The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชางานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล (20101 – 9006)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-06-15 23:25:20

วิชางานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล

รายวิชางานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล (20101 – 9006)

วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ วิชางานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล รหัสวิชา 20101 – 9006 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ น า ย ส า ธิ ต เ ส ว ก จั น ท ร์ ค รู ช า น า ญ ก า ร


แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ฉบับพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ) วิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล รหัสวิชา 20101 - 9006 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ จัดทำโดย นายสาธิต เสวกจันทร์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 20101-9005 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 คาบ/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายภาพประกอบภาพแยกชิ้นภาพตัด ชิ้นส่วนของระบบ เครื่องกล 2. เขียนแบบและอ่านแบบชิ้นส่วนของระบบเครื่องกล 3. มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานรับผิดขอบประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนแบบเครื่องกล 2. เขียนและอ่านแบบภาพประกอบตามมาตรฐานการเขียนแบบเครื่องกล 3. เขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นภาพตัดตามมาตรฐานการเขียนแบบเครื่องกล คำอธิบายรายวิชา(เดิม) ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพฉาย ภาพประกอบ ภาพแยกชิ้น ภาพตัดชิ้นส่วน ของระบบเครื่องกลจากแบบและจากของจริง คำอธิบายรายวิชา(ใหม่) ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิค วิธีการเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพฉาย ภาพตัด ระบุความละเอียดผิวงาน เกณฑ์ ความคลาดเคลื่อน ภาพประกอบชิ้นงาน ภาพแยกชิ้นงาน และปฏิบัติงาน เขียน-อ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน เขียน-อ่านแบบชิ้นงานภาพตัด เขียน-อ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความละเอียดผิว เขียน-อ่านแบบตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน เขียน-อ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน และเขียน-อ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน ของระบบเครื่องกลจาก แบบและจากของจริง


รายการสอน รหัสวิชา 20101-9005 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 คาบ/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง ที่ รายการสอน เวลาเรียน ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน 5 15 20 2 การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานภาพตัด 3 9 12 3 การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2 6 8 4 การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2 6 8 5 การเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน 3 9 12 6 การเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 3 9 12 รวม 18 54 72


ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา รหัสวิชา 20101-9005 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 คาบ/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา 1 การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน 1.แสดงความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพฉาย ภาพตัด ระบุความละเอียดผิวงาน เกณฑ์ ความคลาดเคลื่อน ภาพประกอบชิ้นงาน ภาพแยก ชิ้นงาน 2.เขียน-อ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน ได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ 3.เขียน-อ่านแบบภาพตัดชิ้นงาน ได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ 4.เขียน-อ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียด ของผิวงาน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 5.เขียน-อ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 6.เขียน-อ่านแบบภาพประกอบชิ้นงานได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ 7.เขียน-อ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน ได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ 8.น้อมนำหลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียงในการ ปฏิบัติงาน 9.มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 10.แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความ ซื่อสัตย์ต่อการเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล 2 การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานภาพตัด 3 การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความ หยาบละเอียดของผิวงาน 4 การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน 5 การเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบ ชิ้นงาน 6 การเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน


ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 20101-9005 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต พุทธพิสัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า รวม ทักษะพิสัย จิตพิสัย ลำดับความสำคัญ จำนวนคาบ 1.การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน 1.1 ชิ้นงานทรงเหลี่ยม 1.2 ชิ้นงานด้วยเส้นสาย 1.3 ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด 1.4 ชิ้นงานทรงกระบอก 1.5 ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 1 1 1 1 1 5 10 5 1 20 2.การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน 2.1 ภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง 2.2 ภาพตัดพิเศษ 2,3 ภาพตัดหน้าแปลน 1 1 1 3 10 3 2 12 3.การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุ ความหยาบละเอียดของผิวงาน 1 2 3 10 3 5 8 4.การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน 1 2 3 10 3 6 8 5.การเขียนและอ่านแบบภาพประกอบ ชิ้นงาน 5.1ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน 5.2ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู 5.3ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 1 1 1 3 10 3 3 12 6.การเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 1 2 3 10 3 4 12 รวม 1 8 11 20 60 20 72 ลำดับความสำคัญ 3 2 1 พฤติกรรม ชื่อหน่วย


