คำนำ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเรียนระบบปกติ ระบบออนไลน์และพัฒนาหลักสูตร(ปรับปรุงรายวิชา)รายวิชาดิจิทัล เบื้องต้น รหัสวิชา 20104-2111 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สาขาไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลังโดยทำการสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จำนวน 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2 หน่วยกิต ซึ่ง แผนการสอนประกอบด้วย จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คำอธิบายรายวิชา ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ สาระสำคัญ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน การประเมินผล และบันทึกหลังสอน แผนการสอนฉบับนี้แบ่งหน่วยการเรียนรู้ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวงจรดิจิทัลเบื้องต้น โดยแบ่งเป็น 10 หน่วย ประกอบด้วย ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข การคำนวณทางคณิตแบบดิจิทัล และไบนารี่ ลอจิกเกตพื้นฐาน หลักการเขียนสมการลอจิก หลักการเขียนวงจรลอจิก การเขียนคอนแทค ไดอะแกรมและการเขียนไทม์มิ่งไดอะแกรม การลดรูปสมการลอจิก วงจรคอมบิเนชั่นเบื้องต้น การ เข้ารหัสและถอดรหัส และวงจรเปรียบเทียบ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนมีการประเมินผลตามสภาพจริง และการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ในแบบประเมินทุกครั้งที่ทำการสอน ผู้จัดทำหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้คงจะเป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และ ผู้สนใจทั่วไป หากมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทำยินดีน้อมรับไว้เพื่อปรับปรุงในโอกาสต่อไป ลงชื่อ.................................................... (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ครูผู้สอน
ส่วนประกอบตอนต้น
ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 20104-2111 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจระบบเลขฐานและรหัส 2. เพื่อให้มีความเข้าใจลอจิกฟังก์ชั่นต่าง ๆ ตารางความจริงและสัญลักษณ์ลอจิกเกต 3. เพื่อให้มีความเข้าใจวงจร Combination Logic และวงจร Sequential 4. เพื่อให้มีทักษะในการหาคุณสมบัติของ Logic gate จากคู่มือ 5. เพื่อให้มีทักษะในการต่อวงจร Logic gate Combination Logic วงจรพัลส์และวงจร Sequential แบบต่างๆ 6. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงาน สมรรถนะรายวิชา 1. เข้าใจหลักการของระบบเลขฐานและรหัส 2. วัดและทดสอบวงจร Logic และวงจรพัลส์ คำอธิบายรายวิชา(เดิม) ศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับ ระบบเลขฐานต่างๆ รหัสตัวเลข Logic function ตารางความจริง และ สัญลักษณ์พีชคณิตบูลีน วงจร Combination วงจรพัลส์ และวงจร Sequential
รายการสอน รหัสวิชา 20104-2111 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข 2 6 8 2 การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ 2 6 8 3 ลอจิกเกตพื้นฐาน 2 6 8 4 หลักการเขียนสมการลอจิก 2 6 8 5 หลักการเขียนวงจรลอจิก 1 3 4 6 การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram 1 3 4 7 การลดรูปสมการลอจิก 2 6 8 8 วงจรคอมบิเนชั่นเบื้องต้น 2 6 8 9 การเข้ารหัสและการถอดรหัส 2 6 8 10 วงจรเปรียบเทียบ 2 6 8 รวม 18 54 72
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา รหัสวิชา 20104-2111 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา 1 ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข 1. เข้าใจหลักการของระบบเลขฐานและรหัส 2. วัดและทดสอบวงจร Logic และวงจรพัลส์ 2 การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ 3 ลอจิกเกตพื้นฐาน 4 หลักการเขียนสมการลอจิก 5 หลักการเขียนวงจรลอจิก 6 การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram 7 การลดรูปสมการลอจิก 8 วงจรคอมบิเนชั่นเบื้องต้น 9 การเข้ารหัสและการถอดรหัส 10 วงจรเปรียบเทียบ
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 20104-2111 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น จำนวน 1-3-2 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธพิสัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า รวม ทักษะพิสัย จิตพิสัย จำนวนคาบ 1. ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐาน ระบบเลข 2 2 2 6 2 2 8 2. การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัล และไบนารี่ 2 2 2 6 2 2 8 3. ลอจิกเกตพื้นฐาน 1 4 2 7 2 2 8 4. หลักการเขียนสมการลอจิก 3 2 1 6 2 2 8 5. หลักการเขียนวงจรลอจิก 2 1 3 2 2 4 6. การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram 5 5 2 2 4 7. การลดรูปสมการลอจิก 4 3 7 2 2 8 8. วงจรคอมบิเนชั่นเบื้องต้น 3 3 1 7 2 2 8 9. การเข้ารหัสและการถอดรหัส 2 2 2 6 2 2 8 10. วงจรเปรียบเทียบ 3 3 1 7 2 2 8 รวม 10 30 18 2 0 0 60 20 20 72 ลำดับความสำคัญ 3 1 2 4 ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์
