The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ (20101-2009)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-06-15 23:30:13

ิวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์

รายวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ (20101-2009)

วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ วิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 20101 – 2009 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ น า ย ส า ธิ ต เ ส ว ก จั น ท ร์ ค รู ช า น า ญ ก า ร


แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เชื่อมโยงกับคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ สาขารถยนต์ทั่วไป อาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ ระดับ 2 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 20101 - 2009 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ จัดทำโดย นายสาธิต เสวกจันทร์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


คำนำ แผนการสอนรายวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 20101-2009 มีการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะที่เชื่อมโยงกับคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ สาขารถยนต์ทั่วไป อาชีพช่างซ่อม เครื่องยนต์ ระดับ 2 มีเนื้อหาตรงตามจุดประสงค์ และคำอธิบายรายวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ แผนการสอนรายวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 20101-2009 มีจำนวนหน่วยกิต 2 หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาเรียนสัปดาห์ ละ 4 ชั่วโมง รวม 72 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 12 หน่วยการเรียน เริ่มด้วย ประวัติ วิวัฒนาการ กฎ และ หลักการพื้นฐานของวัดละเอียดช่างยนต์ บรรทัดเหล็ก ฉากเหล็ก 90 องศา เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์ พลาสติกเกจ นาฬิการวัด เกจวัดกระบอกสูบ ฟิลเลอร์เกจ เกจยืดหด เกจวัดรูขนาดเล็ก และเกจวัดความหนา โดยการจัดการเรียนรู้มีรูปแบบการสอนโดยวิธีการบรรยาย พร้อมสาธิต ให้นักศึกษา ปฏิบัติตาม โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีสื่อผสมที่หลากหลาย โดยมีการประเมินผลการเรียนทั้งทางด้านความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คงจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ สอนในรายวิชานี้ หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทำยินดีน้อมรับไว้ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง นายสาธิต เสวกจันทร์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนการสอน ชื่อรายวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ รหัสวิชา 20101 - 2009 ระดับชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา ช่างยนต์ หน่วยกิต 2 จำนวนชั่วโมง 4 รวม 72 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการอ่าน การใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียด 2. สามารถใช้เครื่องมือวัดละเอียดตรวจวัดชิ้นส่วนในงานช่างยนต์ 3. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัยและ รักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและวิธีการใช้เครื่องมือวัดละเอียดในงานช่างยนต์ 2. ปรับตั้ง บำรุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดในงานช่างยนต์ 3. ตรวจวัดชิ้นส่วนในงานช่างยนต์ 4. วิเคราะห์สภาพของชิ้นส่วนในงานช่างยนต์ตามคู่มือ คำอธิบายรายวิชา(เดิม) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวัดละเอียด การอ่านค่า การตรวจวัดและวิเคราะห์ สภาพชิ้นส่วน การบำรุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดในงานช่างยนต์ คำอธิบายรายวิชา(ใหม่) ศึกษาเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ การอ่านค่า ปฏิบัติการวัดตรวจสอบชิ้นส่วน ในงานช่างยนต์ สามารถวิเคราะห์สภาพของชิ้นส่วนในงานช่างยนต์ โดยเปรียบเทียบกับคู่มือ ตลอดจนการบำรุงรักษา ปรับตั้งแก้ไข เครื่องมือวัดละเอียดในงานช่างยนต์


ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะที่พึงประสงค์ รหัสวิชา 20101-2009 ชื่อวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ จำนวน 2 หน่วยกิต 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียน 72 ชั่วโมง/ภาคเรียน ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 1. หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ 1.1 ความหมายของเครื่องมือวัดละเอียด 1.2 ระบบและหน่วยของการวัด - ระบบของการวัด - หน่วยของการวัด 1.3 กฎการใช้เครื่องมือวัด 1.4 การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด - ใบงานที่ 1 พื้นฐานของเครื่องมือวัด ละเอียดช่างยนต์ 1. อธิบายความหมายของเครื่องมือวัด ละเอียดได้ 2. อธิบายเรื่องการกำหนดมาตรฐานในการ วัด รวมทั้งระบบและหน่วยของการวัดได้ อย่างเข้าใจ 3. บอกถึงกฎการใช้เครื่องมือวัดได้อย่าง ถูกต้อง 4. รู้จักวิธีบำรุงรักษาเครื่องมือวัดได้เป็น อย่างดี 5. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 2. บรรทัดเหล็ก 2.1 หน้าที่ของบรรทัดเหล็ก 2.2 ระบบหน่วยของบรรทัดเหล็ก 2.3 การอ่านค่าบรรทัดเหล็ก 2.4 วิธีการบำรุงรักษาบรรทัดเหล็ก - ใบงานที่ 2 การใช้บรรทัดเหล็กตรวจวัด ขนาดชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ 1. อธิบายหน้าที่ของบรรทัดเหล็กได้ 2. อธิบายลักษณะของบรรทัดเหล็กได้ 3. บอกหน่วยวัดของบรรทัดเหล็กได้ 4. อ่านค่าบรรทัดเหล็กในระบบอังกฤษและ ระบบเมตริกได้ 5. อธิบายข้อควรปฏิบัติในการใช้งานบรรทัด เหล็กได้ 6. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาบรรทัดเหล็กได้ 7. ใช้บรรทัดเหล็กตรวจวัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ได้ 8. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 3. ฉากเหล็ก 90 องศา 3.1 หน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศา 3.2 ส่วนประกอบฉากเหล็ก 90 องศา 3.3 วิธีใช้งานและบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา - ใบงานที่ 3 การใช้เหล็กฉาก 90 องศา ตรวจวัดความเอียงของสปริงลิ้น 1. อธิบายหน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 2. บอกส่วนประกอบของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 3. อธิบายวิธีการใช้งานฉากเหล็ก 90 องศาได้ 4. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา ได้ 5. ใช้ฉากเหล็ก 90 องศา ตรวจวัดความเอียง ของสปริงลิ้นของเครื่องยนต์ได้ 6. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 4.1 หน้าที่ของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.2 ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.3 ระบบหน่วยของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.4 วิธีการอ่านเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.5 ข้อควรระวังในการใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ ลิปเปอร์ 4.6 วิธีการบำรุงรักษาเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ - ใบงานที่ 4.1 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิป เปอร์วัดความยาวของสปริงลิ้น - ใบงานที่ 4.2 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิป เปอร์วัดระยะยื่นของปลอกนำลิ้น - ใบงานที่ 4.3 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิป เปอร์วัดขนาดของรูลิ้น - ใบงานที่ 4.4 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิป เปอร์วัดขนาดของกระบอกสูบ - ใบงานที่ 4.5 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิป เปอร์วัดขนาดของบ่าลิ้น 1. อธิบายหน้าที่ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 2. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ได้ 3. บอกหน่วยวัดของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 4. อ่านค่าการวัดจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 5. อธิบายข้อควรระวังในการใช้เวอร์เนียร์คาลิป เปอร์ได้ 6. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิป เปอร์ได้ 7. ใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดขนาดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ได้ 8. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 5. ไมโครมิเตอร์ 5.1 หน้าที่ของไมโครมิเตอร์ 5.2 ชนิดของไมโครมิเตอร์ - ใบงานที่ 5.1 การอ่านไมโครมิเตอร์วัดนอก - ใบงานที่ 5.2 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัด ขนาดความสูงของลูกเบี้ยว - ใบงานที่ 5.3 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัด ขนาดของก้านลิ้น - ใบงานที่ 5.4 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัด ขนาดของลูกสูบ - ใบงานที่ 5.5 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัด ขนาดของเพลาข้อเหวี่ยง 1. อธิบายหน้าที่ของไมโครมิเตอร์ได้ 2. บอกส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์ได้ 3. อธิบายขั้นตอนการใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาด ของชิ้นงานได้ 4. อธิบายวิธีการอ่านไมโครมิเตอร์ได้ 5. อธิบายข้อควรระวังในการใช้ไมโครมิเตอร์ได้ 6. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาไมโครมิเตอร์ได้ 7. อ่านค่าไมโครมิเตอร์ได้ 8. ใช้ไมโครมิเตอร์วัดขนาดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์โดยเปรียบเทียบกับคู่มือ 9. มี กิจนิ สัยที่ ดี มีจิตอาสาใน การท ำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม 6. พลาสติกเกจ 6.1 หน้าที่ของพลาสติกเกจ 6.2 ลักษณะของพลาสติกเกจ 6.3 ข้อควรระวังในการใช้งานพลาสติกเกจ - ใบงานที่ 6.1 การใช้พลาวติกเกจวัด ระยะห่างช่องว่างของการหล่อลื่นของพลาข้อ เหวี่ยง 1. อธิบายหน้าที่ของพลาสติกเกจได้ 2. อธิบายลักษณะของพลาสติกเกจได้ 3. อธิบายข้อควรระวังในการใช้งานพลาสติกเกจ ได้ 4. ใช้พลาสติกเกจตรวจวัดระยะห่างของช่องว่าง ของการหล่อลื่นของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ได้ 5. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 7. นาฬิกาวัด 7.1 หน้าที่ของนาฬิกาวัด 7.2 ส่วนประกอบของนาฬิกาวัด 7.3 การอ่านค่าของนาฬิกาวัด 7.4 แท่นยึดนาฬิกาวัด 7.5 ข้อควรระวังในการใช้งานนากาวัด 7.6 วิธีการบำรุงรักษานาฬิกาวัด - ใบงานที่ 7.1 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความ คดงอของเพลาลูกเบี้ยว - ใบงานที่ 7.2 การใช้นาฬิกาวัดระยะห่างก้าน ลิ้นกับปลอกนำลิ้น - ใบงานที่ 7.3 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความ คดงอของเพลาข้อเหวี่ยง - ใบงานที่ 7.4 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดระยะ รุนของเพลาข้อเหวี่ยง - ใบงานที่ 7.5 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความ คดงอของก้านกระทุ้งลิ้น 1. อธิบายหน้าที่ของนาฬิกาวัดได้ 2. บอกส่วนประกอบของนาฬิกาวัดได้ 3. อ่านค่าจากนาฬิกาวัดได้ 4. บอกส่วนประกอบของแท่นยึดนาฬิกาวัดได้ 5. อธิบายข้อควรระวังในการใช้งานนาฬิกาวัดได้ 6. อธิบายวิธีการบํารุงรักษานาฬิกาวัดได้ 7. ใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ได้ 8. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม 8. เกจวัดกระบอกสูบ 8.1 หน้าที่ของเกจวัดกระบอกสูบ 8.2 ส่วนประกอบของเกจวัดกระบอกสูบ 8.3 การอ่านค่าเกจวัดกระบอกสูบ 8.4 ข้อควรระวังในการใช้งานเกจวัดกระ บอกสูบ 8.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดกระบอกสูบ -ใบงานที่ 8.1 การใช้เกจวัดกระบอกสูบตรวจวัด เส้นผ่านศูนย์กลางของกระบอกสูบ 1.อธิบายหน้าที่ของเกจวัดกระบอกสูบได้ 2.บอกส่วนประกอบของเกจวัดกระบอกสูบได้ 3.อ่านค่าจากเกจวัดกระบอกสูบได้ 4.อธิบายข้อควรระวังในการใช้งานเกจวัดกระบอก สูบได้ 5.อธิบายวิธีการบำรุงรักษาเกจวัดกระบอกสูบได้ 6.ใช้เกจวัดกระบอกสูบตรวจวัดชิ้นส่วน ต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ได้ 7.มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 9. ฟิลเลอร์เกจ 9.1 หน้าที่ของฟิลเลอร์เกจ 9.2 ลักษณะของฟิลเลอร์เกจ 9.3 วิธีการใช้งานฟิลเอร์เกจ 9.4 ข้อควรระวังในการใช้งานฟิลเลอร์เกจ 9.5 วิธีการบำรุงรักษาฟิลเลอร์เกจ -ใบงานที่ 9.1 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัด ระยะห่างของปากแหวนลูกสูบ -ใบงานที่ 9.2 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดแหวน ลูกสูบกับร่องแหวนลูกสูบ -ใบงานที่ 9.3 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดการโก่ง ของเสื้อสูบ -ใบงานที่ 9.4 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดการโก่ง ของฝาสูบ 1. อธิบายหน้าที่ของฟิลเลอร์เกจได้ 2. อธิบายลักษณะของฟิลเลอร์เกจได้ 3. อธิบายวิธีการใช้งานฟิลเลอร์เกจได้ 4. อธิบายข้อควรระวังในการใช้งานฟิลเลอร์เกจ ได้ 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาฟิลเลอร์เกจได้ 6. ใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ได้ 7. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม 10. เกจยืดหด 10.1 หน้าที่ของเกจยืดหด 10.2 ส่วนประกอบของเกจยืดหด 10.3 ขนาดของเกจยืดหด 10.4 วิธีการใช้งานเกจยืดหด -ใบงานที่ 10.1 การใช้เกจยืดหดตรวจวัดขนาด ความโตของรูภายในก้านสูบ -ใบงานที่ 10.2 การใช้เกจยืดหดตรวจวัดขนาด ความโตของรุภายในสลักลูกสูบที่ก้านสูบ 1. อธิบายหน้าที่ของเกจยืดหดได้ 2. บอกส่วนประกอบของเกจยืดหดได้ 3. อธิบายวิธีการใช้งานเกจยืดหดได้ 4. ใช้เกจยืดหดตรวจวัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ได้ 5. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 11. เกจวัดรูขนาดเล็ก 11.1 หน้าที่ของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.2 ส่วนประกอบของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.3 ขนาดของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.4 วิธีการใช้งานของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดรูขนาดเล็ก -ใบงานที่ 11.1 การใช้เกจวัดรูขนาดเล็กวัดขนาด รูของปลอกนำลิ้น 1. อิบายหน้าที่ของเกจวัดรูขนาดเลกได้ 2. บอกส่วนประกอบของเกจวัดรูขนาดเลกได้ 3. บอกขนาดของเกจวัดรูขนาดเลกได้ 4. อิบายวิธีการใช้งานเกจวัดรูขนาดเลกได้ 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเกจวัดรูขนาดเลกได้ 6. ใช้เกจวัดรูขนาดเลกตรวจวัดขนาดรูของปลอก นําลิ้นของเครื่องยนต์ได้ 7. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม 12. เกจวัดความหนา 12.1 หน้าที่ของเกจวัดความหนา 12.2 ส่วนประกอบของเกจวัดความหนา 12.3 การอ่านค่าวัดความหนา 12.4 ข้อควรระวังในการใช้งานวัดความ หนา 12.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดความหนา -ใบงานที่ 12.1 การใช้เกจวัดความหนาวัดความ หนาของแผ่นชิม 1. อธิบายหน้าที่ของเกจวัดความหนาได้ 2. บอกส่วนประกอบของเกจวัดความหนาได้ 3. อ่านค่าเกจวัดความหนาได้ 4. อธิบายข้อควรระวังในการใช้งานเกจวัดความ หนาได้ 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเกจวัดความหนาได้ 6. ใช้เกจวัดความหนาวัดขนาดความหนาของแผ่น ชิมของเครื่องยนต์ได้ 7. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม


หน่วยการสอน รหัส 20101 – 2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ จำนวน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการสอน จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ บรรทัดเหล็ก ฉากเหล็ก 90 องศา เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์ พลาสติกเกจ นาฬิกาวัด เกจวัดกระบอกสูบ ฟิลเลอร์เกจ เกจยืดหด เกจวัดรูขนาดเล็ก เกจวัดความหนา 1 1 1 3 3 1 2 2 1 1 1 1 3 3 3 9 9 3 6 6 3 3 3 3 รวม 18 54 72


รายการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ (4 คาบ ) จำแนกตามหน่วย และหัวข้อเรื่องที่สอนต่อภาคเรียน หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 1 1.หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ 1.1ความหมายของเครื่องมือวัดละเอียด 1.2ระบบและหน่วยของการวัด - ระบบของการวัด - หน่วยของการวัด 1.3 กฎการใช้เครื่องมือวัด 1.4 การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด - ใบงานที่ 1 พื้นฐานของเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ 4 2 2.บรรทัดเหล็ก 2.1 หน้าที่ของบรรทัดเหล็ก 2.2 ระบบหน่วยของบรรทัดเหล็ก 2.3 การอ่านค่าบรรทัดเหล็ก 2.4 วิธีการบำรุงรักษาบรรทัดเหล็ก - ใบงานที่ 2 การใช้บรรทัดเหล็กตรวจวัดขนาดชิ้นส่วน ของเครื่องยนต์ 4


หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 3 3.ฉากเหล็ก 90 องศา 3.1 หน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศา 3.2 ส่วนประกอบฉากเหล็ก 90 องศา 3.3 วิธีใช้งานและบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา - ใบงานที่ 3 การใช้เหล็กฉาก 90 องศาตรวจวัดความ เอียงของสปริงลิ้น 4 4 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 4.1 หน้าที่ของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.2 ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.3 ระบบหน่วยของเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.4 วิธีการอ่านเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.5 ข้อควรระวังในการใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ 4.6 วิธีการบำรุงรักษาเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์ - ใบงานที่ 4.1 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วัดความ ยาวของสปริงลิ้น - ใบงานที่ 4.2 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วัดระยะ ยื่นของปลอกนำลิ้น - ใบงานที่ 4.3 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วัดขนาด ของรูลิ้น - ใบงานที่ 4.4 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วัดขนาด ของกระบอกสูบ - ใบงานที่ 4.5 การใช้เวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์วัดขนาด ของบ่าลิ้น 12


หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 5 5. ไมโครมิเตอร์ 5.1 หน้าที่ของไมโครมิเตอร์ 5.2 ชนิดของไมโครมิเตอร์ - ใบงานที่ 5.1 การอ่านไมโครมิเตอร์วัดนอก - ใบงานที่ 5.2 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดความสูง ของลูกเบี้ยว - ใบงานที่ 5.3 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดของก้าน ลิ้น - ใบงานที่ 5.4 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดของ ลูกสูบ - ใบงานที่ 5.5 การใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอกวัดขนาดของเพลา ข้อเหวี่ยง 12 6 6. พลาสติกเกจ 6.1 หน้าที่ของพลาสติกเกจ 6.2 ลักษณะของพลาสติกเกจ 6.3 ข้อควรระวังในการใช้งานพลาสติกเกจ - ใบงานที่ 6.1 การใช้พลาวติกเกจวัดระยะห่างช่องว่าง ของการหล่อลื่นของพลาข้อเหวี่ยง 4


หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 7 7. นาฬิกาวัด 7.1 หน้าที่ของนาฬิกาวัด 7.2 ส่วนประกอบของนาฬิกาวัด 7.3 การอ่านค่าของนาฬิกาวัด 7.4 แท่นยึดนาฬิกาวัด 7.5 ข้อควรระวังในการใช้งานนากาวัด 7.6 วิธีการบำรุงรักษานาฬิกาวัด - ใบงานที่ 7.1 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความคดงอของ เพลาลูกเบี้ยว - ใบงานที่ 7.2 การใช้นาฬิกาวัดระยะห่างก้านลิ้นกับปลอก นำลิ้น - ใบงานที่ 7.3 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความคดงอของ เพลาข้อเหวี่ยง - ใบงานที่ 7.4 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดระยะรุนของเพลา ข้อเหวี่ยง - ใบงานที่ 7.5 การใช้นาฬิกาวัดตรวจวัดความคดงอของก้าน กระทุ้งลิ้น 8 8 8. เกจวัดกระบอกสูบ 8.1 หน้าที่ของเกจวัดกระบอกสูบ 8.2 ส่วนประกอบของเกจวัดกระบอกสูบ 8.3 การอ่านค่าเกจวัดกระบอกสูบ 8.4 ข้อควรระวังในการใช้งานเกจวัดกระบอกสูบ 8.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดกระบอกสูบ -ใบงานที่ 8.1 การใช้เกจวัดกระบอกสูบตรวจวัดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของกระบอกสูบ 8


หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 9 9. ฟิลเลอร์เกจ 9.1 หน้าที่ของฟิลเลอร์เกจ 9.2 ลักษณะของฟิลเลอร์เกจ 9.3 วิธีการใช้งานฟิลเอร์เกจ 9.4 ข้อควรระวังในการใช้งานฟิลเลอร์เกจ 9.5 วิธีการบำรุงรักษาฟิลเลอร์เกจ -ใบงานที่ 9.1 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดระยะห่างของปาก แหวนลูกสูบ -ใบงานที่ 9.2 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดแหวนลูกสูบกับร่อง แหวนลูกสูบ -ใบงานที่ 9.3 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดการโก่งของเสื้อสูบ -ใบงานที่ 9.4 การใช้ฟิลเลอร์เกจตรวจวัดการโก่งของฝาสูบ 4 10 10. เกจยืดหด 10.1 หน้าที่ของเกจยืดหด 10.2 ส่วนประกอบของเกจยืดหด 10.3 ขนาดของเกจยืดหด 10.4 วิธีการใช้งานเกจยืดหด -ใบงานที่ 10.1 การใช้เกจยืดหดตรวจวัดขนาดความโตของรู ภายในก้านสูบ -ใบงานที่ 10.2 การใช้เกจยืดหดตรวจวัดขนาดความโตของรุ ภายในสลักลูกสูบที่ก้านสูบ 4


หน่วยที่ หัวข้อเรื่อง / รายการสอน ( ทฤษฎีและปฏิบัติ ) จำนวนคาบ 11 11. เกจวัดรูขนาดเล็ก 11.1 หน้าที่ของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.2 ส่วนประกอบของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.3 ขนาดของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.4 วิธีการใช้งานของเกจวัดรูขนาดเล็ก 11.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดรูขนาดเล็ก -ใบงานที่ 11.1 การใช้เกจวัดรูขนาดเล็กวัดขนาดรูของปลอก นำลิ้น 4 12 12. เกจวัดความหนา 12.1 หน้าที่ของเกจวัดความหนา 12.2 ส่วนประกอบของเกจวัดความหนา 12.3 การอ่านค่าวัดความหนา 12.4 ข้อควรระวังในการใช้งานวัดความหนา 12.5 วิธีการบำรุงรักษาเกจวัดความหนา -ใบงานที่ 12.1 การใช้เกจวัดความหนาวัดความหนาของแผ่น ชิม 4


ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา 20101-2009 รายวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ หน่วยกิต 2 ชั้น ปวช.1 สาขาวิชา ช่างยนต์ พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลับความสำคัญ จำนวนคาบ 1. หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ 1 1 1 2 1 6 3 4 2. บรรทัดเหล็ก 1 1 3 1 6 3 4 3. ฉากเหล็ก 90 องศา 1 1 3 2 7 3 4 4. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1 1 1 1 1 1 4 2 12 1 12 5. ไมโครมิเตอร์ 1 1 1 1 1 1 4 2 12 1 12 6. พลาสติกเกจ 1 1 4 2 8 2 4 7. นาฬิกาวัด 1 1 1 1 1 4 2 11 1 8 8. เกจวัดกระบอกสูบ 1 1 1 1 1 4 2 11 1 8 9. ฟิลเลอร์เกจ 1 1 1 4 2 9 2 4 10. เกจยืดหด 1 1 2 2 6 3 4 11. เกจวัดรูขนาดเล็ก 1 1 2 1 5 3 4 12. เกจวัดความหนา 1 1 4 1 7 3 4 รวม 4 12 12 4 4 4 40 20 10 0 72 ลำดับความสำคัญ 2 1 1 2 2 2


ตารางกำหนดหน่วยการเรียนรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ รหัส 20101-2009 ชื่อวิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ หน่วยกิต/ชั่วโมง 2(4) หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ 1 1-4 2 บรรทัดเหล็ก 2 5-8 3 ฉากเหล็ก 90 องศา 3 9-12 4 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 4-6 13-24 5 ไมโครมิเตอร์ 7-9 25-36 6 พลาสติกเกจ 10 37-40 7 นาฬิกาวัด 11-12 41-48 8 เกจวัดกระบอกสูบ 13-14 49-56 9 ฟิลเลอร์เกจ 15 57-60 10 เกจยืดหด 16 61-64 11 เกจวัดรูขนาดเล็ก 17 65-68 12 เกจวัดความหนา 18 69-72 ทบทวน/สอบปลายภาค รวม 18 72


1 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ สัปดาห์ที่ 1 ชื่อหน่วย หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ จำนวน 4 ชม. การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1 2,3 4 5 หลักการพื้นฐานของ งานวัดละเอียดช่างยนต์ มีเหตุผล พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม 1. บอกความหมายและชนิดของ เครื่องมือวัดได้ 2. แยกแยะหน่วยวัดทั้งสองแบบ ได้อย่างถูกต้อง 3. อธิบายกฏการใช้เครื่องมือวัด ได้ 4. เลือกใช้เครื่องมือวัด วัดตรวจสอบชิ้นส่วน เครื่องยนต์ได้อย่างเหมาะสม 5. มีภูมิความรู้ในการใช้ เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ วัด ชิ้นส่วนต่างๆเครื่องยนต์ตามคู่มือ - ความหมายของเครื่องมือวัดละเอียด - ระบบหน่วยของการวัดละเอียดช่างยนต์ - ชนิดของเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ - กฎของการใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ - วิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ - ความมีวินัย - ความรับผิดชอบ - ความซื่อสัตย์สุจริต - มีจิตอาสา - การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน


2 แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4 (2) สอนครั้งที่ 1 หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ สิ่งสําคัญของงานวัดละเอียดช่างยนต์ก็คือเครื่องมือวัดละเอียดต่าง ๆ ในงานช่างยนต์ ที่ผู้เรียนในสาขาวิชาช่าง ยนต์หรือเครื่องกลต้องมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถใช้งานได้อย่าง ถูกต้อง ตลอดจนต้องสามารถปรับตั้งและ บำรุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดทั้งนี้ก็เพื่อยืดอายุการใช้ งานเครื่องมือวัดละเอียดต่าง ๆ ให้ยาวนานยิ่งขึ้นต่อไป 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. บอกถึงประวัติและวิวัฒนาการของการวัดได้ 2. อธิบายเรื่องการกำหนดมาตรฐานในการวัด รวมทั้งระบบและหน่วยของการวัดได้อย่างเข้าใจ 3. บอกถึงกฎการใช้เครื่องมือวัดได้อย่างถูกต้อง 4. รู้จักวิธีบำรุงรักษาเครื่องมือวัดได้เป็นอย่างดี 5. สามารถปฏิบัติงาน เลือก ใช้ จัดเก็บและบำรุงรักษา เครื่องมือวัดที่ใช้ในการบริการยานยนต์ได้ 6. แสดงพฤติกรรมการมีคุณธรรมและจริยธรรมอันพึงประสงค์ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของเครื่องมือวัดละเอียดได้ 2. อธิบายระบบหน่วยของการวัดละเอียดได้ 3. บอกชนิดของเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ได้ 4. อธิบายกฎของการใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ได้ 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมืดวัดละเอียดช่างยนต์ได้ 6. สเกตช์รูปเครื่องมือวัดละเอียดต่าง ๆ ในงานช่างยนต์แต่ละชนิดได้ 7. การใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือพิเศษต่างๆ ในงานบริการยานยนต์ 8. การอ่านค่าจากเครื่องมือวัด 9. การบำรุงรักษาเครื่องมือ 10. เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ 11. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานที่มอบหมายเสร็จตามเวลาที่กำหนด 12. แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 13. มีความละเอียดรอบคอบในการทำกิจกรรม 14. ใช้เวลาว่างในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย


3 4.สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของเครื่องมือวัดละเอียด 2. ระบบหน่วยของการวัดละเอียดช่างยนต์ 3. ชนิดของเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ 4. กฎของการใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ 5. วิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความมีเหตุผล -ผู้เรียนบอกความหมายและชนิดของเครื่องมือวัดได้ -ผู้เรียนแยกแยะหน่วยวัดทั้งสองแบบได้อย่างถูกต้อง -ผู้เรียนอธิบายกฏการใช้เครื่องมือวัดได้ 2. หลักความพอประมาณ -ผู้เรียนเลือกใช้เครื่องมือวัด วัดตรวจสอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ได้อย่างเหมาะสม 3. หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน -ผู้เรียนมีภูมิความรู้ในการใช้เครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ วัดชิ้นส่วนต่าง ๆ เครื่องยนต์ตามคู่มือ 4. เงื่อนไขการจัดการความรู้ความรู้ - -ผู้เรียนมีความรู้ความหมาย ระบบหน่วย และชนิดของเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ เข้าใจกฎของการใช้ เครื่องมือวัดและวิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดช่างยนต์ 5. เงื่อนไขการมีคุณธรรม -ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตอาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 6. นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ 1) เศรษฐกิจ 2) สังคม 3) วัฒนธรรม 4) สิ่งแวดล้อม


4 6.กิจกรรมการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 1 ชั่วโมงที่ 1-4 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความมี วินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักเรียนทุกคนในชั้นเรียนว่าเครื่องมือวัดในงานช่าง ยนต์มีความสำคัญอย่างไร ขั้นสอน 3. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเรื่องประวัติ วิวัฒนาการของ การวัด จาก internet 4. ครูอธิบายถึงประวัติ วิวัฒนาการ ของการวัดชนิดต่าง ๆ 5. ครูให้นักเรียนคนหนึ่ง อธิบายถึงประวัติวิวัฒนาการของ การวัด และให้นักเรียนคนอื่นช่วยกันอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 6. ครูสรุป ประวัติและวิวัฒนาการของเครื่องมือวัด อย่าง ถูกวิธีโดยใช้สื่อ power point เรื่องประวัติและ วิวัฒนาการของการวัด และของจริง 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูจับฉลาก แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อฝึก ปฏิบัติตามใบงาน และให้ช่วยกันศึกษาการใช้งาน การ ทดลองใช้เครื่องมือวัดแบบต่าง ๆ กันออกไป 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักเรียนทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักเรียนปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 1 แล้วให้นักเรียน ตอบ คำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 1 แล้วร่วมกันเฉลย คำตอบในชั้นเรียน 1. นักเรียนรับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และ ซักถามเพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. นักเรียนยกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3. นักเรียนสืบค้นข้อมูลและศึกษารายละเอียด ต่าง ๆเกี่ยวกับประวัติและวิวัฒนาการของการ วัด 4. นักเรียนฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหาเรื่อง ประวัติ วิวัฒนาการของการวัด 5. นักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องประวัติวิวัฒนาการ ของการวัด 6. นักเรียนฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่องประวัติ และวิวัฒนาการของการวัดวัด 7. ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8. รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน 9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ตามที่ครูจับฉลากศึกษาตาม ใบงานที่กำหนด 10. นักเรียนปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11. นักเรียนตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 1 แล้วร่วมกันเฉลย คำตอบ และตรวจแบบประเมินผลการเรียนที่ 1 พร้อมกันในชั้นเรียน


