แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนระบบปกติ ระบบออนไลน์และพัฒนาหลักสูตร รหัสวิชา 20000 - 1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม จัดทำโดย นางสาวภัททิรา พรมมี ครูพิเศษสอน แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพรหัสวิชา 20000-1401 มีการพัฒนาหลักสูตร เรื่องการแจก แจงความถี่ของข้อมูลโดยใช้กราฟ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาซึ่งได้มี การบูรณาการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรม ฯ อันพึงประสงค์ในทุกหน่วย การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้มีทั้งหมด 7 หน่วย ได้แก่ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว แปร ความรู้เบื้องต้นทางสถิติการแจกแจงความถี่ของข้อมูล การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดตำแหน่งของข้อมูล และการวัดการกระจายของข้อมูล ซึ่งมีการปรับปรุงพัฒนารายวิชา ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อหา ครอบคลุมคำอธิบายรายวิชา มีการวัดผลประเมินผลตรงตามจุดประสงค์รายวิชา และมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ รายวิชาตรงตามที่หลักสูตรกำหนด อีกทั้งยังมีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้แสวงหาความรู้ได้เต็มตามศักยภาพ สามารถนำประสบการณ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ไปประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 20000-1401 ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนที่จะ นำไปใช้กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลงชื่อ............................... (นางสาวภัททิรา พรมมี)
สารบัญ หน้า - กำหนดการเรียนรู้ ก - หน่วยการเรียนรู้สมรรถนะรายวิชาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข - ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ค - กำหนดการเรียนรู้ ง - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 - 9 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 10 - 15 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 16 - 24 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 เรื่อง การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 25 - 31 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 เรื่อง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 32 - 40 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 เรื่อง การวัดตำแหน่งของข้อมูล 41 – 47 - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 เรื่อง การวัดการกระจายของข้อมูล 48 – 56
ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 20000-1401 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สถิติ เบื้องต้น การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดตำแหน่งและการวัดการกระจายของข้อมูล 2. มีทักษะกระบวนการคิดและแก้ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิง เส้นสองตัวแปร สถิติเบื้องต้น การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดตำแหน่งและการวัดการกระจาย ของข้อมูล และนำไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ และมีความละเอียดรอบคอบในการปฎิบัติงาน สมรรถนะรายวิชา 1. ประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ไปใช้ ในสถานการณ์หรือปัญหาที่กำหนด 2. สร้างตารางแจกแจงความถี่ กราฟหรือแผนภูมิ และตีความหมายหรือวิเคราะห์ข้อมูลจาก ตาราง กราฟ หรือแผนภูมิ 3. เลือกใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมให้เหมาะสมกับข้อมูล 4. วัดตำแหน่งที่ของข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์ 5. วัดการกระจายของข้อมูลโดยใช้พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์ของพิสัย และ ส้มประสิทธิ์ของการแปรผัน คำอธิบายรายวิชา(เดิม) ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร สถิติเบื้องตัน การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง คำอธิบายรายวิชา(ใหม่) ศึกษาและฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบ สมการเชิงเส้นสองตัวแปรสถิติเบื้องตัน การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การวัดตำแหน่งและ การวัดการกระจายของข้อมูล และการประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน รูปแบบการสอน ปกติ ออนไลน์ ปรับปรุง 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว √ 2 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร √ √ 3 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ √ √ 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล √ √ √ 5 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง √ √ 6 การวัดตำแหน่งของข้อมูล √ √ 7 การวัดการกระจายของข้อมูล √ √ ทดสอบปลายภาคเรียน
รายการสอน รหัสวิชา 20000-1401 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 4 0 4 2 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 4 0 4 3 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 6 0 6 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 4 0 4 5 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 6 0 6 6 การวัดตำแหน่งของข้อมูล 6 0 6 7 การวัดการกระจายของข้อมูล 6 0 6 ทดสอบปลายภาคเรียน รวม 36 0 36
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะที่พึ่งประสงค์ รหัสวิชา 20000-1401 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 1. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1.1 ความหมายของสมการ 1.2 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1.3 สมบัติของการเท่ากัน 1.4 โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - ใบงานที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว - ใบงานที่ 2 สมบัติของการเท่ากัน - ใบงานที่ 3 โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1. อธิบายความหมายสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ได้ 2. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้สมบัติการ เท่ากันได้ 3. แก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 4. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 2. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2.1 ความหมายของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2.2 ความหมายของระบบสมการเชิงเส้นสองตัว แปร 2.3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดย ใช้กราฟ 2.4 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดย วิธีการแทนค่า 2.5 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดย วิธีขจัดตัวแปร 2.6 โจทย์ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร - ใบงานที่ 1 ความหมายของสมการเชิงเส้นสองตัว แปร - ใบงานที่ 2 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว แปรโดยวิธีการแทนค่า,กราฟ,ขจัดตัวแปร 1. อธิบายความหมายของระบบสมการเชิงเส้นสอง ตัวแปรได้ 2. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 3. แก้โจทย์สมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 4. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยใช้ กราฟ 5. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดย วิธีการแทนค่า 6. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยวิธี ขจัดตัวแปร 7. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 3. ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 3.1 ความหมายของสถิติ 3.2 ข้อมูลและข้อมูลสถิติ 3.3 ระเบียบวิธีทางสถิติ 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 การนำเสนอข้อมูล - ใบงานที่ 1 ความหมายของสถิติ - ใบงานที่ 2 ข้อมูลและข้อมูลสถิติ 1.บอกความหมายของสถิติได้ 2.บอกความหมายของข้อมูลและข้อมูลสถิติได้ 3.อธิบายประเภทและแหล่งของข้อมูลทางสถิติได้ 4.อธิบายความหมายระเบียบวิธีทางสถิติได้ 5.อธิบายวิธีที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 6.อธิบายลักษณะของการนำเสนอข้อมูลได้ 7.อ่านรายละเอียดและตีความหมายจากข้อมูลที่มี การนำเสนอไว้ในรูปแบบต่างๆ ได้
