมาะสม จากนั้นให้นักเรยี นออกมานำเสนอหนา้ ช้ันเรยี น
Note
วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรมเพอื่ ใหน้ กั เรียน
- มีทกั ษะการทำงานร่วมกนั โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทำงานหรอื การทำ
กิจกรรมเพอื่ ใหเ้ กดิ การส่ือสารและแลกเปลยี่ นขอ้ มูลร่วมกันภายในกลุม่
- มที ักษะการสบื คน้ ข้อมูล โดยใหน้ กั เรยี นแต่ละคนสืบค้นข้อมลู จากอินเทอร์เนต็
เพ่อื สบื เสาะหาความรู้ตามหัวข้อท่ีได้รับมอบหมาย
- มที กั ษะการสังเกต โดยใหน้ ักเรียนสงั เกตแผนภาพองคป์ ระกอบของระบบ
เทคโนโลยแี ละขัน้ ตอนกระบวนการเทคโนโลยีจากหนงั สอื เรียน
เพือ่ นำไปปรบั ใช้ในการเรียนได้อยา่ งเหมาะสม
- มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ โดยใหน้ ักเรยี นพิจารณาเนื้อหาจากการสืบค้นหรือศึกษา
ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมลู ตา่ ง ๆ เช่น หนังสือเรียน อนิ เทอร์เน็ต เปน็ ต้น
ขนั้ สรปุ
ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน สังเกตการตอบคำถาม และการให้ความร่วมมือทางการ
เรียน
2. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับการออกอบบทางเทคโนโลยีว่า“การออกแบบเปน็ การ
แสดงลำดับความคิดหรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอนเพื่อนำไปสู่การวางแผนการแก้ปัญหาหรือ
ตอบสนองต่อความต้องการโดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีที่ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่
ระบุปญั หาหรอื ความต้องการ รบวรวมขอ้ มลู ที่เกีย่ วขอ้ งกบั ปัญหา เลือกวิธกี ารแก้ปญั หา
ออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หาและปฏบิ ัติการ ทดสอบ ปรบั ปรุงแก้ไขและประเมนิ ผลนำเสนอ
ผลงาน”
7. การวัดและประเมนิ ผล
รายการวดั วิธีวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมนิ
- แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจริง
7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น
- แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 กอ่ นเรยี น
เรอ่ื ง โครงงานการ
ออกแบบและเทคโนโลยี
7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการ
จัดกิจกรรม
1) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล
2) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
กลมุ่ การทำงานกลุม่
การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์
3) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
ผลงาน. การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
4) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
อนั พึงประสงค์ ความรบั ผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์
ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั อันพึงประสงค์
ในการทำงาน
8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้
8.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2
เรื่อง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
2) เครื่องคอมพิวเตอร์
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งคอมพิวเตอร์
2) อินเทอรเ์ น็ต
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหสั วิชา ว32282 กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ชอื่ หนว่ ย โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 28 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 4 เรอ่ื ง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 14 ช่ัวโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ครูผู้สอน นายกรกฎ เกษมสนิ ธุ์
1. มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
1.1 ตัวชวี้ ดั
ว 4.1 ม.5/1 ประยุกตใ์ ช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรในการทำโครงงาน
เพื่อแกป้ ัญหาหรือพฒั นางาน
2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายลำดับขนั้ ตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีได้ (K)
2. ออกแบบโครงงานที่สนใจตามลำดับข้นั ตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยไี ด้ (P)
3. เล็งเห็นความสำคญั ของการนำลำดับขั้นตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยมี าใช้
ในการcกป้ ัญหาหรอื สนองความต้องการ (A)
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่
- การทำโครงงาน เปน็ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ และ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
ทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรพั ยากรใน
การสร้างหรอื พฒั นาชิน้ งานหรอื วธิ ีการ
เพอื่ แก้ปัญหา หรืออำนวยความสะดวก
ในการทำงาน
- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
สามารถดำเนนิ การได้ โดยเริ่มจากการสำรวจ
สถานการณป์ ัญหาทส่ี นใจ เพ่ือกำหนดหัวข้อ
โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมลู และแนวคิดท่ี