กำหนดการสอน หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / รายการที่สอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข 1 – 2 1 – 10 1.1 ระบบเลข 1 1 – 5 1.2 การเปลี่ยนฐานของระบบเลข 2 6 – 10 2 การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ 3 – 4 11 – 20 2.1 การคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล 3 11 – 15 2.2 รหัสไบนารี่ 4 16 – 20 3 ลอจิกเกตพื้นฐาน 5 – 6 21 – 30 3.1 ลอจิกเกตพื้นฐาน 3.2 การกระทำทางลอจิกพื้นฐาน 5 21 – 25 3.3 ตารางความจริง 3.4 การกระทำ AND , OR , NOT 6 26 – 30 3.5 เกตนอร์ และเกตแนนด์ 4 หลักการเขียนสมการลอจิก 7 – 8 31 – 40 4.1 การเขียนสมการลอจิกในรูปเต็ม 7 31 – 35 4.2 การเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริง 4.3 การเขียนสมการลอจิกจากวงจรลอกจิก 8 36 – 40 4.4 การหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก 5 หลักการเขียนวงจรลอจิก 9 41 – 45 5.1 การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก 9 41 – 45 5.2 การหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากวงจรลอจิก 6 การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram 10 46 – 50 6.1 วงจรคอนแทค 10 46 – 50 6.2 รีเลย์ 6.3 การเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก 6.4 การเขียนสมการลอจิกจากวงจรคอนแทค 6.5 การเขียน Timing diagram และ Truth table จาก วงจรลอจิก
กำหนดการสอน หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / รายการที่สอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 7 การลดรูปสมการลอจิก 11 – 12 51 – 60 7.1ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน และความจริงต่าง ๆ ของบูลีน 11 51 – 55 7.2การใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปสมการลอจิก 7.3วิธีการของแผนผังคาร์นอ 12 56 – 60 7.4การเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกหรือฟังก์ชั่นสวิตชิ่ง 8 วงจรคอมบิเนชั่นเบื้องต้น 13 – 14 61 – 70 8.1หลักการออกแบบวงจรคอมบิเนชั่น 13 61 – 65 8.2การออกแบบวงจรลอจิก โดยใช้แนนด์เกต และนอร์เกตเพียงอย่าง เดียว 8.3การแทนลอจิกเทียบเท่า 8.4การขยายจำนวนอินพุทของลอจิกเกต 14 66 – 70 8.5วงจรเอ็กซ์คลูซิฟ-ออร์ และวงจรเอ็กซ์คลูซิฟ-นอร์ 9 การเข้ารหัสและการถอดรหัส 15 – 16 71 – 80 9.1วงจรเข้ารหัส 15 71 – 75 9.2วงจรถอดรหัส 16 76 – 80 10 วงจรเปรียบเทียบ 17 – 18 81 – 90 10.1 วงจรเปรียบเทียบ 17 81 – 85 10.2 วงจรเปรียบเทียบเลขไบนารี่ 1 บิต 10.3 วงจรเปรียบเทียบเลขไบนารี่ 4 บิต 18 86 – 90 รวม 90
หน่วยที่ 1 ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข จำนวน 8 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เลือกใช้ระบบเลขฐานในระบบดิจิทัลได้ อย่างเหมาะสม 4. คำนวณเปลี่ยนฐานของระบบเลขไอย่าง เหมาะสม 1. จำแนกระบบเลขฐานในระบบ ดิจิทัล 2. แสดงการเปลี่ยนฐานของระบบเลข - ระบบเลข - การเปลี่ยนฐานของระบบเลข สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 4,5 1,2,3,4,5 4,5,6 3,4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน ระบบตัวเลขและการ เปลี่ยนฐานระบบเลข ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 1 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 1-2 ชื่อหน่วย ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐาน ระบบเลข ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข จำนวนชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในระบบดิจิทัล เช่นวงจรลอกจิก ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์ มักจะแสดงด้วยลักษณะ ของตัวเลข คือ 0 และ 1 เรียกว่า ระบบเลขฐานสอง หรือระบบไบนารี่ หรืออาจจะแสดงเป็นตัวเลขระบบอื่น ๆ เช่น ระบบเลขฐานสิบหก โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง การเตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจระบบเลข 2) แสดงความรู้และเข้าใจการเปลี่ยนฐานของระบบเลข 3) แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกล ยาเสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบเลข 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจการเปลี่ยนฐานของระบบเลข 3) เพื่อให้มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) อธิบายระบบเลขได้ 2) คำนวณเปลี่ยนฐานของระบบเลขได้ 3) มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ระบบตัวเลข 4.1.1 ระบบเลขฐานสิบ 4.1.2 ระบบเลขฐานสอง 4.1.3 ระบบเลขฐานแปด 4.2 ระบบเลขฐานสิบหก 4.2.1 การเปลี่ยนระบบเลขฐาน