- ใบงานที่ 3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 8.นำความรู้เรื่องการนำเสนอข้อมูลไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ 9. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 4. การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 4.1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 4.2 การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ 4.3 การแจกแจงความถี่สะสมโดยใช้กราฟ - ใบงานที่ 1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล - ใบงานที่ 2 การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ - ใบงานที่ 3 การแจกแจงความถี่สะสมโดยใช้ กราฟ 1.สร้างตารางแจกแจงความถี่และตีความหมาย ของข้อมูลจากตารางได้ 2.บอกขอบล่าง ขอบบน และจุดกึ่งกลางของแต่ละ อันตรภาคชั้นได้ 3.สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสมและ ตีความหมายของข้อมูลจากตารางได้ 4.สร้างตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์ และความถี่สะสมสัมพัทธ์ได้ 5.สร้างฮิสโทแกรมรูปหลายเหลี่ยมของความถี่ และเส้นโค้งความถี่ได้ 6 สร้างแผนภาพต้น – ใบได้ 7.สร้างเส้นโค้งความถี่สะสมได้ 8.หาความถี่โดยประมาณจำนวนข้อมูลหรือค่าของ ข้อมูลจากเส้นโค้งความถี่ได้ 9.หาความถี่โดยประมาณจำนวนข้อมูลหรือค่าของ ข้อมูลจากเส้นโค้งความถี่สะสมได้ 10. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 5. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 5.1 สัญลักษณ์แสดงผลบวก 5.2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 5.3 ฐานนิยม 5.4 มัธยฐาน - ใบงานที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต - ใบงานที่ 2 ฐานนิยม - ใบงานที่ 3 มัธยฐาน 1. ใช้สัญลักษณ์แสดงผลบวกได้ 2. หาค่าของจํานวนที่อยู่ในรูปสัญลักษณ์แสดงผล บวกได้ 3. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 4. หาค่าฐานนิยมของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 5. หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 6. เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลที่ กำหนดให้และวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 7. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 6. การวัดตำแหน่งของข้อมูล 6.1 การหาเปอร์เซ็นไทล์ 6.2 การหาเปอร์เซ็นไทล์จากกราฟ - ใบงานที่ 1 การหาเปอร์เซ็นไทล์ - ใบงานที่ 2 การหาเปอร์เซ็นไทล์จากกราฟ 1. อธิบายความหมายของเปอร์เซ็นไทล์ได้ 2. หาค่าตําแหน่งที่ของข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์ ได้ 3. นำความรู้และทักษะที่ได้จากการเรียนรู้เรื่อง การวัดตำแหน่งของข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาโจทย์ได้
4. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน 7. การวัดการกระจายของข้อมูล 7.1 การวัดการกระจายสัมบูรณ์ 7.2 การวัดการกระจายสัมพัทธ์ - ใบงานที่ 1 การวัดการกระจายสัมบูรณ์ - ใบงานที่ 2 การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 1. บอกความหมายและชนิดของการวัดการกระจาย สัมบูรณ์ได้ 2. คำนวณหาค่าพิสัยได้ 3. คำนวณหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ 4. เลือกใช้พิสัยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานวัดกระจาย ของข้อมูลได้ 5. บอกความหมายและชนิดของการวัดการกระจาย สัมพัทธ์ได้ 6. คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ของพิสัยได้ 7. คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ของการแปรผันได้ 8. เลือกใช้และคำนวณการกระจายสัมพัทธ์เพื่อ เปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลได้เหมาะสม 9. มีวินัย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิต อาสา และการละเว้นจากสิ่งเสพติดและการพนัน
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา 20101-2105 ชื่อวิชา งานปรับอากาศรถยนต์ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่ว ย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระดับพฤติกรรมการเรียนรู้ พุทธพิสัย รวม ความรู้ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า รวม ทักษะพิสัย จิตพิสัย เวลา 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 1 2 2 3 4 2 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 1 1 2 2 3 4 3 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 1 1 1 3 3 4 6 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 1 1 1 2 2 3 4 5 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 1 1 3 3 3 6 6 การวัดตำแหน่งของข้อมูล 1 1 1 3 3 2 6 7 การวัดการกระจายของข้อมูล 1 1 1 3 3 2 6 ทดสอบปลายภาคเรียน 1 1 รวม 19 18 20 36
กำหนดการสอน รหัสวิชา 20101-2105 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จำนวน 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1-2 1-4 2 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3-4 5-8 3 ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 5-7 9-14 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 8-9 15-18 5 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 10-12 19-24 6 การวัดตำแหน่งของข้อมูล 13-15 25-30 7 การวัดการกระจายของข้อมูล 16-17 31-34 ทดสอบปลายภาคเรียน 18 35-36
บันทึกการพัฒนาหลักสูตร แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา…20000-1401 ….ชื่อวิชา…คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ…… ชื่อครูผู้สอน……นางสาวภัททิรา พรมมี…….. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวภัททิรา พรมมี) ......../........./........ ปรับปรุง ครั้งที่ ภาคเรียนที่/ ปีการศึกษา หน่วยที่ รายการ/หัวข้อ ที่พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ หมายเหตุ 3 1/65 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล - การแจกแจงความถี่ของข้อมูลโดยใช้กราฟ