เก่ียวขอ้ งกับปญั หาออกแบบแนวทางการ
แก้ปัญหา วางแผน และดำเนินการแก้ปัญหา
ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรงุ แก้ไขวิธีการ
แก้ปญั หาหรือชิ้นงาน และนำเสนอวธิ กี าร
แกป้ ัญหา
4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การออกแบบและเทคโนโลยีเราสามารถนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการทำโครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยีโดยเรม่ิ จากการสำรวจสถานการณห์ รอื ปัญหาที่นา่ สนใจ เพอื่ นำมากำหนดหัวข้อโครงงาน
แล้วรวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา วางแผนและ
ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แก้ไขวิธีการแกป้ ัญหาหรือชิน้ งาน และขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย
คือ การนำเสนอวธิ การแกป้ ัญหา
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มีวนิ ัย รับผิดชอบ
- ทักษะการสอื่ สาร
- ทกั ษะการแลกเปลี่ยนข้อมลู 2. ใฝ่เรยี นรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- ทักษะการสงั เกต
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
- ทักษะการทำงานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทักษะการสบื คน้ ขอ้ มลู
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
วิธกี ารสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
ขน้ั นำ
ขนั้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement)
1. ครถู ามคำถามประจำหวั ข้อกับนกั เรยี นวา่ “นกั เรยี นสังเกตเหน็ เทคโนโลยอี ะไรบา้ งที่เขา้ มา
เก่ียวขอ้ งในชวี ติ ประจำวัน”
(แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยกู่ บั ดุลยพินิจของ
ครูผ้สู อน เชน่ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ เครื่องดดู ฝนุ่ เป็นตน้ )
2. ครูอธิบายเพิ่มเตมิ กับนกั เรียนเพือ่ เชื่อมโยงเขา้ ส่บู ทเรยี นว่า“การสังเกตเปน็ กระบวนการทาง
วิทยาศาสตรข์ ัน้ พ้ืนฐานทส่ี ำคัญและจำเป็นอยา่ งยิ่งในการพัฒนาทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขน้ั พ้นื ฐานทกั ษะอ่นื ๆ เชน่ ทักษะการจำแนกประเภท ทกั ษะพยากรณ์ ทกั ษะ
การลงความเหน็ เป็นต้น การสังเกตทำให้เกดิ ความอยากร้อู ยากเหน็ ทำใหเ้ กิดปัญหาและ
นำไปส่ขู ้นั ตอนในการสืบเสาะเพ่อื หาความรู้และได้มาซึง่ ความรมู้ ากข้นึ ”
ข้ันสอน
ข้ันท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คนหรอื ตามความเหมาะสม เพื่อสำรวจปญั หารอบ ๆ ตวั หรอื
ปญั หาในชีวิตประจำวนั จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มระดมความคิดเหน็ และออกแบบโครงงานในหัวข้อ
ทีส่ นใจโดยใชข้ ั้นตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีในใบความรู้ เรื่อง โครงงาน
การออกแบบและเทคโนโลยี โดยระบรุ ายละเอียดในหัวข้อการสำรวจสถานการณห์ รือปัญหา
ท่ีสนใจ ดงั นี้
1) ปญั หาท่ีสนใจ
2) ท่ีมาของปัญหาเกดิ จากอะไร
3) บรรยายลกั ษณะของปัญหาเพ่ิมเตมิ
4) การแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี
2. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอหวั ขอ้ ปญั หาทสี่ นใจพร้อมอภปิ รายรว่ มกนั ในห้องเรียน
ช่ัวโมงท่ี 2
ข้นั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
3. นกั เรียนศึกษาและสังเกตลำดับขั้นตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีข้ันแรก คอื
การสำรวจสถานการณ์หรือปัญหาทส่ี นใจ จากหนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี
(การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง โครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยี
4. ครอู ธิบายเพิ่มเติมวา่ “การสงั เกตเป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรอ์ ย่างหนง่ึ โดยข้อมลู
ทไ่ี ด้จากการสังเกตจะประกอบด้วย ข้อมลู เกย่ี วกบั รปู รา่ ง สถานะ คุณสมบตั ิ ข้อมูลเชงิ ปริมาณ
ข้อมลู ท่ีเกี่ยวกบั การเปลย่ี นแปลงทส่ี ังเกตจากวัตถุหรือเหตุการณน์ ัน้ ”
5. นกั เรียนดูภาพตวั อย่างการสังเกตจากหนงั สือเรียน โดยครูอธิบายกบั นักเรยี นว่า“การสงั เกต
ของช่างซ่อมรถยนตท์ ี่สงั เกตเหน็ ถึงความผิดปกตขิ องเครื่องยนตจ์ ากชน้ิ สว่ นต่าง ๆ และ
สามารถระบุถึงความผิดปกติได้ ดังนั้นชา่ งจึงสามารถซ่อมเคร่อื งยนต์นน้ั ให้กลบั มาเป็นปกติ
เหมือนเดมิ ได้”
6. นักเรยี นศกึ ษาเกร็ดเสรมิ ความร้ทู ่เี ก่ยี วข้องกับเน้อื หา (Design Focus) เร่อื ง ทักษะการสังเกต
วา่ “การสังเกตเป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขนั้ พื้นฐานทีส่ ำคัญและจำเป็นอย่างยงิ่ ใน
การพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขนั้ พื้นฐานทักษะอืน่ ๆ เชน่ ทกั ษะการจำแนก
ประเภททักษะ พยากรณ์ ทักษะการลงความเห็น เป็นตน้ การสังเกตทำใหเ้ กิดความอยากรู้
อยากเห็น ทำให้เกดิ ปัญหา อันจะนำไปสขู่ ้นั ตอนในการสืบเสาะเพ่ือหาความรู้และได้มาซ่ึง
ความรูม้ ากขน้ั ”
7. เปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามข้อสงสัย และครูใหค้ วามรู้เพ่ิมเตมิ ในสว่ นน้นั
8. ครูนำน้ำยาลบคำผดิ (แบบเขยา่ ) ทเ่ี หมือนกนั มา 3 แบบ ดังน้ี
แบบท่ี 1 คือ น้ำยาลบคำผิดที่ใชห้ มดแลว้
แบบที่ 2 คือ นำ้ ยาลบคำผิดท่ีเปดิ ใชแ้ ล้วแตย่ งั ไมห่ มด
แบบที่ 3 คือ น้ำยาลบคำผิดท่ียงั ไม่ผา่ นการใช้งาน
จากนนั้ ครูถามคำถามกระตนุ้ ความคดิ ของนักเรยี นว่า“ให้นักเรียนเรยี งลำดบั การใช้งานน้ำยา
ลบคำผดิ วา่ อันไหนควรใช้งานกอ่ น-หลัง”
(แนวตอบ : ใหน้ ักเรียนหานำ้ ยาลบคำผิดอันที่หมดแล้วก่อนเป็นอันดับแรก โดยใช้วธิ กี ารสงั เกต
ดว้ ยการลองเขย่า หากอันไหนเสยี งดงั มากท่ีสุดแสดงว่าน้ำยาหมดแล้ว ไมค่ วรใช้ ส่วนนำ้ ยาลบ
คำผดิ อนั ที่เขย่าแลว้ เสยี งดงั น้อยกวา่ ควรใชง้ านกอ่ น และน้ำยาลบคำผิดอนั ท่ีเขย่าแลว้ เสียงดัง
เบาทส่ี ดุ ควรใชเ้ ป็นลำดับสดุ ท้าย ท้ังน้เี พ่ือให้ใช้อันเกา่ ใหห้ มดกอ่ นแลว้ จึงนำอนั ใหม่มาใช้ เป็น
การช่วยประหยดั การใชท้ รัพยากร)
9. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา่ “การสงั เกตและสำรวจสถานการณจ์ ะทำให้ได้มาซ่ึงปญั หาทสี่ นใจ และ
การระบุปญั หาเป็นข้นั ตอนแรกของการเร่ิมต้นทำโครงงาน”
ช่วั โมงที่ 3
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
10. ครทู บทวนเน้อื หาการเรยี นเม่ือชวั่ โมงท่ีแล้วเกีย่ วกบั หวั ข้อปัญหาทนี่ กั เรยี นสนใจ
11. นกั เรยี นศกึ ษาและสังเกตลำดับข้ันตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยขี ั้นตอน
ท่ี 2 คอื การรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่เี กยี่ วข้องจากหนังสือเรียน
12. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมกบั นักเรยี นว่า“การรวบรวมขอ้ มูลนอกจากจะมวี ธิ กี ารสืบค้นจากบทความ
วชิ าการ บทความวิจยั ทฤษฏีต่าง ๆ ยงั มวี ธิ กี ารสัมภาษณ์ การสังเกต การสำรวจจากกลุ่ม
ตวั อย่าง และการรวบรวมข้อมลู จากเอกสาร เปน็ ตน้ ”
13. ครอู ธิบายเกร็ดเสริมความรูท้ ีเ่ กยี่ วข้องกับเน้ือหา (Design Focus) เร่ือง ประเภทของ
การรวบรวมข้อมลู ว่า“การเก็บขอ้ มลู แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้
1) การรวบรวมขอ้ มลู ขั้นปฐมภมู ิ เป็นการรวบรวมขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากเจ้าของข้อมลู
โดยตรง เช่น การสมั ภาษณ์ การสังเกต และการสำรวจกลุม่ ตัวอย่าง
2) การรวบรวมขอ้ มลู ช้ันทตุ ิยภมู ิ เป็นการรวบรวมขอ้ มูลทไี่ ด้จากแหล่งข้อมลู ท่ีได้
รวบรวมไว้ เช่น ข้อมลู จากหนังสือ รายงาน บทความ และเอกสารตา่ ง ๆ”
14. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรเู้ พม่ิ เติมในสว่ นนนั้
15. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ วา่ “นอกจากจะทำการรวบรวมข้อมลู โดยวธิ ีการสบื ค้นข้อมลู จากแหล่ง
ตา่ งๆ แลว้ ยงั มีวธิ ีการรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยการสมั ภาษณ์ ซึ่งเปน็ วธิ ที ่ีไดค้ ำตอบเร็ว ตรงตาม
เรื่องท่ีต้องการ แต่ผสู้ มั ภาษณ์ต้องมีความซ่ือสัตยไ์ ม่ตอบข้อซักถามแทนผูถ้ ูกสมั ภาษณ์ เพราะ
จะทำให้ขอ้ มลู คลาดเคลื่อนจากความเป็นจรงิ ”
ช่ัวโมงที่ 4
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
16. นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) เพือ่ ลงมือเก็บรวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ที่เกีย่ วข้องกบั ปญั หาท่ี
สนใจด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ โดยอาจจะสบื ค้นจากอินเทอร์เน็ตท่ีเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ของตนเอง
จากนนั้ ออกมานำเสนอวิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู และข้อมูลท่ไี ด้หน้าชั้นเรยี น
ช่ัวโมงที่ 5
ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
17. ครทู บทวนเนอ้ื หาการเรียนเม่ือชว่ั โมงทแ่ี ล้วเกีย่ วกับการรวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เกี่ยวข้อง
18. นักเรียนศกึ ษาและสังเกตลำดับขนั้ ตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีข้นั ตอน
ที่ 3 คือ การออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาจากหนงั สือเรยี นหรือสืบคน้ เพิม่ เติมจากอนิ เทอร์เน็ต
19. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ กับนกั เรียนว่า“เมอ่ื ได้สบื ค้นหรือรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทีใ่ ชใ้ น
การแก้ปัญหาเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว จากนนั้ จะต้องนำขอ้ มลู ที่ได้มาทำการประเมนิ และตัดสนิ ใจ
เลือกวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยพจิ ารณาดังน้ี
1) วธิ ีการใดท่ีสามารถแก้ปญั หาได้ในระยะยาว
2) วธิ กี ารใดทม่ี ีความเป็นจริงมากท่สี ุดในการแก้ปัญหาไดส้ ำเร็จ
3) อะไรคือความเส่ยี งของทางเลือกแตล่ ะวธิ ี”
20. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามข้อสงสัย และครใู ห้ความรูเ้ พิม่ เติมในส่วนน้นั