5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - ผู้เรียนสามารถจำแนกระบบเลขฐานในระบบดิจิทัล - ผู้เรียนสามารถแสดงการเปลี่ยนฐานของระบบเลข 2) ความพอประมาณ - ผู้เรียนเลือกใช้ระบบเลขฐานในระบบดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม - ผู้เรียนคำนวณเปลี่ยนฐานของระบบเลขได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับระบบตัวเลข - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนระบบเลขฐาน 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน
7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนจำแนกการเปลี่ยนระบบเลขฐานได้ 2) ผู้เรียนจำแนกระบบตัวเลขได้ 3) ผู้เรียนพิจารณาแรงดันไฟฟ้าได้ 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบบตัวเลขและการเปลี่ยนฐานระบบเลข ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 2 การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ จำนวน 8 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เลือกใช้การคำนวณทางเลขคณิตแบบ ดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม 4. เลือกใช้รหัสไบนารี่ได้อย่างเหมาะสม 1. แสดงการคำนวณทางเลข คณิตแบบดิจิทัล 2. จำแนกรหัสไบนารี่ - การคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล - รหัสไบนารี่ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 4,5 1,2,3,4,5 5,6 4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน การคำนวณเลขคณิต แบบดิจิตอลและไบนารี่ ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 2 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 3-4 ชื่อหน่วย การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัล และไบนารี่ ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ จำนวนชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ในการศึกษาระบบดิจิทัล เช่น ดิจิทัลคอมพิวเตอร์นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเรียนรู้ภาษาของเครื่อง หรือระบบ ที่ใช้งาน ภาษาของคอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยตัวอักษรหรือตัวเลขฐานสิบ ซึ่งจะถูกเปลี่ยนให้เป็นกลุ่มของ เลขฐานสอง หรือเรียกว่า รหัสไบนารี่ ซึ่งจะใช้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ เช่น นำรหัสเหล่านี้ไปคำนวณทางดิจิทัล หรือ นำไปประมวลผลต่าง ๆ เพื่อนำผลที่ได้จากการประมวลผลไปใช้งานต่อไป โดยบูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง การเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจคุณลักษณะของลอจิกเกต 2) แสดงความรู้และเข้าใจทฤษฎีพีชคณิตแบบบูลไปแก้ปัญหาลอจิก 3) แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยา เสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจคุณลักษณะของลอจิกเกต 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจทฤษฎีพีชคณิตแบบบูลไปแก้ปัญหาลอจิก 3) เพื่อให้มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) อธิบายคุณลักษณะของลอจิกเกตได้ 2) ใช้ทฤษฎีพีชคณิตแบบบูลไปแก้ปัญหาลอจิกได้ 3) มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 1) การคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล 2) รหัสไบนารี่
5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - แสดงการคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล - จำแนกรหัสไบนารี่ 2) ความพอประมาณ - เลือกใช้การคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม - เลือกใช้รหัสไบนารี่ได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล - เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรหัสไบนารี่ 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องการคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระการคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน
7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนคำนวณทางเลขคณิตแบบดิจิทัล 2) ผู้เรียนคำนวณรหัสไบนารี่ 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การคำนวณเลขคณิตแบบดิจิทัลและไบนารี่ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 3 ลอจิกเกตพื้นฐาน จำนวน 8 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เลือกใช้ลอจิกเกตพื้นฐาน ได้อย่างเหมาะสม 4. เลือกใช้ลอจิก AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ ได้อย่างเหมาะสม 1. จำแนกลอจิกเกตพื้นฐาน 2. จำแนกการกระทำ AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ - ลอจิกเกตพื้นฐาน - การกระทำทางลอจิกพื้นฐาน - ตารางความจริง - การกระทำ AND , OR , NOT - เกตนอร์ และเกตแนนด์ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,5 1,2,3,4,5 1,5,6 1,4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน ลอจิกเกตพื้นฐาน ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 3 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 