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 1 - 3 หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย สมการเชิงเส้นตัวตัวแปรเดียว เวลา 6 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ 1. สมการเป็นประโยคสัญลักษณ์ แสดงถึง การเท่ากันของจำนวนโดยใช้เครื่องหมาย “=” การแก้สมการเป็นการหาคำตอบของสมการ ซึ่งอาจใช้สมบัติการเท่ากันของ จำนวนจริง 2. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ สมการที่มีตัวแปรหนึ่งตัว และเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นหนึ่งกำหนดอยู่ใน รูป ax + b = 0 เมื่อ a และ b เป็นค่าคงตัว a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร 3. การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวคือการหาคำตอบของสมการโดยใช้สมบัติของการเท่ากันของจำนวนจริง คือ 3.1 สมบัติสมมาตร เมื่อ a และ b แทนจำนวนใด ๆ ถ้า a = b แล้ว b = a 3.2 สมบัติถ่ายทอด เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนใด ๆ ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c 3.3 สมบัติการบวก เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนใด ๆ ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c 3.4 สมบัติการคูณ เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนใด ๆ ถ้า a = b แล้ว ac = bc 3.5 สมบัติการแจกแจง เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนใด ๆ ถ้า c ( a + b) = ac + bc 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. หาคำตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาที่กำหนด 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.อธิบายความหมายสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 2.แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้สมบัติการเท่ากันได้ 3.แก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายของสมการ 2.สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3.สมบัติการเท่ากัน 4.โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 หลักความมีเหตุผล - อธิบายความหมายสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 5.2 หลักความพอประมาณ - แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้สมบัติการเท่ากันได้ 5.3 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน - แก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ได้ 5.4 เงื่อนไขการจัดการความรู้ - แสดงความรู้และปฏิบัติเกี่ยวแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม - แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 1 (สัปดาห์ที่ 1 คาบที่ 1 - 2 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง ระสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยเรียนที่ 1 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทำกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียวพร้อมให้เหตุผลประกอบ 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนำ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียน ของหน่วยเรียนที่ 1 และการให้ความร่วมมือในการทำ กิจกรรม 3. ผู้เรียนอธิบายความหมายของสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียวตามความเข้าใจของตนเอง พร้อมให้เหตุผล ประกอบ
2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนเข้าสู่บทเรียนด้วยความหมายของสมการ หน้าที่ 2 และ สมบัติการเท่ากัน หน้าที่ 3-4 2. ผู้สอนอธิบายตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 5-7 การนำสมบัติการ เท่ากันไปใช้ในการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 1.1 หน้าที่ 4 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 1.2 หน้าที่ 7-9 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน สอนครั้งที่ 2 (สัปดาห์ที่ 2 คาบที่ 3 - 4 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา วิธีการ ให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง ระสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยเรียนที่ 1 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทำกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของสมการเชิง เส้นตัวแปรเดียวพร้อมให้เหตุผลประกอบ 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนด้วยความหมายของสมการ หน้าที่ 2 และสมบัติการเท่ากัน หน้าที่ 3-4 และร่วม อภิปรายความคิดกับผู้สอน 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 5-7 การนำสมบัติการเท่ากันไปใช้ในการแก้สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 1.1 หน้าที่ 4 2. ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 1.1 หน้าที่ 7-9 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนำ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับ จุดประสงค์การเรียนของหน่วยเรียนที่ 1 และการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 3. ผู้เรียนอธิบายความหมายของสมการ เชิงเส้นตัวแปรเดียวตามความเข้าใจของ ตนเอง พร้อมให้เหตุผลประกอบ
2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนเข้าสู่บทเรียนด้วยความหมายสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว หน้าที่ 3 2. ผู้สอนอธิบายตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 10 พร้อมทั้งศึกษา ร่วมกัน 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.1 หน้าที่ 11- 15 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 3. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน สอนครั้งที่ 3 (สัปดาห์ที่ 3 คาบที่ 5 - 6 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา วิธีการ ให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง ระสมการเชิงเส้นตัวแปร เดียว 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยเรียนที่ 1 และขอให้ผู้เรียนร่วมกันทำกิจกรรมการเรียนการสอน 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนเข้าสู่บทเรียนด้วยขั้นตอนการแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัว แปรเดียว หน้าที่ 16 2. ผู้สอนอธิบายตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 16-18 พร้อมทั้งศึกษา ร่วมกัน 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนด้วยความหมายสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว หน้าที่ 3 และร่วมอภิปรายความคิดกับ ผู้สอน 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 10 พร้อมทั้งศึกษาร่วมกัน 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.1 หน้าที่ 11-15 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนำ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับ จุดประสงค์การเรียนของหน่วยเรียนที่ 1 และการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้เรียนศึกษาบทเรียนด้วยด้วยขั้นตอนการแก้โจทย์ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว หน้าที่ 16 และร่วม อภิปรายความคิดกับผู้สอน 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจตัวอย่างในหนังสือหน้าที่ 16- 18 พร้อมทั้งศึกษาร่วมกัน
