*** แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มุ้งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายวิชาวงจรไฟฟ้า ๑ รหัส ๓๐๑๐๔-๑๐๐๒ นายพิสุทธิ์ เส็งศรี แผนกวิชาช่างไฟฟ้าก าลัง วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน
ค ำน ำ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ผู้จัดท าได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอน วิชาวงจรไฟฟ้า 1 รหัส 30104-1002 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้า ก าลัง สาขางานไฟฟ้าก าลัง โดยจัดท าแผนการเรียนรู้ 18 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 ชั่วโมงโดยหัวข้อเนื้อหาแบ่งเป็นหัวข้อประกอบด้วย แหล่งก าเนิดไฟฟ้า การต่อเซลล์ไฟฟ้า กฎของโอห์ม ก าลังไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์แรงดันไฟฟ้าของ เคอร์ชอฟฟ์ ทฤษฎีกระแสเมช วิธีแรงดันโนด ทฤษฎีของเทเวนิน ทฤษฎีของนอร์ตัน แผนการจัดการเรียนรู้จะ จัดท าตามรูปแบบที่สถานศึกษาก าหนด โดยมีลักษณะรายวิชา สมรรถนะประจ าหน่วยการเรียนรู้ตารางวิเคราะห์ หลักสูตร ก าหนดการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้แต่ล่ะหน่วย ผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนถ้า ท่านมีข้อเสนอแนะใดๆผู้จัดท ายินดีรับฟังเพื่อน าไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ลงชื่อ........................................................... (นายพิสุทธิ์ เส็งศรี)
สำรบัญ หน้ำ ค าน า ก สารบัญ ข ก าหนดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้สมรรถนะรายวิชาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ค ง ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ฎ ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ฏ แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 7 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม 15 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 ก าลังไฟฟ้า 22 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 28 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 6 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 35 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 7 ทฤษฎีกระแสเมช 43 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 8 วิธีแรงดันโนด 50 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 9 ทฤษฎีของเทเวนิน 59 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 10 ทฤษฎีของนอร์ตัน 68
ก ำหนดกำรเรียนรู้ ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดาห์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ประเภทวิชำ ช่างอุตสาหกรรม สำขำวิชำ ช่างไฟฟ้าก าลัง สาขางาน ไฟฟ้าก าลัง จุดประสงค์รำยวิชำ 1. เข้ำใจหลักกำรทฤษฎีวงจรไฟฟ้ำ 2. สามารถค านวณหาค่าความต้านทาน กระแส แรงดัน ก าลังไฟฟ้าและตรวจสอบแก้ไขหา ข้อบกพร่องของวงจร 3. มีกิจนิสัยในการท างานร่วมกับอื่นด้วยความปราณี รอบคอบ และปลอดภัย สมรรถนะรำยวิชำ 1. แสดงควำมรู้เกี่ยวกับกฎ ทฤษฎีวงจรไฟฟ้ำกระแสตรงและกระแสสลับ 2. ค านวณและวัดค่าปริมาณต่างๆ ของระบบไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ 3. ทดสอบ จ าลองการท างานวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค ำอธิบำยรำยวิชำ ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของวงจร วงจรแบบตัวต้านทาน แหล่งก าเนิดแบบอิสระ และไม่อิสระ วิเคราะห์วงจรด้วยกฎของเคอร์ชอฟฟ์ ด้วยวิธีโนดและเมช ทฤษฎีการวางซ้อน ทฤษฎีของเทวินิน และนอร์ตัน วงจรออปแอมป์ คาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์ วงจรล าดับที่หนึ่งและวงจรล าดับที่สอง ผลตอบสนองในสภาวะทรานเชียนต์ต่อแรงดันกระแสตรง วงจรแม่เหล็กไฟฟ้า ความเนี่ยวน าร่วม วงจรไฟฟ้า กระแสสลับรูปคลื่นไวน์และแผนผังเฟสเซอร์ อิมพีแดนซ์ แอดมิตแตนซ์ วงจรเรโซแนนซ์ โลก้สไดอะแกรม ก าลังไฟฟ้าและการปรับปรุงตัวประกอบก าลังไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าหนึ่งเฟสและหลายเฟส การวัดก าลังไฟฟ้า การ จ าลองการท างานวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดาห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1.1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1.2 ไฟฟ้าสถิต 1.3 ไฟฟ้ากระแส 1.4 ไฟฟ้ากระแสตรง 1.5 ปฏิบัติการทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้า สมรรถนะที่ 1 แสดงความรู้เกี่ยวกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 1 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาบอกแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายลักษณะไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้า กระแสได้ถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาอธิบาย ลักษณะไฟฟ้ากระแสตรงและ แหล่งก าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 4. เพื่อให้นักศึกษาต่อวงจรและทดสอบแหล่งก าเนิด ไฟฟ้าได้ถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2.1 เซลล์ไฟฟ้า 2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม สมรรถนะที่ 2 แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 2 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ อนุกรมได้อย่างถูกต้อง
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ขนานได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ผสมได้อย่างถูกต้อง หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบต่างๆได้ ถูกต้องได้อย่างถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิด ไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตาม ระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยาเสพ ติด หน่วยที่ 3 กฎของโอห์ม 3.1 กฎของโอห์ม 3.2 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่า กระแสไฟฟ้า (Current) 3.3 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่า แรงดันไฟฟ้า (Voltage) 3.4 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่า ความต้านทานไฟฟ้า (Resistor) สมรรถนะที่ 3 แสดงความรู้เกี่ยวกับกฎของโอห์ม จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 3 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกสูตรการค านวณที่ได้จากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 2. ค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 3. ค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 4. ค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ ถูกต้อง 5. ต่อวงจรวัดแรงดัน กระแส ได้ถูกต้อง
- ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิด ไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตาม ระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกล หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 4 ก าลังไฟฟ้า 4.1 ก าลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง 4.2 ตัวอย่างการค านวณหาค่า ก าลังไฟฟ้า 4.3 ปฏิบัติการทดลองหาก าลังไฟฟ้าที่ โหลด สมรรถนะที่ 4 แสดงความรู้เกี่ยวกับก าลังไฟฟ้า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 4 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษ าส าม า รถบอกความหม ายของ ก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกสูตรที่ใช้ในการค านวณหา ค่าก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้าจาก วงจรไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรไฟฟ้า วัดแรงดัน กระแส เพื่อค านวณหาก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม
3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 5 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 5.1 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 5.2 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์ 5.3 ตัวอย่างการแก้ปัญหาโจทย์ 5.4 ปฏิบัติการทดลองโดยใช้กฎ กระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ สมรรถนะที่ 5 แสดงความรู้เกี่ยวกับกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 5 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกนิยามกฎกระแสไฟฟ้า ของเคอร์ชอฟฟ์ได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนสมการกระแสจากรูป วงจรได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ใช้เมทริกซ์และดีเทอร์ มิแนนท์แก้สมการได้อย่างถูกต้อง หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ แก้ปัญหาโจทย์โดยใช้กฎ กระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ได้อย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรทดลองตามกฎ กระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ได้อย่างถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย
4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 6 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ ชอฟฟ์ 6.1 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 6.2 ตัวอย่างการค านวณโดยใช้กฎ แรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 6.3 ปฏิบัติก า รทดลองโดยใช้กฎ แรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ สมรรถนะที่ 6 แสดงความรู้เกี่ยวกับกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 6 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อธิบาย กฎแรงดันไฟฟ้าของ เคอร์ชอฟฟ์ได้ถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ค านวณปัญหาโจทย์โดยใช้กฎ แรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ ได้ถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ มีความสนใจใฝ่รู้ 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ต่อวงจรทดลองตามกฎ แรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ได้ถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 7 ทฤษฎีกระแสเมช 7.1 ทฤษฎีกระแสเมช 7.2 สมมติกระแสไหลวน 7.3 สมการกระแส สมรรถนะที่ 7 แสดงความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีกระแสเมช จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 7
7.4 ตัวอย่างการค านวณ ทฤษฎีกระแส เมช - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกหลักการ ทฤษฎีกระแส เมชได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถสมมติกระแสไหลวนได้อย่าง ถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถตั้งสมการกระแสได้อย่าง ถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ค านวณ โดยใช้ทฤษฎี กระแสเมชได้อย่างถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 8 วิธีแรงดันโนด 8.1 โนด 8.2 โนดหลัก 8.3 โนดเปรียบเทียบ 8.4 แรงดันโนด 8.5 ตังอย่างการแก้ปัญหาโจทย์ สมรรถนะที่ 8 แสดงความรู้เกี่ยวกับวิธีแรงดันโนด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 8 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ บอกการก าหนดโนดหลักได้ อย่างถูกต้อง หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อธิบายการก าหนดทิศทาง ของกระแสได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ เขียนสมการกระแสได้อย่าง ถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ค านวณแก้ปัญหาโจทย์ด้วย วิธีแรงดันโนดได้อย่างถูกต้อง 5. ต่อวงจรทดลองตามวิธีแรงดันโนดได้ถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 9 ทฤษฎีของเทเวนิน 9.1 หลักการทฤษฎีของเทเวนิน 9.2 แรงดันเทเวนิน 9.3 ความต้านทานเทเวนิน 9.4 วงจรสมมูลย์เทเวนิน 9.5 ค านวณหาค่าปริมาณทางไฟฟ้า ด้วยทฤษฎีของเทเวนิน 9.6 ปฏิบัติการทดลองทฤษฎีของ เทเวนิน สมรรถนะที่ 9 แสดงความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีของเทเวนิน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 9 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีของ เทเวนินได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายการหาแรงดันเท เวนินและความต้านทานเทเวนินได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนวงจรสมมูลย์ของ เทเวนินได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค านวณหาค่าปริมาณทาง ไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของเทเวนินได้อย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรทดลองตามทฤษฎี ของเทเวนินได้อย่างถูกต้อง
หน่วยกำรเรียนรู้สมรรถนะรำยวิชำและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง 1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม 3. การแบ่งกลุ่ม การจัดเวร ต้องท าด้วยความสมัครใจ ตามระบอบประชาธิปไตย 4. ครู เน้นย้ าให้ผู้เรียนตระหนักถึงโทษของยาเสพติด อันตราย ของยาเสพติด การพยายามหนีหลีกให้ไกลจากยา เสพติด หน่วยที่ 10 ทฤษฎีของนอร์ตัน 10.1หลักการทฤษฎีของนอร์ตัน 10.2 กระแสและความต้านทานนอร์ตัน 10.3 วงจรสมมูลนอร์ตัน 10.4 หาค่าปริมาณทางไฟฟ้าด้วย ทฤษฎีของนอร์ตัน 10.5 ปฏิบัติการทดลองทฤษฎีของ นอร์ตัน สมรรถนะที่ 10 แสดงความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีของนอร์ตัน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 10 - จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีของ นอร์ตันได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายการหากระแสนอร์ตัน และความต้านทานนอร์ตันได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนวงจรสมมูลของนอร์ตัน ได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถค านวณหาค่าปริมาณทาง ไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของนอร์ตันได้อย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรเพื่อปฏิบัติการ ทดลองตามฎีของนอร์ตันได้อย่างถูกต้อง - ด้ำนคุณธรรม จริยธรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง
1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์คือความมี มนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที 2. หลังเลิกเรียน ต้องจัดเก้าอี้เข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บขยะ ปิดไฟ ปิดพัดลม ตำรำงวิเครำะห์หลักสูตรรำยวิชำ ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย ความรู้ ความข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ล าดับความส าคัญ จ านวนชั่วโมง 1. แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 2 1 2 1 2 10 2. การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2 2 2 1 2 15 3. กฎของโอห์ม 2 2 2 1 2 5 4. ก าลังไฟฟ้า 2 2 2 1 2 10 5. กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 2 2 2 1 2 5 6. กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 2 2 2 1 2 5 7. ทฤษฎีกระแสเมช 2 2 2 1 2 10 8. วิธีแรงดันโนด 2 2 2 1 2 10 9. ทฤษฎีของเทเวนิน 2 2 2 1 2 10 10. ทฤษฎีของนอร์ตัน 2 2 2 1 2 10 รวม 20 19 20 10 20 90 ล าดับความส าคัญ 1 2 1 3 ตำรำงวิเครำะห์หน่วยกำรเรียนรู้และเวลำที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ / รำยกำรที่สอน สัปดำห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 แหล่งก ำเนิดไฟฟ้ำ 1-2 1-10 1.1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1.2 ไฟฟ้าสถิต 1.3 ไฟฟ้ากระแส
1.4 ไฟฟ้ากระแสตรง 1.5 ปฏิบัติการทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 2 กำรต่อเซลล์ไฟฟ้ำ 3-5 11-25 2.1 เซลล์ไฟฟ้า 2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 3 กฎของโอห์ม 6 26-30 3.1 กฎของโอห์ม 3.2 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้า (Current) 3.3 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) 3.4 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้า (Resistor) 4 ก ำลังไฟฟ้ำ 7-8 31-40 4.1 ก าลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง 4.2 ตัวอย่างการค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้า 4.3 ปฏิบัติการทดลองหาก าลังไฟฟ้าที่โหลด 5 กฎกระแสไฟฟ้ำของเคอร์ชอฟฟ์ 9 41-45 5.1 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 5.2 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์ 5.3 ตัวอย่างการแก้ปัญหาโจทย์ 5.4 ปฏิบัติการทดลองโดยใช้กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 6 กฎแรงดันไฟฟ้ำของเคอร์ชอฟฟ์ 10 46-50 6.1 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 6.2 ตัวอย่างการค านวณโดยใช้กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ 6.3 ปฏิบัติการทดลองโดยใช้กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
ตำรำงวิเครำะห์หน่วยกำรเรียนรู้และเวลำที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จ ำนวน 3 หน่วยกิต 5 ชม./สัปดำห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ / รำยกำรที่สอน สัปดำห์ที่ ชั่วโมงที่ 7 ทฤษฎีกระแสเมช 11-12 51-60 7.1 ทฤษฎีกระแสเมช 7.2 สมมติกระแสไหลวน 7.3 สมการกระแส 7.4 ตัวอย่างการค านวณ ทฤษฎีกระแสเมช 8 วิธีแรงดันโนด 13-14 61-70 8.1 โนด 8.2 โนดหลัก 8.3 โนดเปรียบเทียบ 8.4 แรงดันโนด 8.5 ตังอย่างการแก้ปัญหาโจทย์ 8.6 ปฏิบัติการทดลองตามวิธีแรงดันโนด 9 ทฤษฎีของเทเวนิน 15-16 71-80 9.1 หลักการทฤษฎีของเทเวนิน 9.2 แรงดันเทเวนิน 9.3 ความต้านทานเทเวนิน 9.4 วงจรสมมูลย์เทเวนิน 9.5 ค านวณหาค่าปริมาณทางไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของเทเวนิน 9.6 ปฏิบัติการทดลองทฤษฎีของเทเวนิน 10 ทฤษฎีของนอร์ตัน 17-18 81-90 10.1 หลักการทฤษฎีของนอร์ตัน 10.2 กระแสและความต้านทานนอร์ตัน 10.3 วงจรสมมูลนอร์ตัน 10.4 หาค่าปริมาณทางไฟฟ้าด้วยทฤษฎีของนอร์ตัน 10.5 ปฏิบัติการทดลองทฤษฎีของนอร์ตัน
แผนกำรสอน/จัดกำรเรียนรู้ภำคทฤษฎี หน่วยที่1 ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 สอนครั้งที่1-2 ชื่อหน่วย แหล่งก าเนิดไฟฟ้า คำบรวม 90 ชม. ชื่อเรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า จ ำนวน 5 คำบ 1. หัวข้อเรื่อง 1.1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1.2 ไฟฟ้าสถิต 1.3 ไฟฟ้ากระแส 1.4 ไฟฟ้ากระแสตรง 1.5 ปฏิบัติการทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 2. สำระส ำคัญ แหล่งก าเนิดไฟฟ้าเรียกว่า พาวเวอร์ ซอร์ส ( Power Source ) เป็นหัวใจหลักส าคัญในการท างานของ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ซึ่งจะต้องจ่ายกระแสไฟฟ้า ไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ เช่น หลอดไฟฟ้า วิทยุ โทรทัศน์ พัดลม มอเตอร์ และ เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ แหล่งก าเนิดไฟฟ้ามีทั้งไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส ไฟฟ้ากระแสยังแบ่งเป็นไฟฟ้า กระแสตรง กระแสสลับ 3. สมรรถนะอำชีพประจ ำหน่วย (สิ่งที่ต้องกำรให้เกิดกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ ทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ เข้ำด้วยกัน) 3.1 หลักควำมพอประมำณ 3.1.1 นักศึกษารู้จักคิดและวิเคราะห์ในเรื่องแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 3.1.2 นักศึกษาจัดสรรเวลาในการเรียนรู้แหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้อย่างเหมาะสม 3.1.3 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 3.1.4 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม 3.2 หลักควำมมีเหตุผล 3.2.1 นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญเรื่องแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 3.2.2 แสดงความรู้เกี่ยวกับแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง มีเหตุผล และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 3.2.3 เลือกใช้วัสดุและเครื่องมืออุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน 3.2.4 กล้าแสดงความคิดเห็นในการเรียนอย่างมีเหตุผล 3.2.5 กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3.2.6 กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 3.2.7 มีความคิดวิเคราะห์การท างานอย่างเป็นระบบ
4. จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง (ด้ำนควำมรู้ ด้ำนทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และด้ำนควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ 4.1 จุดประสงค์ทั่วไป 4.1.1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถรู้จักแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 4.1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถรู้จัก ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส 4.1.3 เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับขดวดแดมเปอร์ 4.1.4 เพื่อให้นักศึกษาต่อวงจรและทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง 4.