ชั่วโมงที่ 6
21. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม (กลมุ่ เดิม) เพอ่ื ระดมความคิดเห็นสำหรับการออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา
กับหัวขอ้ ปัญหาของนกั เรียน จากนั้นใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอ
หนา้ ชั้นเรียน
22. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ วา่ “เม่ือมีการทำงานเป็นทีม การออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาจะตอ้ งไดร้ ับ
ขอ้ สรปุ จากการประชมุ ระดมความคิดภายในทมี จงึ จะลงมือปฏิบัติได้ โดยการออกแบบ
วธิ กี ารแก้ปญั หาข้นึ อยู่กับรปู แบบของโครงงาน เช่น ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาเป็นแผนภาพ
(Diagrams) หรือผงั งาน เขียนอธบิ ายหลกั การทำงานของวิธีการแกป้ ญั หาและหากมี
การทดลอง ใหบ้ ันทึกผลการทดลอง แสดงผลการทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง เป็นต้น”
ช่วั โมงท่ี 7
ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
23. ครทู บทวนเนื้อหาการเรยี นเมื่อช่ัวโมงท่แี ล้วและเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
ของการออกแบบวิธีการแก้ปัญหาภายในกลุ่มของตนเอง
24. นกั เรียนศกึ ษาและสงั เกตลำดับขัน้ ตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยขี ั้นตอน
ที่ 4 คอื การวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหาจากหนังสือเรยี นหรอื สืบค้นเพ่ิมเตมิ จาก
อนิ เทอรเ์ นต็ ท่เี ครอ่ื งคอมพิวเตอรข์ องตนเอง
25. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมกบั นักเรียนวา่ “การวางแผนจะชว่ ยให้ผู้เรียนได้ฝกึ ความคดิ สรา้ งสรรค์
เพือ่ ขยายความคดิ ในชิน้ งานให้มคี วามสมบรณู ์มากย่ิงขนึ้ และการดำเนนิ การแก้ปัญหา คือ
การลงมือสรา้ งชนิ้ งานตามทีอ่ อกแบบไว้ หรอื การปฏิบตั ิตามข้นั ตอนที่ได้ทำการวางแผนไว้
เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ุดมงุ่ หมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ”
26. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั และครใู ห้ความรูเ้ พิม่ เติมในสว่ นน้นั
ชัว่ โมงท่ี 8
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
27. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม (กลมุ่ เดิม) เพือ่ ระดมความคดิ เห็นสำหรบั การวางแผนและดำเนินการ
แกป้ ญั หากับหวั ขอ้ ปัญหาของนักเรยี น โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนศึกษาความรเู้ พิ่มเตมิ
จากอินเทอร์เน็ต
ชัว่ โมงที่ 9
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
28. นักเรยี นศึกษาข้นั ตอนการสร้างต้นแบบซงึ่ มีท้ังหมด 4 ขั้นตอน ดังนี้
1) กำหนดความต้องการ เปน็ การหาความตอ้ งการพื้นฐานของผใู้ ช้ระบบนักออกแบบ
ต้องมีเวลาเพยี งพอในการศึกษาความต้องการพื้นฐานของผใู้ ช้งาน
2) ออกแบบตน้ แบบ เป็นการวางแผนจัดตั้งขนั้ ตอน และรจู้ ักเลอื กใชว้ ัสดุหรอื วิธกี าร
เพอื่ ทำตามความต้องการ โดยใหส้ อดคล้องกบั ลักษณะและคุณสมบัติของวสั ดแุ ต่
ละชนิด ตามความคดิ สร้างสรรค์
3) นำตน้ แบบไปใช้ ผ้ใู ชจ้ ะนำตน้ แบบไปทดลองใช้ว่าสามารถตอบสนองความต้องการ
ของผใู้ ช้เพียงใด โดยผใู้ ชส้ ามารถให้ข้อคิดเหน็ เกี่ยวกับปัญหา หรอื ข้อแนะนำในการ
ปรับปรงุ ต้อนแบบได้
4) ปรับแตง่ ตน้ แบบ เปน็ การนำความเห็นของผู้ใช้มาปรับปรุงต้นแบบใหม้ ี
ประสิทธภิ าพมากข้นึ ข้ันตอนนี้จะเกดิ ซ้ำไปซำ้ มาจนกระทง่ั ผูใ้ ชเ้ กดิ ความพอใจ
แลว้ จงึ จะสามารถนำตน้ แบบไปใชง้ านได้
29. ให้นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ นำข้ันตอนการสร้างต้นแบบทงั้ 4 ขน้ั ตอน มาปรับใช้ในหวั ข้อปัญหา
ของนักเรียน โดยครูคอยใหค้ ำปรกึ ษาอย่างใกลช้ ิด
ชว่ั โมงท่ี 10
ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
30. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอการวางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหาของ
กลุ่มตนเองโดยครูและเพ่ือนร่วมชน้ั คอยใหค้ ำแนะนำ และสามารถไปปรับใชไ้ ด้อย่าง
เหมาะสม
ช่วั โมงท่ี 11
ขั้นท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
31. ครูทบทวนเนื้อหาการเรยี นเม่ือชว่ั โมงท่แี ลว้ เกยี่ วกบั ข้นั ตอนการสร้างตน้ แบบทง้ั 4 ขนั้ ตอน
32. นักเรยี นศกึ ษาและสงั เกตลำดับข้นั ตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยขี ั้นตอน
ท่ี 5 คือการทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุง จากหนังสอื เรียน
33. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมกบั นักเรียนว่า“การทดสอบจะทำให้ทราบวา่ ชนิ้ งานที่สรา้ งข้นึ สามารถใช้
งานไดจ้ ริงหรือไม่และเมอ่ื ทดสอบแล้วจะต้องมีการประเมินผลวา่ ควรมกี ารปรบั ปรุงแก้ไข
ชน้ิ งานหรอื ไม่ ซ่ึงจะนำมาสกู่ ารปรบั ปรุงและพัฒนาผลลพั ธ์ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการ
แกป้ ญั หามากข้นึ ”
34. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามข้อสงสยั และครใู หค้ วามรเู้ พิ่มเตมิ ในส่วนนัน้
ชว่ั โมงที่ 12
ขั้นที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
35. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) เพื่อทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ งานภายในกลมุ่ ของ
ตนเอง จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอหน้าชนั้ เรียน โดยนักเรยี นสามารถ
ออกแบบรายการการวัดประเมนิ ผล พรอ้ มระบสุ ดั ส่วนของคะแนนเพื่อประเมนิ ผลงานจะทำ
ให้สามารถสรปุ ผลการประเมินผลไดว้ า่ ชนิ้ งานนน้ั สามารถแกป้ ญั หาไดห้ รอื ไม่
36. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมกบั นกั เรยี นว่า“หากประเมินผลงานแลว้ พบวา่ ผลงานไม่สามารถแกป้ ญั หา
หรือตอบสนองความต้องการได้ ควรพจิ ารณาว่าจำเป็นต้องแกไ้ ขปรับปรุงในขั้นตอนใด ควร
ปรับปรุงแก้ไขอย่างไร แลว้ จึงดำเนินการปรับปรงุ แกไ้ ขในส่วนนั้นจนกระท่ังชิ้นงานใช้งานได้
ในขน้ั ตอนการปรบั ปรุงแก้ไขอาจจำเป็นต้องกลบั ไปท่ีขั้นตอนการออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา
อกี คร้ัง เพื่อถ่ายทอดแนวความคิดใหม่ หรืออาจกลับไปขั้นตอนรวบรวมขอ้ มูลและเลือก
วิธีการท่เี หมาะสม เพื่อให้ไดว้ ิธกี ารทเี่ หมาะสมมากขึ้น”
ช่วั โมงท่ี 13
ขัน้ ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
37. ครทู บทวนเน้อื หาการเรยี นเม่ือชว่ั โมงท่แี ล้วเกีย่ วกับการทดสอบ ประเมินผลและปรับปรงุ
38. นักเรยี นศกึ ษาและสังเกตลำดับข้ันตอนการทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีขน้ั ตอน
ท่ี 6 คอื นำเสนอวธิ กี ารแกป้ ัญหา ผลการแก้ปญั หา จากหนงั สือเรยี น
39. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมกับนกั เรยี นว่า“เมื่อทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ ชน้ิ งานจากขัน้ ตอนท่ี
แล้วจนไดช้ น้ิ งานที่สมบรู ณส์ ามารถแก้ปญั หาไดแ้ ลว้ ควรนำเสนอวธิ กี ารแก้ปญั หา ผลการ
แกป้ ญั หาสอื่ สารไปยงั ผู้อ่นื ใหเ้ ขา้ ใจ ซงึ่ จำเปน็ ต้องเลือกวิธีการนำเสนอข้อมลู ทีเ่ ขา้ ใจงา่ ยและ
นา่ สนใจ เช่น การจดั นิทรรศการ การจัดแสดงโดยไม่มีการบรรยาย เป็นต้น”
40. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสัย และครูให้ความรูเ้ พ่มิ เตมิ ในสว่ นน้นั
ชวั่ โมงท่ี 14
ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
41. นักเรียนแบง่ กลุ่ม (กลมุ่ เดมิ ) เพ่อื เตรียมความพรอ้ มในการนำเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา
ผลการแกป้ ญั หา ให้ครอบคลุมประเดน็ สำคัญดังต่อไปนี้
1) ชอ่ื โครงงาน ช่อื ผู้จัดทำโครงงาน และอาจารย์ทปี่ รกึ ษา
2) ปญั หาที่เป็นโจทย์ในการจดั ทำโครงงาน เหตจุ ูงใจในการทำโครงงาน และ
ความสำคัญของโครงงาน
3) วิธกี ารดำเนนิ การโดยเลอื กเฉพาะขน้ั ตอนทสี่ ำคญั และน่าสนใจ
4) การแสดงชน้ิ งานหรอื แสดงผลทีไ่ ด้จากการทดลอง การสาธติ วิธกี ารทดลอง
ทไ่ี ม่ซับซอ้ นเข้าใจง่าย
5) ข้อสรุปที่ไดจ้ ากการทำโครงงาน รวมถึงประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากโครงงาน
ข้อเสนอแนะ ขอ้ ควรปรบั ปรุง ในการจัดทำโครงงานครง้ั ถัดไป
ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
42. นกั เรยี นศกึ ษาเพิ่มเตมิ จากตัวอย่างผลงานโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
จากหนังสอื เรยี นเพื่อพัฒนาผลงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึน้ ดงั นี้
โครงงานท่ี 1 การพัฒนาเคร่ืองมอื เกบ็ ยอดสะเดา
โครงงานที่ 2 เครื่องตากอาหารแหง้ จากพลงั งานแสงอาทิตย์
43. ครอู ธบิ ายกับนักเรียนวา่ “ท้ัง 2 โครงงานมลี ักษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ดังนน้ั วิธกี ารตา่ ง ๆ ก็จะ
แตกต่างกันไปดว้ ย ซ่งึ นักเรียนสามารถศึกษาลำดับข้ันตอนการทำโครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยตี ามข้ันตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 สำรวจสถานการณป์ ญั หาท่นี ่าสนใจ
ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทีเ่ กีย่ วข้อง
ข้ันตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหา
ข้นั ตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ
ขน้ั ตอนที่ 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปญั หา
รวมถงึ วเิ คราะหบ์ ทวเิ คราะหก์ ารทำโครงงานวา่ มขี ้อดี หรอื ข้อควรพฒั นาปรบั ปรุงอยา่ งไร
เพ่อื นำมาพัฒนาให้มีประสิทธิภาพต่อไป”
ขั้นท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
44. นกั เรยี นแตล่ ะคนทำกิจกรรมท่สี อดคล้องกบั เนือ้ หา โดยให้ผ้เู รียนฝึกปฏิบตั ิเพื่อพัฒนา
ความรแู้ ละทักษะ (Design Activity) ซง่ึ เก่ยี วกบั การออกแบบโครงงานท่ีนกั เรยี นสนใจ
โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบสะเตม็ ตามองค์ประกอบ 6 ขนั้ ตอนลงในสมุดประจำตัวของ
นกั เรยี น
Note
วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรมเพ่อื ให้นกั เรยี น