3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.2 หน้าที่ 19-21 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความ เข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายบท ที่ 1 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบหลังเรียนด้วย ความซื่อสัตย์ แล้วนำคะแนนที่ได้บันทึกลงในแบบบันทึก คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1.2 หน้าที่ 19-21 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายบทที่ 1 3. ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบหลังเรียนด้วย ความซื่อสัตย์ นำคะแนนที่ได้บันทึกลงในแบบ บันทึก คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน พร้อม เปรียบเทียบคะแนนของแบบฝึกหัดก่อนเรียนและหลัง เรียนว่ามีผลต่างกันอย่างไร เพื่อดูความก้าวหน้าของ ตนเอง 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. Google meet 2. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 3. Internet 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2. ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2. ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนทำโดย สุ่มตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัดความสามารถทาง วิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้
4. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1.ขั้นกระบวนการ a. ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 6. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 90-100 ดีมาก 10 75-89 ดี 8-9 60-74 พอใช้ 6-7 50-59 ปรับปรุง 5 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. แบบฝึกหัดที่ 1.1 เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 1 เรื่องการแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) หน่วยการเรียนรู้ที่……………….…เรื่อง…………………………………………………………………………………………….………………. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ........................................ (.............................................) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 4 - 5 หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย สมการเชิงเส้นสองตัวแปร เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ 1. สมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ สมการที่มีตัวแปรสองตัว เลขชี้กำลังของตัวแปร แต่ละตัวเป็นหนึ่ง และไม่มีการ คูณกันระหว่างตัวแปร รูปทั่วไปของสมการ ax + by + c = 0 โดยที่ a, b และ c เป็นค่าคงตัว a และ b ไม่เป็น 0 พร้อมกัน 2. ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2 สมการ เขียนอยู่ในรูป a1x + b1y = c1 โดย a1, b1 ≠ 0 a2x + b2y = c2 โดย a2, b2 ≠ 0 โดยที่ a1, a2 เป็น 0 ไม่พร้อมกัน b1, b2 เป็น 0 ไม่พร้อมกัน 3. การหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อาจใช้การ่านค่าจุดที่กราฟตัดกัน และอาจหาคำตอบระบบ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยวิธีการแทนค่า หรือวิธีการขจัดตัวแปร ทั้งนี้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อาจ มีคำตอบเดียว มีหลายคำตอบ หรือไม่มีคำตอบ 4. คำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร คือ ค่าของ x และ y ที่ทำให้สมการทั้งสองเป็นจริง นิยมเขียน คำตอบของสมการอยู่ในรูปคู่อันดับ (x, y) ซึ่งคำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จะเป็นจุดตัดของ กราฟเส้นตรงทั้งสอง 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. หาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรจากสถานการณ์หือปัญหาที่กำหนด 3. 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และ รักษาสภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 2. แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 3. แก้โจทย์สมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2. ความหมายของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 3. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยวิธีกราฟ
4. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยวิธีการแทนค่า 5. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรโดยวิธีการขจัดตัวแปร 6. โจทย์ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.2 หลักความมีเหตุผล - อธิบายความหมายของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ - แก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรได้ 5.3 หลักความพอประมาณ - ผู้เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบัติตามแบบฝึกทักษะได้อย่างเหมาะสม 5.3 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน - มีทักษะการแก้สมการเชิงเส้นสองตัวแปรอย่างถูกต้องและสามารถนำไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้ 5.4 เงื่อนไขการจัดการความรู้ - แสดงความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการคิดในการฝึกทักษะการหาค่าของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม - แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 4 (สัปดาห์ที่ 4 คาบที่ 7 - 8 ) สอนครั้งที่ 5 (สัปดาห์ที่ 5 คาบที่ 9 - 10 )
7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 4. Google meet 5. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 6. Internet 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2. ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2. ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนทำโดย สุ่มตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัดความสามารถทาง วิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1.ขั้นกระบวนการ b. ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100
6. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 90-100 ดีมาก 10 75-89 ดี 8-9 60-74 พอใช้ 6-7 50-59 ปรับปรุง 5 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. แบบฝึกหัดที่ 2.1 เรื่องสมการเชิงเส้นสองตัวแปร 2. แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 2 เรื่องการแก้โจทย์สมการเชิงเส้นสองตัวแปร 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) หน่วยการเรียนรู้ที่……………….…เรื่อง…………………………………………………………………………………………….………………. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน
ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................ (.............................................) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 6 - 7 หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย ความรูเบื้องต้นทางสถิติ เวลา 2 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ 1. ความหมายของสถิติ สถิติ (Statistics) อาจมีความหมายได้ 2 ประการ คือ 1. สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง ค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนของครอบครัว จำนวนนักเรียนที่มีความสูงเกิน 160 เซนติเมตร เป็นต้น 2. สถิติ หมายถึง ศาสตร์ที่เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะศาสตร์ ซึ่งเรียกว่า ระเบียบวิธีการทางสถิติ ประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูล(collection of data) การนำเสนอข้อมูล(presentation of data) การวิเคราะห์ข้อมูล(analysis of data) และการตีความหมายข้อมูล(interpretation of data) 2. ข้อมูลสถิติ และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลสถิติ (Statistical data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลข ซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ ต้องการศึกษา และข้อเท็จจริงดังกล่าว จะต้องมีจำนวนมากพอสำหรับแสดงถึงลักษณะของสิ่งนั้น เพื่อที่จะนำไป เปรียบเทียบ และตีความหมายได้ ชนิดของข้อมูล อาจจำแนกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) 2. ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) นอกจากนี้ข้อมูลบางชนิดอาจำแนกตามแหล่งที่เกิดของข้อมูล ดังนี้ 1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) เป็นข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้จากแหล่งที่เกิดของข้อมูลนั้น ๆ โดยตรง เช่น การศึกษาเกี่ยวกับระยะทางที่นักเรียนของวิทยาลัยแห่งหนึ่งใช้สำหรับเดินทางจากบ้านไปวิทยาลัยแหล่งที่จะได้ข้อมูลดัง กล่าวคือ นักเรียนของวิทยาลัยแห่งนั้น และข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากนักเรียนเหล่านั้นเรียกว่า ข้อมูลปฐมภูมิ เป็นต้น 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากแหล่งข้อมูลที่ได้ทำการรวบรวมข้อมูล เหล่านั้นไว้แล้ว เช่น การศึกษาเกี่ยวกับราคาสินค้าในแต่ละเดือน แหล่งที่ได้ข้อมูลนี้ ได้แก่ กรมการค้าภายใน ซึ่งเป็นผู้ รวบรวมข้อมูลนี้ไว้ก่อนแล้วดังนั้นข้อมูลที่ได้มาจากกรมการค้าภายในดังกล่าวนี้ เรียกว่า ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นต้น สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย จัดหมวดหม่ข้อมูลตามประเภทของข้อมูล
2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. จัดหมวดหมู่ข้อมูลตามประเภทของข้อมูล 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของสถิติได้ 2. จำแนกข้อมูลสถิติได้ 3. อธิบายวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. อธิบายประเภทและแหล่งของข้อมูลทางสถิติได้ 5. อธิบายลักษณะของการน้เสนอข้อมูลได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของสถิติ 2. ระเบียบวิธิทางสถิติ 3. ข้อมูลและข้อมูลสถิติ 4.การเก็บรวบรวมข้อมูล 5.การนำเสนอข้อมูล 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.4 หลักความมีเหตุผล - อธิบายประเภทและแหล่งของข้อมูลทางสถิติได้ - เห็นคุณค่าและนำหลักการเก็บรวบรวมข้อมูลไปใช้ในการประกอบในวิชาชีพ 5.2 หลักความพอประมาณ - อธิบายลักษณะของการนำเสนอข้อมูลได้ 5.3 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน - มีทักษะการใช้ข้อลสถิติถูกต้องและสามารถนำไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้ 5.4 เงื่อนไขการจัดการความรู้ - ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดในการฝึกทักษะการจัดระเบียบวิธีทางสถิติ 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม - แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่
5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 6 (สัปดาห์ที่ 6 คาบที่ 11 - 12 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์ พื้นฐาน หน่วยที่ 3 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ ในส่วนของ สาระสำคัญ 2.ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 3 เรื่อง ความรู้ เบื้องต้นทางสถิติ 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง สถิติ และการเก็บ รวบรวมข้อมูล และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เรื่อง สถิติ และการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.1 หน้าทื่ 59 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกัน 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ พื้นฐาน หน่วยที่ 3 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 2.ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียน ของหน่วยเรียนที่ 3 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นทางสถิติ 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง สถิติ และการเก็บ รวบรวมข้อมูล และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เรื่อง สถิติ และการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง สถิติ และการเก็บรวบรวม ข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.1 หน้าที่ 59 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2.ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน
สอนครั้งที่ 7 (สัปดาห์ที่ 7 คาบที่ 13 - 14 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์ พื้นฐานอาชีพ หน่วยที่ 3 เรื่อง การนำเสนอข้อมูล ในส่วนของ สาระสำคัญ 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของการนำเสนอข้อมูล พร้อมให้เหตุผลประกอบ 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง สถิติ และการเก็บ รวบรวมข้อมูล และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐาน หน่วยที่ 3 เรื่อง การนำเสนอข้อมูล 2.ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.2 หน้าที่ 66 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.3 หน้าที่ 68 3.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 3.1 หน้าที่ 72-73 4.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 3 5.ผู้สอนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งความรู้ ต่าง ๆ 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยที่ 3 เรื่อง การ นำเสนอข้อมูล ในส่วนของสาระสำคัญ 2.ผู้เรียนอธิบายความหมายของการนำเสนอข้อมูล ตามความเข้าใจของตนเอง พร้อมให้เหตุผลประกอบ 3.ผู้เรียนทดลองทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่2พร้อม อภิปรายร่วมกัน 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง การนำเสนอข้อมูล และ ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์ พื้นฐาน หน่วยที่ 3 เรื่อง การนำเสนอข้อมูล 2.ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง สถิติ และการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.2 หน้าที่ 66 2.ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 3.3 หน้าที่ 68 3.ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 3.1 หน้าที่ 72-73 4.ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 3 5.ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ
4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกัน 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหน่วยที่ 3 ผู้สอนให้ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบทดสอบหลังเรียนด้วยความ ซื่อสัตย์ แล้วนำคะแนนที่ได้บันทึกลงในแบบบันทึกคะแนนการ ปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน 3.ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนเพื่อให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2.ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายบทที่ 3 ผู้เรียนสลับกัน ตรวจแบบทดสอบหลังเรียนด้วยความซื่อสัตย์ นำ คะแนนที่ได้บันทึกลงในแบบ บันทึกคะแนนการปฏิบัติ กิจกรรมระหว่างเรียน พร้อมเปรียบเทียบคะแนนของ แบบฝึกหัดก่อนเรียนและหลังเรียนว่ามีผลต่างกัน อย่างไร เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง 3.ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7. Google meet 8. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 9. Internet 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2. ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2. ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนทำโดย สุ่มตัวอย่าง