5-6 ชื่อหน่วย ลอจิกเกตพื้นฐาน ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน ลอจิกเกตพื้นฐาน จำนวนชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องคำนวณเลข และอุปกรณ์ดิจิทัลมากมายที่สามารถทำงานให้กับมนุษย์ได้ ล้วน ประกอบขึ้นจากอุปกรณ์และวงจรทางดิจิทัล ที่มีการทำงานในลักษณะของลอจิกและวงจรดิจิทัลนั้น จะมี ส่วนประกอบพื้นฐาน คือ ลอจิกเกต ซึ่งจะมีการทำงานเหมือนกับระบบเลขไบนารี่ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง การเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับลอจิกเกตพื้นฐาน 2) แสดงความรู้และเข้าใจการกระทำ AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ 3) แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยา เสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับลอจิกเกตพื้นฐาน 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจการกระทำ AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ 3) เพื่อให้มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) อธิบายลอจิกเกตพื้นฐานได้ 2) อธิบายการกระทำ AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ได้ 3) มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความอดกลั้น ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 4.1) ลอจิกเกตพื้นฐาน 4.1.1 การกระทำทางลอจิกพื้นฐาน 4.1.2 ตารางความจริง 4.2) การกระทำ AND , OR , NOT 4.3) เกตนอร์ และเกตแนนด์
5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - จำแนกลอจิกเกตพื้นฐาน - จำแนกการกระทำ AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ 2) ความพอประมาณ - เลือกใช้ลอจิกเกตพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม - เลือกใช้ลอจิก AND, OR, NOT, เกตนอร์ และเกตแนนด์ได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับลอจิกเกตพื้นฐาน - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับเกตนอร์ และเกตแนนด์ 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องลอจิกเกตพื้นฐาน และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบประเมิน ผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระรายละเอียดเกี่ยวกับลอจิกเกตพื้นฐาน 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน
7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนอธิบายลอจิกเกตพื้นฐาน 2) ผู้เรียนจำแนกเกตนอร์ และเกตแนนด์ 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ลอจิกเกตพื้นฐาน ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 4 หลักการเขียนสมการลอจิก จำนวน 8 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เขียนสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม 4. เลือกใช้ระดับลอจิกทางเอาท์พุท จากสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม 1. จำแนกการเขียนสมการลอจิก 2. จำแนกการหาระดับลอจิกทาง เอาท์พุทจากสมการลอจิก - การเขียนสมการลอจิกในรูปเต็ม - การเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริง - การเขียนสมการลอจิกจากวงจรลอกจิก - การหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3,5 1,2,3 3,5,6 3,4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน หลักการเขียนสมการ ลอจิก ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 4 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่วย หลักการเขียนสมการลอจิก ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน หลักการเขียนสมการลอจิก จำนวนชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ เนื่องจากวงจรลอจิก ได้ถูกนำไปใช้ในระบบสวิทชิ่งของเครื่องชุมสายโทรศัพท์แบบอัตโนมัติ และปัจจุบันลอก จิกได้มีบทบาทในการรับ-ส่งข้อมูลแบบต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องเรียนรู้การเขียนสมการลอจิกเพื่อใช้ในการออกแบบ วงจรลอจิก ซึ่งจะได้นำไปใช้งานได้ตามต้องการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในเรื่องมีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ใหม่ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนสมการลอจิก 2) แสดงความรู้และเข้าใจการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก 3) แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยา เสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนสมการลอจิก 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก 3) เพื่อให้มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) เขียนสมการลอจิกได้ 2) อธิบายการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิกได้ 3) มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 1) การเขียนสมการลอจิก 2) การหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก 5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจำแนกการเขียนสมการลอจิก - จำแนกการหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากสมการลอจิก
2) ความพอประมาณ - เขียนสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม - เลือกใช้ระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนสมการลอจิกในรูปเต็ม - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริง - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนสมการลอจิกจากวงจรลอกจิก - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิก 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องหลักการเขียนสมการลอจิก และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระหลักการเขียนสมการลอจิก 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543
8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนเขียนสมการลอจิกในรูปเต็มได้ 2) ผู้เรียนเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริงได้ 3) ผู้เรียนเขียนสมการลอจิกจากวงจรลอกจิกได้ 4) ผู้เรียนหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากสมการลอจิกได้ 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง หลักการเขียนสมการลอจิก ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 5 หลักการเขียนวงจรลอจิก จำนวน 4 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก ได้อย่างเหมาะสม 4. คำนวณหาระดับลอจิกทางเอาท์พุท จากวงจรลอจิกได้อย่างเหมาะสม 1. จำแนกการเขียนวงจรลอจิก จากสมการลอจิก 2. จำแนกการหาระดับลอจิกทาง เอาท์พุทจากวงจรลอจิก - การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก - การหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากวงจรลอจิก สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 4,5 1,2,3 4,5,6 3,4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน หลักการเขียน วงจรลอจิก ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 5 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 9 ชื่อหน่วย หลักการเขียนวงจรลอจิก ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน หลักการเขียนวงจรลอจิก จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ เนื่องจากปัจจุบันนี้วงจรลอจิกได้มีบทบาทในชีวิตประจำวันของมนุษย์มากมาย เช่น ถูกนำไปใช้ในเรื่อง โทรศัพท์ระบบดิจิทัล เครื่องซักผ้าอัตโนมัติ โทรทัศน์ วิดีโอเทป ฯลฯ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องเรียนรู้การเขียนลกจิก ซึ่งจะได้นำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างถูกต้องตามต้องการ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน เรื่องมีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ใหม่ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก 2) แสดงความรู้และเข้าใจการหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิก 3) แสดงพฤติกรรม ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยา เสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจการหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิก 3) เพื่อให้มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) เขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิกได้ 2) คำนวณหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิกได้ 3) มีความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 1) การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก 2) การหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิก 5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจำแนกการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก - จำแนกการหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิก
2) ความพอประมาณ - เขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม - คำนวณหาระดับลอจิกทางเอาท์พุทจากวงจรลอจิกได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากวงจรลอจิก 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องหลักการเขียนวงจรลอจิก และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระหลักการเขียนวงจรลอจิก 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543