- มที กั ษะการทำงานร่วมกนั โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ ในการทำงานหรือการทำ
กิจกรรมเพ่ือใหเ้ กิดการสื่อสารและแลกเปลยี่ นข้อมลู รว่ มกันภายในกลมุ่
- มที ักษะการสืบคน้ ข้อมลู โดยใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนสบื ค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต
เพื่อสืบเสาะหาความรตู้ ามหัวขอ้ ที่ไดร้ ับมอบหมาย
- มีทักษะการสงั เกต โดยให้นักเรยี นสงั เกตลำดับขน้ั ตอนการทำโครงงานการ
ออกแบบและเทคโนโลยีจากหนงั สือเรยี นเพ่ือนำไปปรับใช้ในการเรยี นได้อย่างเหมาะสม
- มที กั ษะการคิดวิเคราะห์ โดยใหน้ ักเรยี นพิจารณาเนื้อหาจากการสืบคน้ หรือศึกษา
ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ เช่น หนังสอื เรยี น อินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น
ขั้นสรุป
ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครูประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน สงั เกตการตอบคำถาม การใหค้ วามรว่ มมอื ทางการเรียน
และการทำใบงาน
2. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปเก่ียวกับการจดั ทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีว่า“การทำ
โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีโดยเริม่ จากการสำรวจสภานการณห์ รือปญั หาทีน่ า่ สนใจ
เพือ่ นำมากำหนดหัวขอ้ โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมลู และแนวคิดท่เี ก่ียวข้องกับปญั หา ออกแบบ
แนวทางการแกป้ ัญหา วางแผนและดำเนนิ การแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขวธิ ี
การแก้ปัญหาหรอื ชิ้นงาน และขน้ั ตอนสุดทา้ ยคอื การนำเสนอวิธการแกป้ ัญหา”
7. การวัดและประเมินผล
รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ
7.1 ประเมนิ ระหว่างการจดั กิจกรรม
การเรียนรู้
1) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ ระดบั คุณภาพ 2
ผลงาน นำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
2) พฤตกิ รรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทำงานกล่มุ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุม่ ผา่ นเกณฑ์
4) คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
ความรบั ผดิ ชอบ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มน่ั อนั พงึ ประสงค์
ในการทำงาน
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เร่อื ง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
2) ใบความรู้ เรือ่ ง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
3) เคร่อื งคอมพิวเตอร์
4) นำ้ ยาลบคำผดิ (แบบเขย่า)
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งคอมพิวเตอร์
2) อินเทอร์เน็ต
ใบความรู้
เรื่อง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
คำชี้แจง: ใหน้ กั เรยี นออกแบบโครงงานในหวั ข้อที่สนใจโดยใชข้ นั้ ตอนการทำโครงงานการออกแบบและ
เทคโนโลยี ดงั นี้
1. การสำรวจสถานการณห์ รือปัญหาที่สนใจ (Problem Identification)
1.1 ปัญหาที่สนใจ คอื
1.2 ที่มาของปัญหาเกดิ จากอะไร
1.3 บรรยายลกั ษณะของปัญหาเพ่มิ เติม
1.4 การแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยี คอื
2. รวบรวมข้อมลู และแนวคิดทเ่ี กย่ี วข้อง (Related Information Search)
2.1 เก็บรวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเกีย่ วขอ้ ง ด้วยวธิ กี ารใดบ้าง
2.2 ใช้ความรู้ด้านใด และมคี วามร้อู ะไรบ้าง
2.3 วัสดอุ ุปกรณ์ท่ีตอ้ งนำมาใชแ้ กป้ ญั หามอี ะไรบ้าง
2.4 หากมีการทดลอง ใหบ้ นั ทกึ ผลการทดลอง แสดงผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง
3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา (Solution Design)
3.1 ให้นักเรียนแสดงกรอบแนวคิดการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ออกมาเป็นแผนภาพ
(Diagrams)
หรอื ผังงาน (Flowcharts)
3.2 เขยี นอธบิ ายหลกั การทำงานของวิธีการแก้ปญั หา
3.3 หากมกี ารทดลอง ให้บนั ทกึ ผลการทดลอง แสดงผลการทดลอง และสรุปผลการทดลอง
4. วางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา (Planning and Development)
4.1 ใหน้ กั เรยี นระบแุ ผนกจิ กรรมที่ดำเนินการแกป้ ัญหาในรูปแบบของตารางชว่ งเวลา
4.2 ระบเุ คร่ืองมอื และวสั ดทุ ีใ่ ช้
4.3 เขยี นขั้นตอนการสร้างช้ินงานในรปู แบบแผนภูมิ
4.4 เขียนอธบิ ายขนั้ ตอนการทำงานของวิธีการแกป้ ัญหา
5. ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ (Testing Evaluation and Design Improvement)
5.1 ใหน้ กั เรียนออกแบบรายการการวัดประเมนิ ผลมีอะไรบา้ ง พรอ้ มระบสุ ดั สว่ นของคะแนน
5.2 ระบุเกณฑ์การให้คะแนน
(เช่น 5 = ดมี ากที่สุด, 4 = ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้, 1 = ควรปรบั ปรุง)
5.3 สรปุ ผลการประเมิน ชน้ิ งานนัน้ สามารถแก้ปญั หาได้หรอื ไม่ หากผลการประเมินพบว่า