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4.2.1 เพื่อให้นักศึกษาบอกแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง 4.2.2 เพื่อให้นักศึกษาอธิบายลักษณะไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแสได้ถูกต้อง 4.2.3 เพื่อให้นักศึกษาอธิบาย ลักษณะไฟฟ้ากระแสตรงและแหล่งก าเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 4.2.4 เพื่อให้นักศึกษาต่อวงจรและทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง 5. เนื้อหำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้ 5.1 ด้ำนควำมรู้ 5.1.1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า แหล่งก าเนิดไฟฟ้า คือ แหล่งก าเนิดพลังงานไฟฟ้า เพื่อใช้ป้อนให้อุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆ เป็นการให้พลังงานแก่อิเล็กตรอนอิสระ ท าให้อิเล็กตรอนอิสระวิ่งเคลื่อนที่ไปตามอะตอมต่างๆได้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงพลังงานไปในรูปต่างๆ เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อนพลังงานแสงเป็นต้น ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้จาก แหล่งก าเนิดหลายชนิดแตกต่างกันไป 5.1.2 ไฟฟ้าสถิต ไฟฟ้าสถิต (Static electricity หรือ Electrostatic Charges) เป็นปรากฏการณ์ที่ ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด,การผลักกันและเกิดประกาย ไฟ 5.1.3 ไฟฟ้ากระแส คือ การไหลของอิเล็กตรอนภายใน ตัวน าไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเช่น ไหลจาก แหล่งก าเนิดไฟฟ้าไปสู่แหล่ง ที่ต้องการใช้กระ แสไฟฟ้า ซึ่งก่อให้เกิด แสงสว่าง เมื่อกระแส ไฟฟ้าไหลผ่านลวด ความ ต้านทานสูงจะก่อให้ เกิดความร้อน เราใช้หลักการเกิดความร้อน เช่นนี้มาประดิษฐ์อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เตาหุงต้ม เตา รีดไฟฟ้า เป็นต้น ไฟฟ้ากระแสแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ - ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct Current หรือ D .C ) - ไฟฟ้ากระแสสลับ ( Alternating Current หรือ A.C. ) 5.1.4 ไฟฟ้ากระแสตรง เป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลไปทางเดียวตลอดระยะเวลาที่วงจรไฟฟ้าปิด กล่าวคือกระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวก ภายในแหล่งก าเนิด ผ่านจากขั้วบวกจะไหลผ่านตัวต้านหรือโหลดผ่านตัวน า ไฟฟ้าแล้ว ย้อนกลับเข้าแหล่งก าเนิดที่ขั้วลบ วนเวียนเป็นทางเดียวเช่นนี้ตลอดเวลา การไหลของไฟฟ้ากระแสตรง เช่นนี้ แหล่งก าเนิดที่เรารู้จักกันดีคือ ถ่าน-ไฟฉาย ไดนาโม ดีซี เยนเนอเรเตอร์ เป็นต้น
ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไฟฟ้ากระแสตรงประเภทสม่ าเสมอ (Steady D.C) เป็นไฟฟ้ากระแสตรง อันแท้จริง คือ เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ที่ไหลอย่างสม่ าเสมอตลอดไปไฟฟ้ากระแสตรงประเภทนี้ได้มาจากแบตเตอรี่หรือ ถ่านไฟฉาย 5.1.5 ปฏิบัติการทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 6. กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้ 6.1 กิจกรรมครู 6.1.1 ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน - ครูอธิบายแหล่งก าเนิดไฟฟ้า - นักเรียนฟังครูอธิบายโครงสร้างและส่วนประกอบและซักถามข้อสงสัย - ครูสรุปเรื่องโครงสร้างและส่วนประกอบ และน าเข้าสู่บทเรียน 6.1.2 ขั้นสอน - ครูอธิบายแหล่งก าเนิดไฟฟ้า - ครูอธิบายและสาธิตแหล่งก าเนิดไฟฟ้า - ครูให้นักเรียนสรุปแหล่งก าเนิดไฟฟ้า 6.1.3 ขั้นสรุป - ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา - นักเรียนซักถามข้อสงสัย - นักเรียนท าแบบประเมินผลการเรียนรู้ - นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.1.4 ขั้นประเมินผล - แบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 - แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การ ประเมินตามสภาพจริง 6.1.5 กิจกรรมนักเรียน - นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 4 คน ฟังครูอธิบายเรื่องแหล่งก าเนิดไฟฟ้า - นักเรียนดูครูอธิบายแหล่งก าเนิดไฟฟ้าและปฏิบัติงานที่ครูมอบหมาย 7. งำนที่มอบหมำยหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียนด้วยการท าแบบทดสอบออนไลน์ก่อนเรียน ในเรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 7.2 ขณะเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียน ขณะเรียนคือฟังการบรรยาย จดบันทึก และมีการถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียน
7.3 หลังเรียน นักเรียนท าแบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 8. ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมส ำเร็จของผู้เรียน แบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ 9. สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาวงจรไฟฟ้า 1 10. แหล่งกำรเรียนรู้ 10.1 ในสถำนศึกษำ ห้องที่ใช้ในการเรียนการสอน สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง 10.2 นอกสถำนศึกษำ สร้างขึ้นในชั้นเรียนออนไลน์ Google Meet และส่งงานในชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom 11. กำรบูรณำกำร/ควำมสัมพันธ์กับวิชำอื่น สามารถบูรณาการกับวิชามอเตอร์กระแสสลับได้ 12. กำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1.1 ก่อนเรียน 1. สังเกตการเข้าชั้นเรียน 2. สังเกตจากความพร้อมก่อนเรียน 3. สังเกตผลการทดสอบก่อนเรียน 12.1.2 ขณะเรียน 1. สังเกตความสนใจ 2. สังเกตการตอบค าถามของนักเรียน 3. สังเกตจากการปฏิบัติงาน 12.1.3 หลังเรียน ท าการวัดผลด้วยการให้นักเรียน ท าแบบทดสอบ เรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 12.2 รำยละเอียดกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.2.1 เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบหน่วยเรียนรู้ที่ 1 2. แบบประเมินพฤติกรรม 12.2.2 เกณฑ์การประเมิน 1. ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2. ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมในระดับ ดี
13. บันทึกหลังสอน 13.1 ผลกำรใช้แผนกำรสอน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.2 ผลกำรเรียนของนักเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 13.3 ผลกำรสอนของครู ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.......................................................... (นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี) ครูผู้สอน
แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ออนไลน์ ด้ำนพุทธิพิสัย 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถรู้จัก แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถรู้จัก ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับขดวด แดมเปอร์ 4. เพื่อให้นักศึกษาต่อวงจรและ ทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง เนื้อหำ 1.1 แหล่งก าเนิดไฟฟ้า 1.2 ไฟฟ้าสถิต 1.3 ไฟฟ้ากระแส 1.4 ไฟฟ้ากระแสตรง 1.5 ปฏิบัติการทดสอบ แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ขั้นน ำ ผู้สอนสนทนากับผู้เรี เกี่ย วกับแหล่งก าเ ไฟฟ้า ขั้นสอน ครูบรรยายเนื้อหาเรื่อง แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ขั้นสรุป ครูสรุปเนื้อหาในบทเรี ด้ำนทักษะพิสัย 1. เพื่อให้นักศึกษาบอกแหล่งก าเนิด ไฟฟ้าได้ถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายลักษณะ ไฟฟ้ าสถิตและไฟฟ้ าก ระแสได้ ถูกต้อง