5 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อโสตทัศน์ 1. internet 2. power point 1.1 การกำหนดมาตรฐานความยาว 1.2 การปรับเปลี่ยนมาตรฐานความยาว หุ่นจำลองหรือของจริง 1. เครื่องมือวัดแบบต่าง ๆ 2. ชิ้นส่วนต่าง ๆ เครื่องยนต์ 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1.สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2.ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3.ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุมตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัด ความสามารถทางวิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุ่มตัวอย่าง 5. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม


6 6.ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1. ขั้นกระบวนการ 1.1 ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 7. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 95-100 ยอดเยี่ยม 10 90-94 ดีมาก 9 85-89 ดี 8 80-84 พอใช้ 7 75-79 ปรับปรุง 6 74 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. ใบงาน เรื่อง หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์ 2. ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานของงานวัดละเอียดช่างยนต์


7 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ......................................................................................................................................................... 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) ........................................................................................................................................................... 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .......................................................................................................................................................... 11.3 ผลการสอนของครู (ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)................................................................................................................................................ (2)................................................................................................................................................. 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ....................................................................................................................................................... ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ....................................................................................................................................................... 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน(ระบุ) .................................................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)………………………………………….. 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) ........................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................................ 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ............................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................


8 6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................................................... ...................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.2 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................... ...................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


9 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ สัปดาห์ที่ 2 ชื่อหน่วย บรรทัดเหล็ก จำนวน 4 ชม. การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1 2 3 4 บรรทัดเหล็ก มีเหตุผล พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม 1. บอกหน้าที่ของบรรทัดเหล็กได้ 2. อ่านค่าในระบบอังกฤษและ ระบบเมตริกได้อย่างเข้าใจ 3. เลือกใช้บรรทัดเหล็ก วัดตรวจสอบชิ้นส่วน เครื่องยนต์ได้อย่างเหมาะสม 4. มีภูมิความรู้ในการใช้ บรรทัดเหล็ก วัดชิ้นส่วนต่างๆ เครื่องยนต์ตามคู่มือ - หน้าที่ของบรรทัดเหล็ก - ลักษณะของบรรทัดเหล็ก - ระบบหน่วยวัดของบรรทัดเหล็ก - การอ่านค่าบรรทัดเหล็ก - วิธีการบํารุงรักษาบรรทัดเหล็ก - ความมีวินัย - ความรับผิดชอบ - ความซื่อสัตย์สุจริต - มีจิตอาสา - การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน


10 แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4 (2) สอนครั้งที่ 2 หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย บรรทัดเหล็ก เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ บรรทัดเหล็กเป็นเครื่องมือวัดละเอียดที่ใช้สําหรับตรวจวัดขนาดความยาวของชิ้นงานหรือ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของ เครื่องยนต์ที่ไม่ต้องการความละเอียดมากนัก เป็นการตรวจวัดขนาดแบบ คร่าว ๆ เท่านั้น เช่น การตรวจวัดขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางของลูกสูบ การตรวจวัดความยาวของ สลักลูกสูบ เป็นต้น 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายหน้าที่ของบรรทัดเหล็กได้ได้ 2. อธิบายเรื่องการอ่านค่าในระบบอังกฤษและระบบเมตริกได้อย่างเข้าใจ 3. 10151 เลือก เตรียม เครื่องมือได้ถูกต้องกับงาน 3.1 เลือกใช้เครื่องมือวัดได้ถูกต้องตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.01 3.2 เตรียมเครื่องมือวัดได้ตามลำดับการทำงาน รหัส PC 10151.02 3.3 ใช้เครื่องมือวัดได้ถูกต้องตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.03 3.4 จัดเก็บและทำความสะอาดเครื่องมือวัดได้ตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.04 อ้างอิงมาจาก คุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ สาขารถยนต์ทั่วไป อาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ ระดับ 2 รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ ASV-CAR-2-037ZB ใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือพิเศษในงานบริการยานยนต์ 4. ใช้บรรทัดเหล็กวัดค่าต่างๆได้อย่างถูกต้อง 5. รู้จักวิธีบำรุงรักษาบรรทัดเหล็กเป็นอย่างดี 6. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และ รักษาสภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหน้าที่ของบรรทัดเหล็กได้ 2. อธิบายลักษณะของบรรทัดเหล็กได้ 3. บอกหน่วยวัดของบรรทัดเหล็กได้ 4. อ่านค่าบรรทัดเหล็กในระบบอังกฤษและระบบเมตริกได้ 5. อธิบายข้อควรปฏิบัติในการใช้งานบรรทัดเหล็กได้ 6. อธิบายวิธีการบำรุงรักษาบรรทัดเหล็กได้ 7. ใช้บรรทัดเหล็กตรวจวัดชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องยนต์ได้ 8. เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ


11 9. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานที่มอบหมายเสร็จตามเวลาที่กำหนด 10. แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 11. มีความละเอียดรอบคอบในการทำกิจกรรม 12. ใช้เวลาว่างในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 4.สาระการเรียนรู้ 1. หน้าที่ของบรรทัดเหล็ก 2. ลักษณะของบรรทัดเหล็ก 3. ระบบหน่วยวัดของบรรทัดเหล็ก 4. การอ่านค่าบรรทัดเหล็ก 5. ข้อควรปฏิบัติในการใช้งานบรรทัดเหล็ก 6. วิธีการบํารุงรักษาบรรทัดเหล็ก 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความมีเหตุผล -ผู้เรียนบอกหน้าที่ของบรรทัดเหล็กได้ -ผู้เรียนอ่านค่าในระบบอังกฤษและระบบเมตริกได้อย่างเข้าใจ 2. หลักความพอประมาณ -ผู้เรียนเลือกใช้บรรทัดเหล็ก วัดตรวจสอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ได้อย่างเหมาะสม 3. หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน -ผู้เรียนมีภูมิความรู้ในการใช้บรรทัดเหล็ก วัดชิ้นส่วนต่าง ๆเครื่องยนต์ตามคู่มือ 4. เงื่อนไขการจัดการความรู้ความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้หน้าที่ ลักษณะ และระบบหน่วยของบรรทัดเหล็ก การอ่านค่าและวิธีการบํารุงรักษาบรรทัด เหล็ก 5. เงื่อนไขการมีคุณธรรม -ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตอาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 6. นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ 1) เศรษฐกิจ 2)สังคม 3) วัฒนธรรม 4) สิ่งแวดล้อม