8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก 2) ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับการหาระดับลอจิกทางเอ้าท์พุทจากวงจรลอจิก 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการเขียนวงจรลอจิก ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 6 การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram จำนวน 4 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก ได้อย่างเหมาะสม 4. เขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก ได้อย่างเหมาะสม 1. จำแนกการเขียนวงจร คอนแทคจากสมการลอจิก 2. จำแนกการเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก - วงจรคอนแทค - รีเลย์ - การเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก - การเขียนสมการลอจิกจากวงจรคอนแทค - การเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 2,5,6 1,2,3,5 2,5 2,3,4 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน การเขียน Contaet Diagram และ การเขียน Timing Diagram ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 6 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 10 ชื่อหน่วย การเขียน Contaet Diagram และ การเขียน Timing Diagram ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ เนื่องจากวงจรลอจิกสามารถสร้างจากวงจรเกต หรือสร้างจากวงจรคอนแทค ซึ่งวงจรคอนแทคประกอบขึ้น ด้วยอุปกรณ์ทางแมคคานิคส์ ได้แก่ สวิตซ์ รีเลย์ ที่ใช้ควบคุมการตัดต่อวงจรได้ ดังนั้นวงจรคอนแทคจึงได้ถูก นำไปใช้ในวงจรสวิทชิ่ง เช่น วงจรในชุมสายโทรศัพท์ โทรพิมพ์ ลิฟท์ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องเรียนรู้หลักการเขียน วงจรคอนแทคเพื่อนำไปใช้งานได้ถูกต้อง โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องให้ความ ร่วมมือกับผู้อื่น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก 2) แสดงความรู้และเข้าใจการเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก 3) แสดงพฤติกรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และ ห่างไกลยาเสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจการเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจการเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก 3) มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) เขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิกได้ 2) เขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิกได้ 3) มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 1) การเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก 2) การเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก
5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจำแนกการเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก - จำแนกการเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก 2) ความพอประมาณ - เขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม - เขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิกได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิก - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิก 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องการเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระการเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน
7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543 8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนเขียนวงจรคอนแทคจากสมการลอจิกได้ 2) ผู้เรียนเขียน Timing diagram และ Truth table จากวงจรลอจิกได้ 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน
บันทึกหลังการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเขียน Contaet Diagram และการเขียน Timing Diagram ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (นางสาวกานต์ติมา รักษ์พงศ์) ........./.................../...............
หน่วยที่ 7 การลดรูปสมการลอจิก จำนวน 8 คาบ
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนเพื่อหลักบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เลือกใช้การลดรูปสมการลอจิก ได้อย่างเหมาะสม 4. เขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการ ลอจิกได้อย่างเหมาะสม 1. จำแนกการลดรูปสมการลอจิก 2. จำแนกการเขียนแผนผังคาร์นอ ลดรูปสมการลอจิก - ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน และความจริงต่าง ๆ ของบูลีน - การใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปสมการลอจิก - วิธีการของแผนผังคาร์นอ - การเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกหรือฟังก์ชั่นสวิตชิ่ง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3, 4, 5, 6 1,2,3 3,5 3 พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกัน การลดรูปสมการลอจิก ความรู้+ทักษะ คุณธรรม 5. เตรียมความพร้อมในการ เรียนและการปฏิบัติงาน 6. แสดงกิริยาท่าทางสุภาพ ต่อผู้อื่น - มีความสนใจใฝ่รู้ - มีความรับผิดชอบ - มีความอดกลั้น