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่1-2 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง 2 ชั้นปีปวส.1 ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี รู้ สื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล รียน นิ ด ง รียน แอปพลิเคชั่น - Google Meet - Google Classroom - Facebook https://classroom.google.com/c/ MzU4OTMxOTg3ODgw?cjc=wig4iie แบบฝึกหัด
3. เพื่อให้นักศึกษาอธิบาย ลักษณะ ไฟฟ้ากระแสตรงและแหล่งก าเนิด ไฟฟ้ากระแสตรง แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย แหล่งก าเนิดไฟฟ้า ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 ชั้น จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียน ออนไลน์ 4. เพื่อให้นักศึกษาต่อวงจรและ ทดสอบแหล่งก าเนิดไฟฟ้าได้ถูกต้อง ด้ำนจิตพิสัย ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึง ประสงค์คือความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ ประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่1-2 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง นปีปวส.1 (ทวิภาคี) ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี นรู้ สื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล
แผนกำรสอน/จัดกำรเรียนรู้ภำคทฤษฎี หน่วยที่2 ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 สอนครั้งที่3-5 ชื่อหน่วย การต่อเซลล์ไฟฟ้า คำบรวม 90 ชม. ชื่อเรื่อง การต่อเซลล์ไฟฟ้า จ ำนวน 5 คำบ 1. หัวข้อเรื่อง 2.1 เซลล์ไฟฟ้า 2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม 2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน 2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม 2. สำระส ำคัญ การต่อเซลล์ไฟฟ้า หมายถึง การน าเซลล์ไฟฟ้ามาต่อเข้าด้วยกัน โดยปกติเซลล์ไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉายจะ มีค่าแรงดัน 1.5 โวลท์ การน าเอาเซลล์ไฟฟ้ามาต่อรวมกันเข้า จะท าให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า เปลี่ยนแปลงไปจากค่าเดิม มีวิธีการน าเซลล์ไฟฟ้ามาต่อ 3 วิธี 1. การต่อแบบอนุกรม (Series Cell) 2. การต่อแบบขนาน (Parallel Cell) 3. การต่อแบบผสม (Series Cell – Parallel Cell) 3. สมรรถนะอำชีพประจ ำหน่วย (สิ่งที่ต้องกำรให้เกิดกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ ทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ เข้ำด้วยกัน) 3.1 หลักควำมพอประมำณ 3.1.1 นักศึกษารู้จักคิดและวิเคราะห์ในเรื่องการต่อเซลล์ไฟฟ้า 3.1.2 นักศึกษาจัดสรรเวลาในการเรียนรู้การต่อเซลล์ไฟฟ้าได้อย่างเหมาะสม 3.1.3 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 3.1.4 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม 3.2 หลักควำมมีเหตุผล 3.2.1 นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญเรื่องการต่อเซลล์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 3.2.2 แสดงความรู้เกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง มีเหตุผล และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 3.2.3 เลือกใช้วัสดุและเครื่องมืออุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน 3.2.4 กล้าแสดงความคิดเห็นในการเรียนอย่างมีเหตุผล 3.2.5 กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3.2.6 กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 3.2.7 มีความคิดวิเคราะห์การท างานอย่างเป็นระบบ
4. จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง (ด้ำนควำมรู้ ด้ำนทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และด้ำนควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนานได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสมได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษามีกิจนิสัยในการค้นคว้าได้อย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการต่อเซลล์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนานได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสมได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบต่างๆได้ถูกต้องได้อย่างถูกต้อง 5. เนื้อหำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้ 5.1 ด้ำนควำมรู้ 5.1.1 เซลล์ไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้าเคมีประกอบด้วยสองครึ่งเซลล์ แต่ละครึ่งเซลล์ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า และอิเล็กโทรไลต์อย่างละหนึ่งตัว สองครึ่งเซลล์อาจใช้อิเล็กโทรไลต์เดียวกันหรือต่างกัน ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์อาจ เกี่ยวข้องกับทั้งอิเล็กโทรไลต์และขั้วไฟฟ้าและ/หรือกับสารภายนอก (เช่นในเซลล์เชื้อเพลิงที่อาจใช้แก๊สไฮโดรเจนเป็น ตัวท าปฏิกิริยา) ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีเต็มรูปแบบ สารละลายในหนึ่งครึ่งเซลล์จะสูญเสียอิเล็กตรอน (ออกซิเดชัน) ให้กับ ขั้วไฟฟ้าของมันในขณะที่สารละลายในอีกหนึ่งครึ่งเซลล์ได้อิเล็กตรอนเพิ่ม (รีดักชัน) จากขั้วไฟฟ้าของมัน 5.1.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า การน าเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อกันเพื่อให้เซลล์เหล่านั้นท างานร่วมกัน สามารถต่อได้ 3 วิธี คือ การต่อแบบอนุกรมหรืออันดับ การต่อแบบขนาน และการต่อแบบผสม ซึ่งการต่อเซลล์ไฟฟ้า ทั้ง 3 แบบ จะให้ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่แตกต่างกัน 5.1.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม การต่อเซลล์แบบอนุกรม หรือแบบอันดับ เป็นการต่อขั้วบวกของ เซลล์แรก กับขั้วลบของเซลล์ถัดไป เรียงกันไปตามล าดับ เมื่อต่อเสร็จเรียบร้อยแล้วจะเหลือปลายอยู่สองขั้ว ปลายข้าง หนึ่งเป็นขั้วบวก อีกปลายจะเป็นขั้วลบ เพื่อใช้ต่อกับวงจรภายนอก การต่อเซลล์แบบนี้จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวมมากขึ้น พร้อมกับความต้านทานภายในก็เพิ่มขึ้นด้วย เพราะ แรงเคลื่อนไฟฟ้ารวม เท่ากับผลบวกของแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแต่ละเซลล์ และความต้านทานภายในรวม ก็เท่ากับ ผลบวกของความต้านทานภายในของแต่ละเซลล์เช่นกัน กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเซลล์ทุกๆ เซลล์จะเท่ากันหมด ซึ่งจะ เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรภายนอกเซลล์ด้วย
ถ้าเซลล์ไฟฟ้าทุกเซลล์ที่น ามาต่อกันแบบอนุกรมนี้ มีจ านวน n เซลล์ และทุกเซลล์มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากัน คือ E โวลต์ และความต้านทานภายในของแต่ละเซลล์เป็น r โอห์ม น าไปต่อกับความต้านทานภายนอก R โอห์ม จากกฎ ของโอห์ม เราสามารถหาค่ากระแสไฟฟ้าได้จากสูตร ตัวอย่ำง ในการน าเซลล์ไฟฟ้าที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 1.5 โวลต์ มาต่อกันแบบอนุกรม 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มีความ ต้านทานภายใน 1 โอห์ม เมื่อน าไปต่อกับความต้านทานดังรูปแล้ว ให้หากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร วิธีท ำ ค่าความต้านทานภายนอกรวม = R1+ R2 + R3 = 2 + 4 + 6 = 12 Ω จากโจทย์ E = 1.5 โวลต์, R = 12 โอห์ม, r = 1 โอห์ม, n = 4 แทนค่าในสูตร 5.1.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนาน การต่อเซลล์แบบขนานเป็นการต่อขั้วบวกของเซลล์แต่ละเซลล์เข้า ด้วยกัน และต่อขั้วลบของแต่ละเซลล์เข้าด้วยกัน แล้วจึงน าไปต่อกับวงจร การต่อเซลล์แบบนี้ท าให้แรงเคลื่อนไฟฟ้า รวมเท่ากับเซลล์เดียว แต่ความต้านทานภายในลดลง จึงเหมาะส าหรับใช้งานที่ต้องการกระแสไฟฟ้าน้อย แต่ใช้เป็น ระยะเวลานานๆ มากกว่าการใช้เซลล์ไฟฟ้าเพียงเซลล์เดียว