12 6.กิจกรรมการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 2 ชั่วโมงที่ 5-8 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความมี วินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนว่าบรรทัดเหล็กในงาน ช่างยนต์มีความสำคัญอย่างไร ขั้นสอน 3. ครูแจกใบความรู้เรื่องบรรทัดเหล็ก 4. ครูอธิบายถึงหน้าที่และการใช้งานตลอดจนการอ่านค่า ของบรรทัดเหล็กในระบบหน่วยอังกฤษ และระบบเมตริก 5. ครูให้นักศึกษาคนหนึ่ง อธิบายถึงหน้าที่และการใช้งาน ตลอดจนการอ่านค่าของบรรทัดเหล็กในระบบหน่วย อังกฤษ และระบบเมตริก และให้นักศึกษาคนอื่นช่วยกัน อธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 6. ครูสรุป การอ่านค่าบรรทัดเหล็กในระบบอังกฤษ และ ระบบเมตริกโดยใช้วัดกับชิ้นงานอย่างถูกวิธีโดยใช้สื่อจาก youtube และของจริง 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูจับฉลาก แบ่งกลุ่มนักศึกษา กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อ ฝึกปฏิบัติตามใบงาน และให้ช่วยกันศึกษาการใช้งาน การทดลองใช้บรรทัดเหล็ก 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักศึกษาปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ 11. ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 2 แล้วให้นักศึกษา ตอบคำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 2 แล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 1. นักศึกษารับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และ ซักถามเพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. นักศึกษายกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3. รับใบความรู้จากครูผู้สอน และศึกษา รายละเอียดต่าง ๆเกี่ยวกับบรรทัดเหล็ก 4. นักศึกษาฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหาเรื่อง บรรทัดเหล็ก 5. นักศึกษาช่วยกันสรุปเรื่องหน้าที่และการใช้งาน ตลอดจนการอ่านค่าของบรรทัดเหล็กในระบบ หน่วยอังกฤษ และระบบเมตริก 6. นักศึกษาฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่องการ อ่านค่าบรรทัดเหล็กในระบบอังกฤษ และระบบ เมตริกโดยใช้วัดกับชิ้นงานอย่างถูกวิธีโดยใช้สื่อ youtube และของจริง 7. ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8. รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ตามที่ครูจับฉลากศึกษาตาม ใบงานที่กำหนด 10. นักศึกษาปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11. นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 2 แล้วร่วมกันเฉลย คำตอบ และตรวจแบบประเมินผลการเรียนที่ 2 พร้อมกันในชั้นเรียน


13 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อโสตทัศน์ 1. youtube 2. power point 1.1 ลักษณะของบรรทัดเหล็ก 1.2 การอ่านค่าบรรทัดเหล็กในระบบอังกฤษและระบบเมตริก หุ่นจำลองหรือของจริง 1. บรรทัดเหล็ก 2. ชิ้นส่วนต่าง ๆ เครื่องยนต์ 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1.สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2.ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3.ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุมตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัด ความสามารถทางวิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุ่มตัวอย่าง 5. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม


14 6.ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1. ขั้นกระบวนการ 1.1 ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 7. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 95-100 ยอดเยี่ยม 10 90-94 ดีมาก 9 85-89 ดี 8 80-84 พอใช้ 7 75-79 ปรับปรุง 6 74 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. ใบงาน เรื่อง บรรทัดเหล็ก 2. ใบความรู้ เรื่อง บรรทัดเหล็ก


15 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ......................................................................................................................................................... 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) ........................................................................................................................................................... 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .......................................................................................................................................................... 11.3 ผลการสอนของครู (ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)................................................................................................................................................ (2)................................................................................................................................................. 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ....................................................................................................................................................... ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ....................................................................................................................................................... 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน(ระบุ) .................................................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)………………………………………….. 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) ........................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................................ 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ............................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................


16 6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ................................................................................................................................................................... ...................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.2 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


17 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ สัปดาห์ที่ 3 ชื่อหน่วย ฉากเหล็ก 90 องศา จำนวน 4 ชม. การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1 2 3 4 ฉากเหล็ก 90 องศา มีเหตุผล พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม 1. อธิบายหน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 2.เลือกใช้ฉากเหล็ก 90 องศาวัดค่าความ เรียบ และการตั้งฉากได้อย่างถูกต้อง 3.อธิบายวิธีการบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศาได้ 4. มีภูมิความรู้ในการใช้ เหล็กฉาก วัดชิ้นส่วนต่าง ๆ เครื่องยนต์ตามคู่มือ - หน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศา - ส่วนประกอบฉากเหล็ก 90 องศา - วิธีการใช้งานและบํารุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา - ความมีวินัย - ความรับผิดชอบ - ความซื่อสัตย์สุจริต - มีจิตอาสา - การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน


18 แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4 (2) สอนครั้งที่ 3 หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย ฉากเหล็ก 90 องศา เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ ฉากเหล็ก 90 องศา เป็นเครื่องมือวัดละเอียดที่ใช้สําหรับตรวจสอบมุมฉากทั้งภายในและ ภายนอกของ ชิ้นงานว่าได้ฉากหรือไม่ตรวจสอบความเรียบของพื้นผิวของชิ้นงานตลอดจนใช้สำหรับ ตรวจสอบแนวของชิ้นงานหรือ ชิ้นส่วนว่าได้ฉากหรือไม่ เช่น ใช้สําหรับตรวจสอบ ความเอียงของ สปริงลิ้นของเครื่องยนต์ เป็นต้น 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายหน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 2. ใช้ฉากเหล็ก 90 องศาวัดค่าความเรียบ และการตั้งฉากได้อย่างถูกต้อง 3. รู้จักวิธีบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศาเป็นอย่างดี 4. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และ รักษาสภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 2. บอกส่วนประกอบของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 3. อธิบายวิธีการใช้งานฉากเหล็ก 90 องศาได้ 4. อธิบายวิธีการบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศาได้ 5. ใช้ฉากเหล็ก 90 องศา ตรวจวัดความเอียงของสปริงลิ้นของเครื่องยนต์ได้ 6. เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ 7. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานที่มอบหมายเสร็จตามเวลาที่กำหนด 8. แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 9. มีความละเอียดรอบคอบในการทำกิจกรรม 4.สาระการเรียนรู้ 1. หน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศา 2. ส่วนประกอบฉากเหล็ก 90 องศา 3. วิธีการใช้งานและบํารุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหน้าที่ของฉากเหล็ก 90 องศาได้ 2. หลักความพอประมาณ -ผู้เรียนเลือกใช้ฉากเหล็ก 90 องศาวัดค่าความเรียบ และการตั้งฉากได้อย่างถูกต้อง -ผู้เรียนอธิบายวิธีการบำรุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศาได้


19 3. หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน -ผู้เรียนมีภูมิความรู้ในการใช้เหล็กฉาก วัดชิ้นส่วนต่างๆเครื่องยนต์ตามคู่มือ 4. เงื่อนไขการจัดการความรู้ความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้หน้าที่ ส่วนประกอบฉากเหล็ก 90 องศา วิธีการใช้งานและบํารุงรักษาฉากเหล็ก 90 องศา 5. เงื่อนไขการมีคุณธรรม -ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตอาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 6. นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ 1) เศรษฐกิจ 2)สังคม 3) วัฒนธรรม 4) สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 3 ชั่วโมงที่ 9-12 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความมี วินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนว่าฉากเหล็ก 90 องศา ในงานช่างยนต์มีความสำคัญอย่างไร ขั้นสอน 3. ครูแจกใบความรู้เรื่องฉากเหล็ก 90 องศา 4. ครูอธิบายถึงหน้าที่และการใช้งานตลอดจนการอ่านค่า ของฉากเหล็ก 90 องศา 5. ครูให้นักศึกษาคนหนึ่ง อธิบายถึงหน้าที่และการใช้งาน ตลอดจนการอ่านค่าของฉากเหล็ก 90 องศาและให้ นักศึกษาคนอื่นช่วยกันอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 6. ครูสรุป การอ่านค่าฉากเหล็ก 90 องศาโดยใช้วัดกับ ชิ้นงานอย่างถูกวิธีโดยใช้สื่อแผ่นใส และของจริง 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน 1. นักศึกษารับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และ ซักถามเพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. นักศึกษายกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3. รับใบความรู้จากครูผู้สอน และศึกษา รายละเอียดต่าง ๆเกี่ยวกับฉากเหล็ก 90 องศา 4. นักศึกษาฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหาเรื่อง ฉากเหล็ก 90 องศา 5. นักศึกษาช่วยกันสรุปเรื่องหน้าที่และการใช้งาน ตลอดจนการอ่านค่าฉากเหล็ก 90 องศา 6. นักศึกษาฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่องการ อ่านค่าฉากเหล็ก 90 องศาโดยใช้วัดกับชิ้นงาน อย่างถูกวิธีโดยใช้สื่อแผ่นใส และของจริง 7. ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8. รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน


20 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูจับฉลาก แบ่งกลุ่มนักศึกษา กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อฝึก ปฏิบัติตามใบงาน และให้ช่วยกันศึกษาการใช้งาน การ ทดลองใช้ฉากเหล็ก 90 องศา 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักศึกษาปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ 11. ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3 แล้วให้นักศึกษา ตอบคำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3 แล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ตามที่ครูจับฉลากศึกษา ตามใบงานที่กำหนด 10. นักศึกษาปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11. นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3 แล้วร่วมกันเฉลย คำตอบ และตรวจแบบประเมินผลการเรียน ที่ 3 พร้อมกันในชั้นเรียน 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อโสตทัศน์ 1. แผ่นภาพ ลักษณะของฉากเหล็ก 90 องศา 2. power point 1.1 ลักษณะของฉากเหล็ก 90 องศา 1.2 การอ่านค่าใช้งานฉากเหล็ก 90 องศาวัดค่าต่างๆ หุ่นจำลองหรือของจริง 1. ฉากเหล็ก 90 องศา 2. ชิ้นส่วนต่าง ๆ เครื่องยนต์ 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1.สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2.ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3.ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุ่มตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัด ความสามารถทางวิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4.ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ ความ เข้าใจในบทเรียนทำโดยสุ่มตัวอย่าง


21 5. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม 6.ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1. ขั้นกระบวนการ 1.1 ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 7. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 95-100 ยอดเยี่ยม 10 90-94 ดีมาก 9 85-89 ดี 8 80-84 พอใช้ 7 75-79 ปรับปรุง 6 74 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. ใบงาน เรื่อง ฉากเหล็ก 90 องศา 2. ใบความรู้ เรื่อง ฉากเหล็ก 90 องศา


22 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ......................................................................................................................................................... 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) ........................................................................................................................................................... 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .......................................................................................................................................................... 11.3 ผลการสอนของครู (ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)................................................................................................................................................ (2)................................................................................................................................................. 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ....................................................................................................................................................... ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ....................................................................................................................................................... 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน(ระบุ) .................................................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)………………………………………….. 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) ........................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................................ 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ............................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................


23 6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.2 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


25 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ สัปดาห์ที่ 4-6 ชื่อหน่วย เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ จำนวน 12 ชม. การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2 3 4 5 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ มีเหตุผล พอประมาณ ภูมิคุ้มกนั ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม 1. อธิบายถึงลักษณะ รูปร่าง และส่วนประกอบต่าง ๆ ของ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 2. รู้วิธีการอ่านค่า และใช้เวอร์ เนียร์คาลิปเปอร์ทุกระบบได้ อย่างถูกต้อง 3.เลือกใช้ได้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดชิ้นส่วน เครื่องยนต์อย่างถูกต้อง 4.รู้จักวิธีบำรุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นอย่างดี 5. มีภูมิความรู้ในการใช้ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดชิ้นส่วน ต่าง ๆเครื่องยนต์ตามคู่มือ - หน้าที่ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ - ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ - ระบบหน่วยวัดของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ - วิธีการอ่านเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ - ความมีวินัย - ความรับผิดชอบ - ความซื่อสัตย์สุจริต - มีจิตอาสา - การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน


26 แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20101-2009 วิชา งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4 (2 สอนครั้งที่ 4-6 หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เวลา 12 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์เป็นเครื่องมือวัดละเอียดชนิดหนึ่งที่มีความคล่องตัว ในการใช้งาน ทั้งนี้ เพราะเวอร์เนียร์ คาลิปเปอร์สามารถตรวจวัดชิ้นงานได้ 3 ลักษณะ คือ ใช้สําหรับตรวจวัดขนาด ภายนอก วัดขนาดภายใน และวัดความ ลึกของชิ้นงานหรือชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ได้ เช่น การวัดขนาดความยาวของสปริงลิ้น การวัดระยะยื่นของ ปลอกนําลิ้น และอื่น ๆ ซึ่งรวมอยู่ด้วยกัน ในเครื่องมือชิ้นเดียว 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายถึงลักษณะ รูปร่าง และส่วนประกอบต่าง ๆ ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 2. 10151 เลือก เตรียม เครื่องมือได้ถูกต้องกับงาน 2.1 เลือกใช้เครื่องมือวัดได้ถูกต้องตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.01 2.2 เตรียมเครื่องมือวัดได้ตามลำดับการทำงาน รหัส PC 10151.02 2.3 ใช้เครื่องมือวัดได้ถูกต้องตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.03 2.4 จัดเก็บและทำความสะอาดเครื่องมือวัดได้ตามข้อกำหนด รหัส PC 10151.04 อ้างอิงมาจาก คุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพบริการยานยนต์ สาขารถยนต์ทั่วไป อาชีพช่างซ่อมเครื่องยนต์ ระดับ 2 รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ ASV-CAR-2-037ZB ใช้เครื่องมือวัดและเครื่องมือพิเศษในงานบริการยานยนต์ 3. รู้วิธีการอ่านค่า และใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ทุกระบบได้อย่างถูกต้อง 4. รู้จักวิธีบำรุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์เป็นอย่างดี 5. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหน้าที่ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 2. บอกส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 3. บอกหน่วยวัดของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 4. อ่านค่าการวัดจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 5. อธิบายข้อควรระวังในการใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 6. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ 7. ใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดขนาดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ได้ 8. มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานที่มอบหมายเสร็จตามเวลาที่กำหนด 9. แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 10. มีความละเอียดรอบคอบในการทำกิจกรรม


27 4.สาระการเรียนรู้ 1. หน้าที่ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 2. ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 3. ระบบหน่วยวัดของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 4. วิธีการอ่านเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 5. ข้อควรระวังในการใช้งานเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 6. วิธีการบํารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายถึงลักษณะ รูปร่าง และส่วนประกอบต่าง ๆ ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ได้ -รู้วิธีการอ่านค่า และใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ทุกระบบได้อย่างถูกต้อง 2. หลักความพอประมาณ -ผู้เรียนเลือกใช้ได้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดชิ้นส่วนเครื่องยนต์อย่างถูกต้อง -ผู้เรียนรู้จักวิธีบำรุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์เป็นอย่างดี 3. หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน -ผู้เรียนมีภูมิความรู้ในการใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดชิ้นส่วนต่าง ๆเครื่องยนต์ตามคู่มือ 4. เงื่อนไขการจัดการความรู้ความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้หน้าที่ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ส่วนประกอบ ระบบหน่วยวัด และวิธีการอ่านเวอร์เนียร์คา ลิปเปอร์ 5. เงื่อนไขการมีคุณธรรม -ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตอาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 6. นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ 1) เศรษฐกิจ 2)สังคม 3) วัฒนธรรม 4) สิ่งแวดล้อม