แผนการสอน หน่วยที่ 7 ชื่อวิชา ดิจิทัลเบื้องต้น สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย การลดรูปสมการลอจิก ชั่วโมงรวม 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การลดรูปสมการลอจิก จำนวนชั่วโมง 8 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ วงจรลอจิกถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ดังนั้นการออกแบบวงจรลอจิกจึงเป็นส่วนสำคัญมาก ซึ่งใน การออกแบบวงจรดิจิทัลนั้นจำเป็นต้องลดรูปสมการลอจิกให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อให้การสร้างวงจรลอจิกใช้อุปกรณ์ น้อยลง เกิดการประหยัดและที่สำคัญ คือเกิดการหน่วงเวลาในการทำงานน้อยลง ซึ่งเทคนิคการลดรูปสมการที่ นำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย คือ ใช้ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน และการใช้แผนผังคาร์นอ โดยบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องให้ความร่วมมือกับผู้อื่น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการลดรูปสมการลอจิก 2) แสดงความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิก 3) แสดงพฤติกรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และ ห่างไกลยาเสพติด 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป ( ปลายทาง ) 1) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการลดรูปสมการลอจิก 2) เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิก 3) ให้มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ( นำทาง ) 1) อธิบายลดรูปสมการลอจิกได้ 2) เขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกได้ 3) มีมนุษย์สัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติด 4. สาระการเรียนรู้ 1) การลดรูปสมการลอจิก 2) การเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกหรือฟังก์ชั่นสวิตชิ่ง 5. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1) ความมีเหตุผล - แสดงความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลดรูปสมการลอจิก
- จำแนกการเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิก 2) ความพอประมาณ - เลือกใช้การลดรูปสมการลอจิดได้อย่างเหมาะสม - เขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกได้อย่างเหมาะสม 3) การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ผู้เรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนและการปฏิบัติงาน - แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น 4) เงื่อนไขความรู้ - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการลดรูปสมการลอจิก - ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกหรือฟังก์ชั่นสวิตชิ่ง 5) เงื่อนไขคุณธรรม - ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รับผิดชอบ และและอดกลั้นในการปฏิบัติงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ครูจัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนเรื่องการลดรูปสมการลอจิก และใบงาน ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูเรียกชื่อ สำรวจการแต่งกายของผู้เรียน การเตรียมอุปกรณ์การเรียน พร้อมบันทึกลงในแบบ ประเมินผลคุณธรรม จริยธรรม 2) ครูแจ้งความสำคัญของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 1) ครูสอนเนื้อหาสาระการลดรูปสมการลอจิก 2) ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ถาม – ตอบ ระหว่างเรียน 3) นักเรียนช่วยกันทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1) ครูสรุป ทบทวนหัวข้อต่างๆ ตามเอกสารประกอบการเรียน และตอบคำถามผู้เรียน 2) นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 3) ครูเน้นย้ำให้ผู้เรียนได้ตระหนักถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในส่วนของความสนใจใฝ่รู้ ความ รับผิดชอบ ความอดกลั้น ในการปฏิบัติงาน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ - พันศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, ดิจิทัลเบื้องต้น. : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2548 - วิชา โตนิล, ท.วงจรดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2540 - สมโชค ลักษณะโต, ป.ดิจิทัล 1 : สำนักพิมพ์เอมพันธ์; 2543
8. หลักฐาน หลักฐานความรู้ 1) ผลการทดสอบ 2) ผลการทำแบบฝึกหัด 3) ผลการสังเกต 4) ผลการมอบหมายงาน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1) กำหนดค่าคะแนนตามลำดับความสำคัญของสาระการเรียนรู้ 2) เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.2 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับผู้ประเมินตาม สภาพจริง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 1) ผู้เรียนอธิบายเกี่ยวกับการลดรูปสมการลอจิกได้ 2) ผู้เรียนแสดงวิธีการเขียนแผนผังคาร์นอลดรูปสมการลอจิกหรือฟังก์ชั่นสวิตชิ่ง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2) แบบสังเกตพฤติกรรม 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 1) การทำแบบทดสอบตามวัตถุประสงค์ 2) การปฏิบัติตามใบงาน 3) การสัมภาษณ์สอบถามผู้เรียน