3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัดความสามารถทาง วิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. ตารางบันทึกการประเมินผล รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1.ขั้นกระบวนการ c. ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 6. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 90-100 ดีมาก 10 75-89 ดี 8-9 60-74 พอใช้ 6-7 50-59 ปรับปรุง 5 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่
9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. แบบฝึกหัดที่ 3.1 การใช้สถิติในชีวิตประจำวัน 2. แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 3 ความรูเบื้องต้นทางสถิติ 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) หน่วยการเรียนรู้ที่……………….…เรื่อง…………………………………………………………………………………………….………………. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................ (.............................................) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 1 - 2 หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย การแจกแจงความถี่ของข้อมูล เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ การแจกแจงความถี่ของข้อมูล เป็นวิธีทางสถิติอย่างหนึ่งที่ใช้ในการจัดระเบียบของข้อมูล ให้เป็นกลุ่ม เพื่อความ สะดวกในการนำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล การแจกแจงความถี่ในรูปตาราง มี 2 วิธี คือ วิธีจัดเรียงค่าของข้อมูล ตามลำดับและจัดข้อมูลเป็นช่วงหรืออันตรภาคชั้น การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ - เส้นโค้งความถี่ 4 แผนภาพต้น ใบ * รูปหลายเหลี่ยมความถี่ - อิสโทแกรม การแจกแจงความถี่สะสมโดยใช้กราฟ * เส้นโค้งความถี่สะสม 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. สร้างตารางแจกแจงความถี่ กราฟ หรือแผนภูมิ และมีความหมายหรือวิเคราะห์ข้อมูลจากตาราง กราฟ หรือ แผนภูมิ 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. สร้างตารางแจกแจงความถี่และตีความหมายของข้อมูลจากตารางได้ 2. บอกขอบล่าง ขอบบน และจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้นได้ 3. สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสมและมีความหมายของข้อมูลจากตารางได้ 4. สร้างตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์และความถี่สะสมสัมพัทธ์ได้ 5. สร้างฮิสโทแกรม รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ และเส้นโค้งความถี่ได้ 6. สร้างแผนภาพตัน - ไปได้ 7. สร้างเส้นโค้งความถี่สะสมได้ 8. หาความถี่โดยประมาณจำนวนข้อมูลหรือค่าของข้อมูลจาก เส้นโค้งความถี่ได้ 9. หาความถี่โดยประมาณจำนวนข้อมูลหรือค่าของข้อมูลจากเส้นโค้งความถี่สะสมได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 2. การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ 3. การแจกแจงความถี่สะสมโดยใช้กราฟ
5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.5 หลักความมีเหตุผล สร้างตารางแจกแจงความถี่และตีความหมายของข้อมูลจากตารางได้ 5.6 หลักความพอประมาณ บอกขอบล่าง ขอบบน และจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้นได้ 5.7 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน สร้างตารางแจกแจงความถี่สะสมและมีความหมายของข้อมูลจากตารางได้ 5.8 เงื่อนไขการจัดการความรู้ สร้างตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์และความถี่สะสมสัมพัทธ์ได้ 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม - แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 8 (สัปดาห์ที่ 8 คาบที่ 15-16) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา และวิธีการ เรียนเรื่องการแจกแจงความถี่ของข้อมูล ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย ความหมายของการแจกแจงความถี่ของข้อมูล พร้อมให้เหตุผล ประกอบ 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนำ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง การ แจกแจงความถี่ของข้อมูล ผู้เรียนอธิบายความหมาย ของการแจกแจงความถี่ของข้อมูล ตามความเข้าใจ ของตนเอง พร้อมให้เหตุผลประกอบ
2. ขั้นให้ความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐาน อาชีพ หน่วยที่ 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูลผู้สอนและผู้เรียน ร่วมกันอภิปราย การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมทที่ 4.1 หน้าที่ 82 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมทที่ 4.2 หน้าที่ 88 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกัน 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน สอนครั้งที่ 9 (สัปดาห์ที่ 9 คาบที่ 17-18) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา และวิธีการ เรียนเรื่องการแจกแจงความถี่ของข้อมูล ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย ความหมายของการแจกแจงความถี่ของข้อมูล พร้อมให้เหตุผล ประกอบ 2. ขั้นให้ความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐาน อาชีพ Basic Mathematics for Careers หน่วยที่ 4 การแจก แจงความถี่ของข้อมูลผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย การแจก แจงความถี่ของข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 2. ขั้นให้ความรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์ พื้นฐานอาชีพ หน่วยที่ 4 การแจกแจงความถี่ของ ข้อมูลผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย การแจกแจง ความถี่ของข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1.ผู้เรียนทำกิจกรรมทที่ 4.1 หน้าที่ 82 2.ผู้เรียนทำกิจกรรมทที่ 4.2 หน้าที่ 88 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนเพื่อให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2.ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนำ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง การ แจกแจงความถี่ของข้อมูล ผู้เรียนอธิบายความหมาย ของการแจกแจงความถี่ของข้อมูล ตามความเข้าใจ ของตนเอง พร้อมให้เหตุผลประกอบ 2. ขั้นให้ความรู้ ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์ พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers หน่วยที่ 4 การแจกแจงความถี่ของข้อมูลผู้สอนและ ผู้เรียนร่วมกันอภิปราย การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 3. ขั้นประยุกต์ใช้
1.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 4.2 การแจกแจงความถี่ของ ข้อมูล ผู้สอนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจใน ทิศทางเดียวกัน 2.ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 4 3.ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1.ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 4.2 การแจกแจงความถี่ของ ข้อมูล ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนเพื่อให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2.ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 4 3.ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 10. Google meet 11. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นบานอาชีพ 12. Internet 8. วัดผลและประเมินผล การประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจในการเรียน 2. ทำการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน และวิธีการถามคำถาม 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำภาระงาน และการประเมินผลด้านคุณธรรมจริยธรรม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน วิธีการประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกี่ยวกับความสนใจ และความพยายามในการเรียนรู้ 2. ใช้คำถามเพื่อตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนในขณะกำลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในบทเรียนทำโดย สุ่มตัวอย่าง 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อวัดความสามารถทาง วิชาการเพื่อให้เกิดพุทธิพิสัย การเรียนรู้ 4. ประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม 5. ตารางบันทึกการประเมินผล
รายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 1.ขั้นกระบวนการ d. ความสนใจใฝ่รู้ความพยายามในการเรียนรู้ 1.2 การตั้งคำถามแล้วตอบเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจ (20) 10 10 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ของใบงานที่มอบหมาย (60) 30 30 3. ลักษณะนิสัยด้านคุณธรรม จริยธรรม 3.1 ความมีวินัย 3.2 ความรับผิดชอบ 3.3 ความซื่อสัตย์สุจริต 3.4 มีจิตอาสา 3.5 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน (20) 4 4 4 4 4 รวม 100 6. เกณฑ์การประเมินผล คะแนนดิบที่ได้ เกณฑ์ คะแนนที่ได้ 90-100 ดีมาก 10 75-89 ดี 8-9 60-74 พอใช้ 6-7 50-59 ปรับปรุง 5 หรือที่ต่ำกว่า * หมายเหตุ: ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์ปรับปรุงต้องทำการซ่อมเสริมใหม่ 9 . แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. แบบฝึกหัดที่ 4.1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล 2. แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 4 เรื่อง การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) หน่วยการเรียนรู้ที่……………….…เรื่อง…………………………………………………………………………………………….………………. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................ (.............................................) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 10 - 12 หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เวลา 6 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่ากลางที่เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมด เพื่อสรุปเรื่องราว ที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางมีวิธีหาได้หลายวิธี แต่ที่นิยมกันมีอยู่ 3 ชนิด คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ฐานนิยม และมัธยฐาน 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. เลือกใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ฐานนิยม และมัธยฐานที่เหมาะสมกับข้อมูลที่กำหนด 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. สัญลักษณ์แสดงผลบวกได้ 2. หาค่าของจำนวนที่อยู่ในรูปสัญลักษณ์แสดงผลบวกได้ 3. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 4. หาค่าฐานนิยมของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 5. หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 6. เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลที่กำหนดให้และวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ร4.สาระการเรียนรู้ 1. สัญลักษณ์แสดงผลบวก 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. ฐานนิยม 4. มัธยฐาน 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 หลักความมีเหตุผล หาค่าของจำนวนที่อยู่ในรูปสัญลักษณ์แสดงผลบวกได้ 5.2 หลักความพอประมาณ หาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่กำหนดให้ได้
5.3 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน เลือกใช้ค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลที่กำหนดให้และวัตถุประสงค์ที่ต้องการ 5.4 เงื่อนไขการจัดการความรู้ หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่กำหนดให้ได้ 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม - แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 10 (สัปดาห์ที่ 10 คาบที่ 19 - 20 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในส่วน ของสาระสำคัญ 5. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 5 เรื่อง การ วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียนด้วยสัญลักษณ์แสดงผลบวกและ สมบัติของซิกมา หน้าที่ 105-106 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ใน ส่วนของสาระสำคัญ 2.ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียน ของหน่วยเรียนที่ 5 เรื่อง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้เรียนศึกษาสัญลักษณ์แสดงผลบวกและ สมบัติของซิกมา หน้าที่ 105-106
2. ผู้สอนอธิบายตัวอย่าง หน้าที่ 107-108 3. ผู้สอนอธิบายค่าเฉลี่ยเลขคณิตและตัวอย่าง หน้าที่ 110- 118 4. ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจาก เนื้อหา 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 5.1 หน้าที่ 107 5. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 5.1 หน้าที่109 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 5.2 หน้าที่ 110 7. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 5.2 หน้าที่ 119- 120 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 4. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 5. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน สอนครั้งที่ 11 (สัปดาห์ที่ 11 คาบที่ 21 - 22 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำรายวิชา และวิธีการเรียนเรื่อง การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 7. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของการวัด การกระจายสัมพัทธ์ พร้อมให้เหตุผลประกอบ 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจตัวอย่าง หน้าที่ 107- 108 3. ผู้เรียนทำความเข้าใจค่าเฉลี่ยเลขคณิตและ ตัวอย่าง หน้าที่ 110-118 4. ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 5.1 หน้าที่ 107 2. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 5.1 หน้าที่109 3. ผู้เรียนทำกิจกรรมที่ 5.2 หน้าที่ 110 4. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 5.2 หน้าที่ 119-120 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟัง ครูผู้สอนแนะนำรายวิชา วิธีการให้คะแนน และวิธีการเรียนเรื่อง การวัดการกระจาย สัมพัทธ์ 2. ผู้เรียนอธิบายความหมายของการวัด การกระจายสัมพัทธ์ ตามความเข้าใจของ ตนเอง พร้อมให้เหตุผลประกอบ