28 6.กิจกรรมการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 4 ชั่วโมงที่ 13-16 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และ ได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนว่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ สามารถอ่านค่า ได้กี่ค่า ขั้นสอน 3. ครูแจกใบความรู้เรื่องงานการอ่านค่าเวอร์เนียร์ระบบ เมตริก 4. ครูอธิบายถึงความหมาย ความสำคัญของการอ่านค่าเวอร์ เนียร์ระบบเมตริก 5. ครูให้นักศึกษาคนหนึ่ง อธิบายถึงการอ่านค่าเวอร์เนียร์ ระบบเมตริกให้นักศึกษาคนอื่นช่วยกันอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 6. ครูสรุป ความหมายและความสำคัญของการอ่านค่าเวอร์ เนียร์ระบบเมตริกอย่างถูกวิธี โดยใช้สื่อแผ่นใสเรื่องการ อ่านค่าเวอร์เนียร์ระบบเมตริกและของจริง 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูแบ่งกลุ่มนักศึกษา กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อฝึกปฏิบัติ ตามใบงาน และให้ช่วยกันอ่านค่าเวอร์เนียร์ระบบเมตริก 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักศึกษาปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ 11. ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.1 แล้วให้นักศึกษา ตอบคำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.1 แล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 1.นักศึกษารับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และซักถาม เพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรมคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัยโดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2.นักศึกษายกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3.รับใบความรู้จากครูผู้สอน และศึกษารายละเอียด ต่าง ๆ 4.นักศึกษาฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหาเรื่อง การอ่านค่าเวอร์เนียร์ระบบเมตริก 5.นักศึกษาช่วยกันสรุปเรื่อง การอ่านค่าเวอร์เนียร์ ระบบเมตริก 6.นักศึกษาฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่องการอ่านค่า เวอร์เนียร์ระบบเมตริก 7.ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8.รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ตามที่ครูจับฉลากศึกษาตาม ใบงานที่กำหนด 10.นักศึกษาปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11.นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.1 แล้วร่วมกันเฉลย คำตอบ และตรวจแบบประเมินผลการเรียนที่ 4.1 พร้อมกันในชั้นเรียน


29 สอนครั้งที่ 5 ชั่วโมงที่ 17-20 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความ มีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนว่า เครื่องมือวัด ละเอียดที่อ่านค่าได้ในตัวเอง มีอะไรบ้าง และมี หลักการทำงานอย่างไร ขั้นสอน 3. ครูแจกใบความรู้เรื่องรูปร่างลักษณะ ส่วนประกอบ ของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และการอ่านค่าระบบอังกฤษ 4. ครูอธิบายถึง รูปร่างลักษณส่วนประกอบของเวอร์ เนียร์คาลิปเปอร์ และการอ่านค่าระบบอังกฤษ 5. ครูให้นักศึกษาคนหนึ่ง อธิบายถึงรูปร่างลักษณะ ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ การอ่านค่า ระบบอังกฤษและให้นักศึกษาคนอื่นช่วยกันอธิบาย เพิ่มเติม ช่วยกันสรุป 6. ครูสรุป ความหมายและความสำคัญของรูปร่าง ลักษณะและส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ โดยใช้สื่อแผ่นใสเรื่องรูปร่างลักษณะส่วนประกอบของ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ และการอ่านค่า 1. นักศึกษารับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และ ซักถามเพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. นักศึกษายกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3. รับใบความรู้จากครูผู้สอน และศึกษา รายละเอียดต่าง ๆ 4. นักศึกษาฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหา เรื่อ งค ว าม ส ำคั ญ ข อ งรูป ร่างลั ก ษ ณ ะ ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ และ การค่าระบบอังกฤษ 5. นักศึกษาช่วยกันสรุปเรื่อง รูปร่างลักษณะ ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ และ การอ่านค่าระบบอังกฤษ 6. นักศึกษาฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่องรูปร่าง ลักษณะส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิป เปอร์ และการอ่านค่าระบบอังกฤษ


30 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูแบ่งกลุ่มนักศึกษา กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อฝึกปฏิบัติ ตามใบงานเรื่องรูปร่างลักษณะ ส่วนประกอบของเวอร์ เนียร์ และการอ่านค่าระบบอังกฤษ 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักศึกษาปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ 11. ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.2 แล้วให้ นักศึกษา ตอบคำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.2 แล้วร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8. รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษาตามใบงานที่ กำหนด 10. นักศึกษาปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11. นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.2 แล้วร่วมกัน เฉลยคำตอบ และตรวจแบบประเมินผล การเรียนที่ 4.2 พร้อมกันในชั้นเรียน


31 สอนครั้งที่ 6 ชั่วโมงที่ 21-24 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นเตรียมหรือขั้นนำ 1. ครูชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติจน เกี่ยวกับการเรียนการสอน การวัดผล ประเมินผล และได้อบรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือเรื่องความ มีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. ครูถามนักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนว่าเวอร์เนียร์คาลิป เปอร์มีกี่ชนิด ขั้นสอน 3. ครูแจกใบความรู้เรื่องเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ 4. ครูอธิบายถึงความหมาย ความสำคัญของเวอร์เนียร์คา ลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ 5. ครูให้นักศึกษาคนหนึ่ง อธิบายถึงความหมาย ความสำคัญของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ ให้ นักศึกษาคนอื่นช่วยกันอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกัน สรุป 6. ครูสรุป ความหมายและความสำคัญของเวอร์เนียร์คา ลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ อย่างถูกวิธีโดยใช้สื่อแผ่นใสเรื่อง งานบริการเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ 7. ครูแจกใบงานการปฏิบัติงาน 8. ครูสาธิตการปฏิบัติงานตามใบงาน 1. นักศึกษารับฟังคำชี้แจงจากครูผู้สอน และ ซักถามเพื่อความเข้าใจ และรับฟังการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา 2. นักศึกษายกมือขึ้น เมื่อครูอนุญาต จึงตอบ คำถาม 3. รับใบความรู้จากครูผู้สอน และศึกษา รายละเอียดต่าง ๆ 4. นักศึกษาฟังครูอธิบายและจดบันทึกเนื้อหา เรื่องความสำคัญของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ชนิดต่าง ๆ 5. นักศึกษาช่วยกันสรุปเรื่อง ความสำคัญของ งานบริการระบบรองรับน้ำหนัก 6. นักศึกษาฟังครูสรุป แล้วจดบันทึกเรื่อง ความสำคัญของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ 7. ศึกษาใบงาน การปฏิบัติ 8. รับฟัง และซักถาม การสาธิตจากครูผู้สอน


32 กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน ขั้นสรุปและวัดผล 9. ครูแบ่งกลุ่มนักศึกษา กลุ่มละ 3 - 4 คนเพื่อฝึกปฏิบัติ ตามใบงาน และให้ช่วยกันศึกษาวิธีการใช้เวอร์เนียร์คา ลิปเปอร์ชนิดต่าง ๆ 10. ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทุกคน และ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่านักศึกษาปฏิบัติถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนหรือไม่ 11. ครูแจกแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.3 แล้วให้ นักศึกษา ตอบคำถามลงในแบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.3 แล้วร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษาตามใบงานที่ กำหนด 10. นักศึกษาปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนที่ใบงาน กำหนด 11. นักศึกษาตอบแบบสอบถาม ลงในแบบ ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 4.3 แล้วร่วมกัน เฉลยคำตอบ และตรวจแบบประเมินผล การเรียนที่ 4.3 พร้อมกันในชั้นเรียน


Click to View FlipBook Version