ไม่สามารถแกป้ ญั หาได้ ใหร้ ะบุขน้ั ตอนที่ตอ้ งแก้ไข และแก้ไขอยา่ งไร
6. นำเสนอวธิ ีแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ัญหา (Presentation)
ในขน้ั ตอนการนำเสนอผลงานควรครอบคลมุ ประเดน็ สำคญั ดงั ต่อไปน้ี
6.1 ชอื่ โครงงาน ช่ือผู้จัดทำโครงงาน และอาจารย์ท่ปี รกึ ษา
6.2 ปญั หาที่สนใจ เหตจุ ูงใจในการทำโครงงานและความสำคัญของโครงงาน
6.3 วธิ ีการดำเนนิ การ โดยเลือกเฉพาะขน้ั ตอนทสี่ ำคัญและน่าสนใจ
6.4 การแสดงชน้ิ งาน การสาธติ วธิ กี ารทดลองที่ไม่ซับซ้อนเข้าใจงา่ ย
6.5 ข้อสรุปทีไ่ ดจ้ ากการทำโครงงาน ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากโครงงาน ข้อเสนอแนะ ข้อควรปรบั ปรงุ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5
รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวิชา ว32282 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ช่ือหน่วย โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 28 ช่วั โมง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอื่ ง โครงงานสะเต็ม เวลา 10 ช่ัวโมง
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ครูผสู้ อน นายกรกฎ เกษมสนิ ธุ์
1. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
1.1 ตวั ชี้วดั
ว 4.1 ม.5/1 ประยกุ ต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตรต์ า่ ง ๆ รวมทงั้ ทรัพยากรในการทำ
โครงงานเพื่อแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายของสะเต็มศกึ ษาไดถ้ ูกต้อง (K)
2. บอกขั้นตอนการแกป้ ัญหาด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมได้ (K)
3. ออกแบบโครงงานสะเต็มศึกษาตามลำดับขนั้ ตอนการทำโครงงานสะเต็มได้ (P)
4. เล็งเห็นความสำคัญของการนำกระบวนการเรียนร้โู ครงการสะเตม็ มาใช้ในการแกป้ ญั หา
ในชีวติ ประจำวัน (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
- การทำโครงงาน เปน็ การประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ และ พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทัง้ ทรัพยากรใน
การสร้างหรือพัฒนาช้นิ งานหรอื วิธกี าร
เพื่อแกป้ ัญหา หรืออำนวยความสะดวก
ในการทำงาน
- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี
สามารถดำเนนิ การได้ โดยเริม่ จากการสำรวจ
สถานการณป์ ัญหาท่ีสนใจ เพื่อกำหนดหวั ข้อ
โครงงาน แลว้ รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ี
เกย่ี วข้องกบั ปัญหาออกแบบแนวทางการ
แก้ปัญหา วางแผน และดำเนินการแกป้ ัญหา
ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี าร
แก้ปญั หาหรือชิ้นงาน และนำเสนอวธิ ีการ
แก้ปญั หา
4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้และสามารถบรู ณาการศาสตร์
ความรู้ท้ัง 4 ศาสตร์วิชาเชอ่ื มโยงไปยังการนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั รวมทัง้ การพัฒนา
กระบวนการหรือผลผลติ ใหม่ควบค่ไู ปกบั การพฒั นาทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ศาสตร์ความรู้ทง้ั 4 ดา้ น
ศาสตร์ ไดแ้ ก่ ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineer)
และคณิตศาสตร์ (Mathematics) โดยเรยี กรวมว่า สะเตม็ (STEM)
5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียนและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ
- ทกั ษะการส่อื สาร
- ทักษะการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู 2. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
- ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทักษะการสังเกต
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรว่ มกนั
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทักษะการสืบคน้ ข้อมูล
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project - based Learning)
ชัว่ โมงที่ 1
ขัน้ นำ
ขน้ั ท่ี 1 ขั้นให้ความรู้พื้นฐาน
1. ครูถามคำถามประจำหัวข้อว่า“การเรยี นรูร้ ปู แบบสะเตม็ ช่วยพฒั นาผู้เรยี นทางดา้ นใดบ้าง”
(แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามความคิดเหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อย่กู ับดุลยพินจิ ของ
ครผู ู้สอน เช่น การเรียนรู้รูปแบบสะเตม็ ชว่ ยพัฒนาผ้เู รยี นให้เกดิ การเรียนรู้และสามารถ
บรู ณาการทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ศาสตรค์ วามรู้ท้งั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ความรูท้ างวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เป็นตน้ )
2. ครูอธิบายเพ่ิมเตมิ กับนักเรยี นว่า“การทำโครงงานสะเต็มมีการทำงานเป็นข้นั ตอนซึ่งมหี ลักการ
แกไ้ ขปญั หาโดยนำแนวคดิ การออกแบบเชิงวศิ วกรรมมาใช้เพอื่ เปน็ แนวทางในการแกป้ ญั หา
หรือตอบสนองความตอ้ งการทหี่ ลากหลาย ซ่ึงสามารถทำตามได้เหมาะสมกับวยั ของนกั เรยี น
และสามารถนำเทคโนโลยมี าใชเ้ พ่อื สรา้ งนวัตกรรมของตนเองได้”