กำหนดการสอน หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 1.การเขียนและอ่านแบบภาพฉาย ชิ้นงาน 1.1 ชิ้นงานทรงเหลี่ยม 1.2 ชิ้นงานด้วยเส้นสาย 1.3 ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด 1.4 ชิ้นงานทรงกระบอก 1.5 ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 1-5 20 2 2.การเขียนและอ่านแบบภาพฉาย ชิ้นงาน 2.1 ภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง 2.2 ภาพตัดพิเศษ 2,3 ภาพตัดหน้าแปลน 6-8 12 3 3.การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุ ความหยาบละเอียดของผิวงาน 9-10 8 4 4.การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ ความคลาดเคลื่อน 11-12 8 5 5.การเขียนและอ่านแบบภาพประกอบ ชิ้นงาน 5.1ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน 5.2ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู 5.3ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 13-15 12 6 6.การเขียนและอ่านแบบภาพแยก ชิ้นงาน 16-17 12


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนและอ่านแบบภาพฉาย ชิ้นงาน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ --ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วย เส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ และอ่านแบบ --ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบ และอ่านแบบภาพชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรง กระบอก กลวง ได้ --ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ และมีน้ำใจในการปฎิบัติงาน มีเหตุผล --ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบ และอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรง เหลี่ยมชิ้นงานด้วยเส้นสายชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 1 สอนครั้งที่ 1-5 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน ชั่วโมงรวม 20 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 2. การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 3. การเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงาน ด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงาน ทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง


4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง - แบบฝึกหัดอ่านแบบ 3. การเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง - แบบฝึกหัดเขียนแบบ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงตามใบงาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยมชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรง เหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยมชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามแผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 5. เงื่อนไขคุณธรรม


-ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบภาพฉายทรงเหลี่ยม 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วย เส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง และให้คนอื่นช่วยอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยม ตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง โดยใช้ใบความรู้เรื่องหลักการเขียนและอ่านแบบ ฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยมชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยม ตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 6. สรุปเรื่องการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง โดยใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรง เหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงาน ทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม


-การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม -การเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีแล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยมชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรง เหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม 9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง


10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรง เหลี่ยมตัด ชิ้นงานทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


11. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ............................................................................................................................................. 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) .............................................................................................................. ................................. 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .................................................................................................................................................. 11.3 ผลการสอนของครู(ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)....................................................................................................................................... (2)....................................................................................................................................... 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................ 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน (ระบุ)............................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)…………………………………… 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) .................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................... 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ........................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) .............................................................................................................................................................


6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายวีรพล ขวัญเมือง) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.1 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพ ตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่าน แบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและ ตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้า แปลน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงาน เขียนแบบและอ่านแบบ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียน แบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงาน ภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัด พิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน ได้ -=ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความบผิด ชอบ และมีน้ำใจในการปฏิบัติงาน มีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียน แบบและอ่านแบบภาพฉาย ชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้า แปลน ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 2 สอนครั้งที่ 6-8 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานภาพตัด ชั่วโมงรวม 12 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 2. การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 3. การเขียนแบบภาพฉายชิ้นภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัด พิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนได้ถูกต้องตามมาตรฐาน งานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง 4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 1.หลักการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน - แบบฝึกหัดอ่านแบบ


3. การเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวง - แบบฝึกหัดเขียนแบบ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนตามใบงาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้า แปลนวง ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้า แปลนได้ถูกต้องตามแผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 5.เงื่อนไขคุณธรรม -ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดต็ม และตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา


ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัด พิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัด ครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนและให้คนอื่นช่วยอธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุป 3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน โดยใช้ใบความรู้เรื่องหลักการเขียนและอ่านแบบ 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน 6. สรุปเรื่องการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน โดย ใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ชิ้นงานด้วยเส้นสาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยมตัด ชิ้นงาน ทรงกระบอก ชิ้นงานทรงกระบอกกลวงโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็ม และ ตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน -การอ่านแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน -การเขียนแบบภาพภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลน 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีแล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน


7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม 9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง


10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนได้ถูกต้อง ตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัดหน้าแปลนได้ถูกต้อง ตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้นงานภาพตัดเต็มและตัดครึ่ง ภาพตัดพิเศษ ภาพตัด หน้าแปลน 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


11. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ............................................................................................................................................. 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) .............................................................................................................. ................................. 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .................................................................................................................................................. 11.3 ผลการสอนของครู(ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)....................................................................................................................................... (2)....................................................................................................................................... 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................ 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน (ระบุ)............................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)…………………………………… 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) .................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................... 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ........................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) .............................................................................................................................................................