2. ขั้นให้ความรู้ 1. ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์ พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers หน่วยที่ 5 การวัดการกระจายของข้อมูล (Measures of Dispersion) 2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย การวัดการกระจาย สัมพัทธ์ 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบงานที่ 5.2 การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความ เข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 5 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน สอนครั้งที่ 12 (สัปดาห์ที่ 12 คาบที่ 23 - 24 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers บทที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในส่วนของ สาระสำคัญ 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 3 เรื่อง การ วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3.1 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers หน่วยที่ 5 การวัดการกระจายของข้อมูล (Measures of Dispersion) 2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกัน อภิปราย การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้เรียนทำใบงานที่ 5.2 การวัดการกระจาย สัมพัทธ์ 2. ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 2. ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยที่ 5 3. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers บทที่ 1 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในส่วน ของสาระสำคัญ 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ เรียนของหน่วยเรียนที่ 3 เรื่อง การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง 3. ผู้เรียนทดลองทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3.1 พร้อมอภิปรายร่วมกัน
4. ผู้สอนให้ผู้เรียนสลับกันแบบฝึกหัดก่อนเรียนด้วยความ ซื่อสัตย์ โดยครูเป็นผู้เฉลย แล้วนำคะแนนที่ได้บันทึกลง ในแบบบันทึกคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers บทที่ 1 เรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในส่วนของสาระสำคัญ 2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 3 เรื่อง คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers 3. ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจาก เนื้อหา 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบงานที่ 3.1 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3.2 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 7. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้ มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 4. ผู้เรียนสลับกันตรวจแบบฝึกหัดก่อนเรียนด้วย ความซื่อสัตย์ โดยครูเป็นผู้เฉลย แล้วนำคะแนนที่ได้ บันทึกลงในแบบบันทึกคะแนนการปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างเรียน 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง ค่าเฉลี่ยเลข คณิต และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers บทที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2.ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ การเรียนของหน่วยเรียนที่ 3 เรื่อง คณิตศาสตร์ พื้นฐานอาชีพ Basic Mathematics for Careers 3.ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเนื้อหา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. ขั้นประยุกต์ใช้ 3. ผู้เรียนทำใบงานที่ 3.1 4. ผู้เรียนทำกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3.2 4. ขั้นสรุปและประเมินผล 5. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา ที่ได้เรียนเพื่อให้มีความเข้าใจในทิศทาง เดียวกัน 7.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 13. Google meet 14. หนังสือเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 15. Internet
9. แบบฝึกหัด/ใบงาน/ใบความรู้ 1. แบบฝึกหัดที่ 5.1 เรื่องการหาค้เฉลี่ย 2. แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 5 การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) หน่วยการเรียนรู้ที่……………….…เรื่อง…………………………………………………………………………………………….………………. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
บันทึกหลังการสอน 1. ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. 2. ผลการเรียนของนักเรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................ (.............................................) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 20000-1401 วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ สอนครั้งที่ 13 - 14 หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การวัดตำแหน่งของข้อมูล เวลา 4 ชั่วโมง 1.สาระสำคัญ การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์ ซึ่งเป็นการแบ่งจำนวนข้อมูลออกเป็น 100 ส่วน เท่าๆ กัน เขียนแทนด้วย P, P2 P3, ..., P99 การหาเปอร์เซ็นไทล์ แบ่งเป็น 2 กรณี คือ ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่และข้อมูลที่ แจกแจงความถี่ การหาเปอร์เซ็นไทล์จากกราฟโดยใช้เส้นโค้งความถี่สะสมหรือโอจีฟ 2.สมรรถนะประจำหน่วย 1. หาตำแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ของข้อมูล 2. มีกิจนิสัยที่ดี มีจิตอาสาในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาดปลอดภัย และรักษา สภาพแวดล้อม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1 1..อธิบายความหมายของเปอร์เซ็นไทล์ได้ 2. หาค่าตำแหน่งที่ของข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์ได้ 3. นำความรู้และทักษะที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องการวัดตำแหน่งของข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาโจทย์ได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. การหาเปอร์เซ็นไทล์ 2. การหาเปอร์เซ็นไทล์จากกราฟ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.9 หลักความมีเหตุผล อธิบายความหมายของเปอร์เซ็นไทล์ได้ 5.10 หลักความพอประมาณ ทักษะที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องการวัด 5.11 หลักการสร้างภูมิคุ้มกัน หาค่าตำแหน่งที่ของข้อมูลโดยใช้เปอร์เซ็นไทล์ได้ 5.12 เงื่อนไขการจัดการความรู้ นำความรู้และทักษะที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องการวัด 5.5 เงื่อนไขการมีคุณธรรม
- แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ - การตรงต่อเวลา - ความซื่อสัตย์ สุจริต - ความมีน้ำใจและแบ่งปัน - ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 5.6 นำสู่ความสมดุลใน 4 มิติ คือ - เศรษฐกิจ - สังคม - วัฒนธรรม - สิ่งแวดล้อม 6.กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นการเรียนหรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 13 (สัปดาห์ที่ 13 คาบที่ 25 - 26 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.ผู้สอนให้ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยที่ 6 เรื่อง การวัดตำแหน่งของ ข้อมูล ในส่วนของสาระสำคัญ 2.ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 6 เรื่อง การวัดตำแหน่งของข้อมูล 2. ขั้นให้ความรู้ 1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอธิบาย เรื่อง การวัดตำแหน่ง ของข้อมูล 2. ผู้สอนอธิบายการหาเปอร์เซ็นไทล์และตัวอย่าง หน้าที่ 140-142 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 5. ผู้เรียนอ่านเอกสารประกอบการสอนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ หน่วยที่ 6 เรื่อง การวัดตำแหน่งของข้อมูล ในส่วนของ สาระสำคัญ 6. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ เรียนของหน่วยเรียนที่ 4 และการให้ความ ร่วมมือในการทำกิจกรรม 2. ขั้นให้ความรู้ 1.ผู้เรียนร่วมกันอธิบาย เรื่อง การวัดตำแหน่งของ ข้อมูล 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจการหาเปอร์เซ็นไทล์และ ตัวอย่าง หน้าที่ 140-142