3. นกั เรียนดูแผนภาพที่ 2.33 การพฒั นาโครงงานโดยการเรยี นรใู้ นรูปแบบสะเต็ม จากหนงั สอื
เรยี นรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.5 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
เรือ่ ง โครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี เพื่อวเิ คราะห์ความสัมพันธข์ องการพฒั นา
โครงงาน
4. ครูอธิบายกับนักเรียนวา่ “จะเหน็ ได้ว่าการทำโครงงานสะเต็มจะต้องอาศยั ความรทู้ าง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทางวิศวกรรม และคณติ ศาสตร์”
5. นกั เรียนสงั เกตตารางเปรียบเทยี บแนวปฏบิ ัตทิ างวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี
และคณิตศาสตร์ และวเิ คราะหก์ ารเปรยี บเทียบทักษะของศาสตร์ตา่ ง ๆ
6. ครูอธิบายกบั นักเรยี นเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจมากยง่ิ ขึน้ วา่ “การทำโครงงานสะเตม็ มุง่ แกป้ ญั หาท่ี
พบเห็นในชวี ติ จริง เช่น ด้านการเกษตร ดา้ นภาคอตุ สาหกรรม ด้านการผลติ รถยนต์ ด้านการใช้
พลังงานนำ้ จากเขื่อน ด้านการผลติ พลงั งานไฟฟ้าจากกงั หันลม และด้านการใชพ้ ลงั งานน้ำจาก
เขอื่ น เปน็ ต้น เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทกั ษะชวี ิต ความคดิ สรา้ งสรรค์เพือ่ นำไปสู่การสรา้ ง
นวตั กรรม”
ข้ันท่ี 2 ขั้นกระตุน้ ความสนใจ
7. ครถู ามคำถามเพื่อกระต้นุ ความสนใจของนักเรยี น โดยใชค้ ำถามดังต่อไปน้ี
1) “อุปกรณอ์ ำนวยความสะดวกภายในบา้ นอุปกรณ์ใดบา้ งทใี่ ช้พลงั งานไฟฟา้ ”
(แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อย่กู ับดลุ ยพนิ จิ
ของครูผสู้ อน เชน่ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ เครื่องดดู ฝนุ่ เป็นต้น)
2) “พลงั งานไฟฟ้าท่ีเรานำมาใช้มาจากแหล่งใดบ้าง”
(แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยกู่ ับดุลยพินิจ
ของครผู ูส้ อน เช่น น้ำมนั ถา่ นหิน กา๊ ซธรรมชาติ พลงั งานนิวเคลยี ร์ พลงั งานนำ้
พลังงานแสงอาทติ ย์ และพลังงานลม เป็นต้น)
3) “พลังงานใดบ้างท่ีเปน็ พลังงานสะอาด ไมก่ ่อใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สภาวะแวดล้อมของ
โลก”
(แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยู่กบั ดุลยพนิ จิ
ของครผู สู้ อน เช่น พลังงานนำ้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ และพลังงานลม เป็นต้น)
4) “นกั เรียนจะเปลย่ี นจากพลังงานสะอาดมาเป็นพลงั งานไฟฟ้าได้อย่างไร”
(แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยกู่ ับดุลยพนิ จิ
ของครูผสู้ อน เช่น การสร้างใบพัดกังหนั ลม การสรา้ งเครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ เปน็ ต้น)
ข้นั สอน
ขั้นที่ 3 ข้ันจดั กลุ่มร่วมมือ
1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน หรือตามความเหมาะสม เพอื่ ศกึ ษากระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม ท่เี ปน็ ข้ันตอนของการแก้ไขปญั หาเพื่อตอบสนองความต้องการ
2. จากนัน้ ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาข้นั ตอนการทำโครงงานสะเตม็ ท่ีมีกระบวนการเร่ิมต้นจนส้นิ สดุ
6 ขน้ั ตอน จากหนังสอื เรียน ดงั นี้
1) สำรวจสถานการณ์ ปัญหาท่ีสนใจเพ่ือกำหนดหวั ข้อโครงงาน
2) รวบรวมข้อมลู และแนวคิดทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หา
3) เลือกแนวคดิ ทด่ี ีที่สุดแลว้ ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
4) วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา
5) ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ัญหาหรือช้ินงาน
6) นำเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิน้ งาน
3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มระดมความคิดเหน็ ร่วมกนั และตัง้ โจทย์และทำโครงงานสะเต็มตามหัวขอ้
เรือ่ งทนี่ ักเรยี นสนใจในหัวข้อเกยี่ วกับการผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยพลังงานสะอาดให้มี
ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในขัน้ ตอนการระบุปญั หาในชวี ติ จริงหรือนวัตกรรมทต่ี ้องการพัฒนา และ
ตอบคำถามลงในใบงานท่ี 2.3.1 เร่ือง การระบปุ ัญหา โดยนกั เรยี นอาจจะศึกษาการระบุ
ปัญหา จากตัวอย่างท่ี 1 ในหนังสือเรยี น
4. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอข้ันตอนการระบปุ ญั หาโครงงานสะเตม็ ตามหัวข้อเร่อื งท่ี
นักเรยี นสนใจ พร้อมอภปิ รายร่วมกันในห้องเรียน
ชว่ั โมงที่ 2
ข้ันท่ี 4 ขน้ั แสวงหาความรู้
5. นักเรียนศึกษาเนื้อหาเกย่ี วกบั การรวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดท่ีเกยี่ วข้องจากหนังสือเรียน หรอื
สบื คน้ วธิ กี ารรวบรวมข้อมลู ต่าง ๆ จากอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ีเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของตนเอง
โดยนกั เรยี นอาจจะศึกษาการรวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดในการแก้ปัญหา จากตัวอย่างท่ี 2
ในหนังสอื เรียน