6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายวีรพล ขวัญเมือง) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.1 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนและอ่านแบบภาพชิ้นงานที่ ระบุความหยาบละเอียดของผิว งาน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่าน แบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบ ละเอียดของผิวงาน ได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบและอ่าน แบบ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียน แบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุ ความหยาบละเอียดของผิวงาน ได้ -ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ และมีน้ำใจในการปฏิบัติงาน มีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียน แบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ ระบุความหยาบละเอียดของ ผิวงาน ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 3 สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิว งาน ชั่วโมงรวม 8 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2. การอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 3. การเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของ ผิวงาน 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง 4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 1. หลักการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบ - แบบฝึกหัดอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 3. การเขียนแบบ - แบบฝึกหัดเขียนแบบ


5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงานได้ถูกต้อง ตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน ตามใบ งาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน ได้ถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน ได้ถูกต้องตาม แผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 5. เงื่อนไขคุณธรรม -ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบ ละเอียดของผิวงาน ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิว งานและให้คนอื่นช่วยอธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุป


3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน โดยใช้ใบความรู้เรื่อง หลักการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 6. สรุปเรื่องการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน โดยใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบ ชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงานโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียน แบบภาพฉายชิ้นงานทรงเหลี่ยม ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน -การอ่านแบบภาพชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน -การเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีแล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน


หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม 9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง 10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน งได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบชิ้นงานที่ระบุความหยาบละเอียดของผิวงาน 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


11. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ............................................................................................................................................. 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) .............................................................................................................. ................................. 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .................................................................................................................................................. 11.3 ผลการสอนของครู(ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)....................................................................................................................................... (2)....................................................................................................................................... 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................ 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน (ระบุ)............................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)…………………………………… 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) .................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................... 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ........................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) .............................................................................................................................................................


6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายวีรพล ขวัญเมือง) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.1 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ ความคลาดเคลื่อน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่าน แบบ ตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียน แบบและอ่านแบบ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบ และอ่านแบบตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน ได้ -ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ และมีน ้าใจในการปฎิบัติงาน มีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียน แบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ ความคลาดเคลื่อน ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 4 สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนแบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน ชั่วโมงรวม 8 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2. การอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 3. การเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง 4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 1. หลักการเขียนและอ่านแบบ - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน - แบบฝึกหัดอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 3. การเขียนแบบ - แบบฝึกหัดเขียนแบบ


5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามมาตรฐาน งานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนตามใบงาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียน แบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามแผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 5. เงื่อนไขคุณธรรม -ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบ ตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบร ม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนและให้คน อื่นช่วยอธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุป 3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน โดยใช้ใบความรู้เรื่องหลักการเขียนและ อ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน


6. สรุปเรื่องการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบตามเกณฑ์ความ คลาดเคลื่อน 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียนแบบภาพฉาย ชิ้นงานทรงเหลี่ยม ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน -การอ่านแบบภาพตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน -การเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีแล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม


9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง 10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


11. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ............................................................................................................................................. 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) .............................................................................................................. ................................. 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .................................................................................................................................................. 11.3 ผลการสอนของครู(ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)....................................................................................................................................... (2)....................................................................................................................................... 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................ 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน (ระบุ)............................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)…………………………………… 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) .................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................... 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ........................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) .............................................................................................................................................................


6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายวีรพล ขวัญเมือง) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.1 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพประกอบชิ้นงาน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบ ภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็ก กดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบและอ่านแบบ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและ อ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาภาพประกอบ เหล็กกดชิ้นงานภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ -ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ และมีน้ำใจในการปฎิบัติงาน มีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบ และอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 5 สอนครั้งที่ 13-15 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ชั่วโมงรวม 12 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงาน ด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2. การอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงานภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 3. การเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบ เหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรภาพ ประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรูภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง


4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 1. หลักการเขียนและอ่านแบบ - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน - แบบฝึกหัดอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 3. การเขียนแบบ - แบบฝึกหัดเขียนแบบ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มตามใบงาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม ได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามแผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกด ชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 5. เงื่อนไขคุณธรรม -ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน


6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบ เหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มและให้คนอื่นช่วยอธิบายเพิ่มเติม และช่วยกันสรุป 3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม โดยใช้ใบความรู้เรื่องหลักการเขียนและอ่านแบบภาพประกอบ ชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงาน ด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 6. สรุปเรื่องการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงาน ด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วย สกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียนแบบภาพภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบ เหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม


-การอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม -การเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีและ ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงานภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม 9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง


10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงาน ภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่ม 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


11. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) 11.1 ผลการใช้แผนการเรียนรู้(การวัดการกระจายของข้อมูล) จัดการเรียนรู้(ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ ) ได้ตามแผนการเรียนรู้ ไม่ได้ตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล)……………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนของผู้เรียน (บรรยายผลการเรียนในแต่ละด้านตามสภาพจริง) 1) ด้านความรู้ (ประเมินจากแบบฝึกหัด/แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) ............................................................................................................................................. 2) ด้านทักษะ (ประเมินผลงานจากใบงาน/ใบกิจกรรม/ชิ้นงาน ฯลฯ) .............................................................................................................. ................................. 3) ด้านจิตพิสัย (ประเมินจากแบบสังเกตและการตรวจผลงาน) .................................................................................................................................................. 11.3 ผลการสอนของครู(ข้อ 2 - 6) ระบุด้วยการทำเครื่องหมาย / ในช่อง ที่ได้ปฏิบัติ) 1) ใช้เทคนิควิธีการสอนที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ จำนวน........วิธี ได้แก่ (ระบุเทคนิควิธีการสอนแต่ละวิธี) (1)....................................................................................................................................... (2)....................................................................................................................................... 2) มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ไม่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ระบุเหตุผล) ............................................................................................................................................ 3) มีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกหน่วย/บท ที่จัดการเรียนการสอน (ระบุ)............................................................................................................................................. ไม่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ระบุเหตุผล)…………………………………… 4) มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน ได้แก่ (ระบุสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่มี/ทีใช้/ที่ผลิต/ที่จัดหา) .................................................................................................................................................... ไม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการสอน (ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................... 5) วัดผลและประเมินผลตามแผนการเรียนรู้(ระบุวิธีการวัดและประเมินผล/จำนวนครั้ง) ........................................................................................................................................................... วัดผลและประเมินผลไม่เป็นไปตามแผนการเรียนรู้(ระบุเหตุผล) .............................................................................................................................................................


6) ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในการวัดผลและประเมินผล(ระบุเหตุผล) ................................................................................................................................................................. 11.4 ปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครูผู้สอน ……../………………………../………… ความเห็นหัวหน้าแผนกวิชา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... (นายวีรพล ขวัญเมือง) ความเห็นรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ครู คศ.1 ทำหน้าที่ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ ผลการพิจารณา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................... ( นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน


แผนผังความคิด “การเขียนและอ่านแบบภาพฉายชิ้น” โดยบูรณาการหลักปรัชญาพอเพียง สังคม เศรษกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 1,2 3,4 - คุณธรรม การเขียนแบบและอ่านแบบภาพ แยกชิ้นงาน ภูมิคุมกัน ความรู้+ทักษะ พอประมาณ -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะ อนามัยและความปลอดภัย -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่าน แบบ ภาพแยกชิ้นงานถูกต้องตาม มาตรฐานงานเขียนแบบและอ่าน แบบ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบ และอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานได้ -ผู้เรียนมีมนุษย์สัมพันธ์ ความ รับผิดชอบและมีน้ำใจในการ ปฎิบัติงาน มีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียน แบบและอ่านแบบภาพแยก ชิ้นงาน ได้


แผนการสอน หน่วยที่ 6 สอนครั้งที่ 16-17 ชื่อวิชา งานเขียนแบบและอ่านแบบเครื่องกล จำนวน 4 ชม. ชื่อหน่วย การเขียนแบบและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน ชั่วโมงรวม 12 ชม. 1. สาระสำคัญ 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 2. การอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 3. การเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย การเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความเข้าใจหลักการเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 2.เพื่อให้มีความตระหนักในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความ ปลอดภัย มีจิตอาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2.อ่านแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3.มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ มีความปลอดภัย มีจิตอาสา และไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.มีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมโดย ยึดหลักปรัชญาเศรฐกิจพอเพียง 4. สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 1. หลักการเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน - ลักษณะภาพฉายจากภาพ 3 มิติ - การเขียนแบบภาพฉายจากภาพ 3 มิติ 2. การอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน - แบบฝึกหัดอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 3. การเขียนแบบ - แบบฝึกหัดเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน


5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความมีเหตุผล -ผู้เรียนอธิบายหลักการเขียนแบบและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนวางแผนงานในการเขียนแบบและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานตามใบงาน 2. ความพอประมาณ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ -ผู้เรียนสามารถเขียนแบบและอ่านแบบภาพประกอบชิ้นงาน ภาพประกอบเหล็กกดชิ้นงานภาพประกอบ ชิ้นงานด้วยสกรู ภาพประกอบชิ้นงานด้วยลิ่มได้ถูกต้องตามแผนงานที่วางไว้ 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี -ผู้เรียนปฏิบัติงานอาชีวะอนามัยและความปลอดภัย 4. เงื่อนไขความรู้ -ผู้เรียนมีความรู้ในหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 5. เงื่อนไขคุณธรรม -ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบและความกตัญญูกตเวทีในการปฏิบัติงาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมสื่อ ใบงาน และใบความรู้เรื่องการเขียนแบบและการอ่านภาพแยกชิ้นงาน ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.นำเข้าสู่บทเรียนโดยชักจูงโน้มน้าวจิตใจผู้เรียนให้เห็นเป้าหมายในการเรียน 2.ชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติตน เกี่ยวกับการเรียนการสอนการประเมินผลการเรียน และการอบรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ เรื่องความมีวินัย โดยเฉพาะการแต่งกาย และการตรงต่อเวลา ชั้นสอน/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฎิบัติ 1. อธิบายเรื่องหลักการเขียนและการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 2. ให้ผู้เรียนคนหนึ่งอธิบายหลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานและให้คนอื่นช่วย อธิบายเพิ่มเติมและช่วยกันสรุป 3. สรุปหลักการเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน โดยใช้ใบความรู้เรื่องหลักการเขียนและอ่านแบบ ตามเกณฑ์ความคลาดเคลื่อน 4. อธิบายเรื่อง การอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 5. ให้ผู้เรียนช่วยอธิบายการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 6. สรุปเรื่องการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานใช้ใบความรู้เรื่องการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 7. อธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน 8. ให้ผู้เรียนช่วยกันอธิบายเรื่องการเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน 9. สรุปเรื่องการเขียนแบบภาพแยกชิ้นงานโดยใช้ใบความรู้เรื่องการเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน


ขั้นสรุป 1. จับฉลากแบ่งกลุ่มผู้เรียนแล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมสมองในหัวข้อต่างๆดังนี้ -หลักการเขียนแบบและการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน -การอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน -การเขียนแบบภาพแยกชิ้นงาน 2. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนสรุปหน้าชั้นเรียน 3. แจกใบประเมินผล แล้วให้ผู้เรียนตอบคำถามลงในแบบประเมินผลโดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีแล้ว ร่วมกันเฉลยคำตอบในชั้นเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ 1. วารสารหรือหนังสือพิมพ์ 2. ใบงานและใบประเมินผล 3. หนังสืองานเขียนแบบและอ่านแบบและอ่านแบบเครื่องกล โดย วีรปรัชญ์ เจริญศรี 4. Google Classroom -รหัสของช้นัเรียน yu72tjz 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน หลักฐานการปฏิบัติงาน 1. ใบงานเรื่องการเขียนและการอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 2. ใบประเมินผล 3. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรม จริยธรรม 9.เกณฑ์การวัดประเมินผล 1. ประเมินผลทฤษฎีหลังเรียนด้วยแบบทดสอบเกณฑ์ผ่าน 60% 2. ประเมินผลภาคปฏิบัติโดยใช้ใบประเมินผลปฏิบัติเกณฑ์ผ่าน 80% 3. ประเมินผลคะแนนคุณธรรมจริยธรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนคะแนนขึ้นอยู่กับผู้เรียน ประเมินตามสภาพจริง


10.การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1. ผู้เรียนเขียนแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 2. ผู้เรียนอ่านแบบภาพแยกชิ้นงานได้ถูกต้องตามมาตรฐานงานเขียนแบบ 3. ผู้เรียนมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยประณีตรอบคอบมีความปลอดภัยมีจิต อาสาและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนมีเหตุผลในการเขียนแบบและอ่านแบบได้เหมาะสมซึ่งไม่กระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ใบงานเรื่องการเขียนและอ่านแบบภาพแยกชิ้นงาน 3. ใบประเมินผล 4. ใบประเมินผลพฤติกรรมการทำงานและคุณธรรมจริยธรรม 10.3 วิธีวัดประเมินผล 1. การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2. การปฏิบัติงานตามใบงาน 3. การปฏิบัติงานผ่านเกณฑ์การประเมินผล


Click to View FlipBook Version