จากกฎของโอห์ม เราสามารถหาค่ากระแสไฟฟ้าได้จากสูตร ตัวอย่ำง เซลล์ไฟฟ้าแต่ละเซลล์มีแรงเคลื่อน 2 โวลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม น ามาต่อขนานกัน 20 เซลล์ แล้วต่อเข้ากับ วงจรภายนอก ซึ่งมีความต้านทาน 50 โอห์ม จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจร วิธีท ำ จากโจทย์ E = 2 โวลต์, R = 50 โอห์ม, r = 1 โอห์ม, n = 20 แทนค่าในสูตร 5.1.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสม การต่อเซลล์แบบผสมเป็นการต่อเซลล์ทั้งแบบอนุกรม และแบบ ขนานร่วมกันในวงจรเดียวกัน เมื่อค านวณจะต้องคิดทั้งการต่อแบบอนุกรม และแบบขนานร่วมกัน ถ้าเซลล์ทุกเซลล์มี ลักษณะเหมือนๆ กัน แล้วต่อกันเป็นแถว ในแต่ละแถวมีจ านวนเซลล์เท่าๆ กัน แล้วสามารถค านวณได้ โดยให้ เราสามารถหาค่ากระแสไฟฟ้าได้จากสูตร
ตัวอย่ำง จากวงจรในภาพประกอบด้วยเซลล์ที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ละ 1.5 โวลต์ มีความต้านทานภายในเซลล์ละ 0.03 โอห์ม จงหากระแสที่ไหลในวงจร วิธีท ำ หาความต้านทานภายนอก ซึ่ง R1 , R2 , R3 ต่อกันแบบขนาน หาความต้านทานรวมได้ r จากรูป Rรวม ต่ออนุกรมกับ R4 และ R5 จะได้ความต้านทานรวมทั้งหมด R = 1 + 1 + 1 = 3 โอห์ม จากโจทย์ E = 1.5 โวลต์, R = 3 โอห์ม, x = 3, y = 3 แทนค่าในสูตร 6. กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้ 6.1 กิจกรรมครู 6.1.1 ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน - ครูอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้า - นักเรียนฟังครูอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้าและซักถามข้อสงสัย - ครูสรุปเรื่องการต่อเซลล์ไฟฟ้าและน าเข้าสู่บทเรียน 6.1.2 ขั้นสอน - ครูอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้า - ครูอธิบายและสาธิตการต่อเซลล์ไฟฟ้า - ครูให้นักเรียนสรุปแหล่งการต่อเซลล์ไฟฟ้า 6.1.3 ขั้นสรุป - ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา - นักเรียนซักถามข้อสงสัย - นักเรียนท าแบบประเมินผลการเรียนรู้ - นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
6.1.4 ขั้นประเมินผล - แบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 - แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การ ประเมินตามสภาพจริง 6.1.5 กิจกรรมนักเรียน - นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 4 คน ฟังครูอธิบายเรื่องการต่อเซลล์ไฟฟ้า - นักเรียนดูครูอธิบายการต่อเซลล์ไฟฟ้า และปฏิบัติงานที่ครูมอบหมาย 7. งำนที่มอบหมำยหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียนด้วยการท าแบบทดสอบออนไลน์ก่อนเรียน ในเรื่อง การต่อเซลล์ไฟฟ้า 7.2 ขณะเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียน ขณะเรียนคือฟังการบรรยาย จดบันทึก และมีการถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียน 7.3 หลังเรียน นักเรียนท าแบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ เรื่อง การต่อเซลล์ไฟฟ้า 8. ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมส ำเร็จของผู้เรียน แบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ 9. สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาวงจรไฟฟ้า 1 10. แหล่งกำรเรียนรู้ 10.1 ในสถำนศึกษำ ห้องที่ใช้ในการเรียนการสอน สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง 10.2 นอกสถำนศึกษำ สร้างขึ้นในชั้นเรียนออนไลน์ Google Meet และส่งงานในชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom 11. กำรบูรณำกำร/ควำมสัมพันธ์กับวิชำอื่น สามารถบูรณาการกับวิชามอเตอร์กระแสสลับได้ 12. กำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1.1 ก่อนเรียน 1. สังเกตการเข้าชั้นเรียน 2. สังเกตจากความพร้อมก่อนเรียน 3. สังเกตผลการทดสอบก่อนเรียน
12.1.2 ขณะเรียน 1. สังเกตความสนใจ 2. สังเกตการตอบค าถามของนักเรียน 3. สังเกตจากการปฏิบัติงาน 12.1.3 หลังเรียน ท าการวัดผลด้วยการให้นักเรียน ท าแบบทดสอบ เรื่อง การต่อเซลล์ไฟฟ้า 12.2 รำยละเอียดกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.2.1 เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบหน่วยเรียนรู้ที่ 2 2. แบบประเมินพฤติกรรม 12.2.2 เกณฑ์การประเมิน 1. ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2. ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมในระดับ ดี
13. บันทึกหลังสอน 13.1 ผลกำรใช้แผนกำรสอน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… 13.2 ผลกำรเรียนของนักเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………… 13.3 ผลกำรสอนของครู ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ.......................................................... (นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี ครูผู้สอน
แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย การต่อเซลล์ไฟฟ้า ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียน ออนไลน์ ด้ำนพุทธิพิสัย 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้า แบบอนุกรมได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้า แบบขนานได้อย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อเซลล์ไฟฟ้า แบบผสมได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษามีกิจนิสัยในการค้นคว้า ได้อย่างถูกต้อง 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการต่อ เซลล์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง เนื้อหำ 2.1 เซลล์ไฟฟ้า 2.2 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ อนุกรม 2.4 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ขนาน 2.5 การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ผสม ขั้นน ำ ผู้ ส อ น ส น ท น า กับ ผู้ เ เกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้ ขั้นสอน ครูบรรยายเนื้อหาเรื่อง การต่อเซลล์ไฟฟ้า ขั้นสรุป ครูสรุปเนื้อหาในบทเรียน ด้ำนทักษะพิสัย 1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจการต่อ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมได้อย่างถูกต้อง
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่3-5 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง 2 ชั้นปีปวส.1 ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี นรู้ สื่อกำรเรียนรู้ ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล เ รี ย น ฟ้า น แอปพลิเคชั่น - Google Meet - Google Classroom - Facebook https://classroom.google.com/c/ MzU4OTMxOTg3ODgw?cjc=wig4iie แบบฝึกหัด
แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย การต่อเซลล์ไฟฟ้า ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียน ออนไลน์ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบขนานได้อย่าง ถูกต้อง 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบผสมได้อย่าง ถูกต้อง 4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อ เซลล์ไฟฟ้าแบบต่างๆได้ถูกต้องได้ อย่างถูกต้อง ด้ำนจิตพิสัย ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึง ประสงค์คือความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ ประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่3-5 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง 2 ชั้นปีปวส.1 ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี นรู้ สื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล
แผนกำรสอน/จัดกำรเรียนรู้ภำคทฤษฎี หน่วยที่3 ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 สอนครั้งที่6 ชื่อหน่วย กฎของโอห์ม คำบรวม 90 ชม. ชื่อเรื่อง กฎของโอห์ม จ ำนวน 5 คำบ 1. หัวข้อเรื่อง 3.1 กฎของโอห์ม 3.2 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้า (Current) 3.3 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) 3.4 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้า (Resistor) 2. สำระส ำคัญ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์เก ซิโมน โอห์ม(George Simon Ohm) ได้ค้นพบความสัมพันธ์ ระหว่างกระแสไฟฟ้า เรียกว่า เคอร์เรนท์ (Current) ใช้อักษรย่อ I แรงดันไฟฟ้า เรียกว่า โวลท์เตจ(Voltage) ใช้อักษร ย่อ E หรือ V และความต้านทานไฟฟ้า เรียกว่า รีซิสเตอร์(Resistor) ใช้อักษรย่อ R ซึ่งกล่าวไว้ว่า “ในวงจรไฟฟ้าใด ๆ กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้า (I E) และจะแปรผกผันกับความต้านทาน (I R 1 ) 3. สมรรถนะอำชีพประจ ำหน่วย (สิ่งที่ต้องกำรให้เกิดกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ ทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ เข้ำด้วยกัน) 3.1 หลักควำมพอประมำณ 3.1.1 นักศึกษารู้จักคิดและวิเคราะห์ในเรื่องกฎของโอห์ม 3.1.2 นักศึกษาจัดสรรเวลาในการเรียนรู้กฎของโอห์มได้อย่างเหมาะสม 3.1.3 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 3.1.4 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม 3.2 หลักควำมมีเหตุผล 3.2.1 นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญเรื่องกฎของโอห์มได้อย่างถูกต้อง 3.2.2 แสดงความรู้เกี่ยวกับกฎของโอห์มได้อย่างถูกต้อง มีเหตุผล และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 3.2.3 เลือกใช้วัสดุและเครื่องมืออุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน 3.2.4 กล้าแสดงความคิดเห็นในการเรียนอย่างมีเหตุผล 3.2.5 กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3.2.6 กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 3.2.7 มีความคิดวิเคราะห์การท างานอย่างเป็นระบบ 4. จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้จุดประสงค์ทั่วไป /บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง (ด้ำนควำมรู้ ด้ำนทักษะ ด้ำน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และด้ำนควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำม รับผิดชอบจุดประสงค์ทั่วไป
1. ศึกษากฎของโอห์ม 2. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้า 3. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้า 4. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้า 5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติการต่อวงจร วัดแรงดัน กระแส จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกสูตรการค านวณที่ได้จากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 2. ค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 3. ค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 4. ค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้าจากกฎของโอห์มได้ถูกต้อง 5. ต่อวงจรวัดแรงดัน กระแส ได้ถูกต้อง 5. เนื้อหำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้ 5.1 ด้ำนควำมรู้ 5.1.1 กฎของโอห์ม ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวน าใด ๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันตกคร่อม คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต่างศักย์นั้น) เขียนเป็นสมการ จากกฎของโอห์มที่กล่าวไว้ว่า “ ในวงจรไฟฟ้าใด ๆ กระแสไฟฟ้าจะแปรผันโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้าและแปรผกผัน กับค่าความต้านทานของวงจร” เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ I = E/R เมื่อ I คือ กระแสไฟฟ้าของวงจร มีหน่วยเป็นแอมแปร์( A ) E คือ แรงดันไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลต์( V ) R คือ ความต้านทานของวงจร มีหน่วยเป็น โอห์ม เพื่อให้ง่ายแก่การจ าสามารถเขียนให้อยู่ในรูปสามเหลี่ยมได้ดังนี้ 5.1.2 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้า (Current) ตัวอย่างที่ 1 ให้ค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้าของวงจร
ภาพที่ 1 การค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้าของวงจร วิธีท า จากสูตร I = E/R = 15/15 = 1A ตอบ 5.1.3 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) ตัวอย่ำงที่2 ให้ค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจร ภำพที่2การค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจร วิธีท ำ จากสูตร E = IR = 2 x 10 = 20V ตอบ 5.1.4 การใช้กฎของโอห์มค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้า (Resistor) ตัวอย่ำงที่3 ให้ค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้าของวงจร ภำพที่3 การค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้าของวงจร วิธีท ำ จากสูตร R = E/I = 15/3 = 5 โอห์ม ตอบ
6. กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้ 6.1 กิจกรรมครู 6.1.1 ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน - ครูอธิบายกฎของโอห์ม - นักเรียนฟังครูอธิบายกฎของโอห์มและซักถามข้อสงสัย - ครูสรุปเรื่องกฎของโอห์มและน าเข้าสู่บทเรียน 6.1.2 ขั้นสอน - ครูอธิบายกฎของโอห์ม - ครูให้นักเรียนสรุปกฎของโอห์ม 6.1.3 ขั้นสรุป - ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา - นักเรียนซักถามข้อสงสัย - นักเรียนท าแบบประเมินผลการเรียนรู้ - นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.1.4 ขั้นประเมินผล - แบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 - แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การ ประเมินตามสภาพจริง 6.1.5 กิจกรรมนักเรียน - นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 4 คน ฟังครูอธิบายเรื่องกฎของโอห์ม - นักเรียนดูครูอธิบายกฎของโอห์ม และปฏิบัติงานที่ครูมอบหมาย 7. งำนที่มอบหมำยหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียนด้วยการท าแบบทดสอบออนไลน์ก่อนเรียน ในเรื่อง กฎของโอห์ม 7.2 ขณะเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียน ขณะเรียนคือฟังการบรรยาย จดบันทึก และมีการถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียน 7.3 หลังเรียน นักเรียนท าแบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ เรื่อง กฎของโอห์ม 8. ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมส ำเร็จของผู้เรียน แบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ 9. สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์
หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาวงจรไฟฟ้า 1 10. แหล่งกำรเรียนรู้ 10.1 ในสถำนศึกษำ ห้องที่ใช้ในการเรียนการสอน สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง 10.2 นอกสถำนศึกษำ สร้างขึ้นในชั้นเรียนออนไลน์ Google Meet และส่งงานในชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom 11. กำรบูรณำกำร/ควำมสัมพันธ์กับวิชำอื่น สามารถบูรณาการกับวิชามอเตอร์กระแสสลับได้ 12. กำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1.1 ก่อนเรียน 1. สังเกตการเข้าชั้นเรียน 2. สังเกตจากความพร้อมก่อนเรียน 3. สังเกตผลการทดสอบก่อนเรียน 12.1.2 ขณะเรียน 1. สังเกตความสนใจ 2. สังเกตการตอบค าถามของนักเรียน 3. สังเกตจากการปฏิบัติงาน 12.1.3 หลังเรียน ท าการวัดผลด้วยการให้นักเรียน ท าแบบทดสอบ เรื่อง กฎของโอห์ม 12.2 รำยละเอียดกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.2.1 เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบหน่วยเรียนรู้ที่ 3 2. แบบประเมินพฤติกรรม 12.2.2 เกณฑ์การประเมิน 1. ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า 50% ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์ 2. ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมในระดับ ดี
13. บันทึกหลังสอน 13.1 ผลกำรใช้แผนกำรสอน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13.2 ผลกำรเรียนของนักเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… 13.3 ผลกำรสอนของครู ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.......................................................... (นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี) ครูผู้สอน
แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย กฎของโอห์ม ส ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ออนไลน์ ด้ำนพุทธิพิสัย 1. ศึกษากฎของโอห์ม 2. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหา ค่ากระแสไฟฟ้า 3. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหา ค่าแรงดันไฟฟ้า 4. ศึกษาการใช้กฎของโอห์มค านวณหา ค่าความต้านทานไฟฟ้า 5. เพื่อให้สามารถปฏิบัติการต่อวงจร วัด แรงดัน กระแสต่อเซลล์ไฟฟ้าได้อย่าง ถูกต้อง เนื้อหำ 3.1 กฎของโอห์ม 3.2 การใช้กฎของโอห์ม ค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้า (Current) 3.3 การใช้กฎของโอห์ม ค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้า (Voltage) 3.4 การใช้กฎของโอห์ม ค านวณหาค่าความต้านทาน ไฟฟ้า (Resistor) ขั้นน ำ ผู้ส อนสนทน ากับผู้เ รี เกี่ยวกับกฎของโอห์ม ขั้นสอน ครูบรรยายเนื้อหาเรื่อง กฎของโอห์ม ขั้นสรุป ครูสรุปเนื้อหาในบทเรียน ด้ำนทักษะพิสัย 1. บอกสูตรการค านวณที่ได้จากกฎของ โอห์มได้ถูกต้อง 2. ค านวณหาค่ากระแสไฟฟ้าจากกฎของ โอห์มได้ถูกต้อง 3. ค านวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าจาก กฎของโอห์มได้ถูกต้อง
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่6 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง 2 ชั้นปีปวส.1 ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี รู้ สื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล รี ยน น แอปพลิเคชั่น - Google Meet - Google Classroom - Facebook https://classroom.google.com/c/ MzU4OTMxOTg3ODgw?cjc=wig4iie แบบฝึกหัด
แผนกำรจัดกำร หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย กฎของโอห์ม ส ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 รหัสวิชำ 30104-1002 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำควำมรู้ กิจกรรมกำรเรียน ออนไลน์ 4. ค านวณหาค่าความต้านทานไฟฟ้าจาก กฎของโอห์มได้ถูกต้อง 5. ต่อวงจรวัดแรงดัน กระแส ได้ถูกต้อง ด้ำนจิตพิสัย ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมที่พึงประสงค์ คือความมีมนุษย์สัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความประหยัด ความ สนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญู กตเวที
รเรียนรู้ออนไลน์ สอนครั้งที่6 ชั่วโมงรวม 90 ชั่วโมง 2 ชั้นปีปวส.1 ชื่อผู้สอน นาย พิสุทธิ์ เส็งศรี นรู้ สื่อกำรเรียนรู้ออนไลน์ แหล่งอ้ำงอิงออนไลน์ กำรวัด ประเมินผล
แผนกำรสอน/จัดกำรเรียนรู้ภำคทฤษฎี หน่วยที่4 ชื่อวิชำ วงจรไฟฟ้า 1 สอนครั้งที่7-8 ชื่อหน่วย ก าลังไฟฟ้า คำบรวม 90 ชม. ชื่อเรื่อง ก าลังไฟฟ้า จ ำนวน 5 คำบ 1. หัวข้อเรื่อง 4.1 ก าลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง 4.2 ตัวอย่างการค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้า 4.3 ปฏิบัติการทดลองหาก าลังไฟฟ้าที่โหลด 2. สำระส ำคัญ ก าลังไฟฟ้าเรียกว่า “อิเล็กตริคพาวเวอร์” (Electric Power) ใช้อักษรย่อ P ก าลังไฟฟ้า คือผลคูณของ แรงดันและกระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) ก าลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในวงจรที่มีภาระไฟฟ้า (Load) ที่เป็นตัว ต้านทาน ก าลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นกับตัวต้านทานจะเป็นในรูปของความร้อน 3. สมรรถนะอำชีพประจ ำหน่วย (สิ่งที่ต้องกำรให้เกิดกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ ทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำมรับผิดชอบ เข้ำด้วยกัน) 3.1 หลักควำมพอประมำณ 3.1.1 นักศึกษารู้จักคิดและวิเคราะห์ในเรื่องก าลังไฟฟ้า 3.1.2 นักศึกษาจัดสรรเวลาในการเรียนรู้ก าลังไฟฟ้าอย่างเหมาะสม 3.1.3 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี 3.1.4 นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มเพื่อนและสังคม 3.2 หลักควำมมีเหตุผล 3.2.1 นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญเรื่องก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 3.2.2 แสดงความรู้เกี่ยวกับก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง มีเหตุผล และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 3.2.3 เลือกใช้วัสดุและเครื่องมืออุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับงาน 3.2.4 กล้าแสดงความคิดเห็นในการเรียนอย่างมีเหตุผล 3.2.5 กล้ายอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3.2.6 กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้องอย่างถูกกาลเทศะ 3.2.7 มีความคิดวิเคราะห์การท างานอย่างเป็นระบบ 4. จุดประสงค์กำรสอน/กำรเรียนรู้จุดประสงค์ทั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง (ด้ำนควำมรู้ ด้ำนทักษะ ด้ำนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง และด้ำนควำมสำรถในกำรประยุกต์ใช้และควำม รับผิดชอบ
4.1 จุดประสงค์ทั่วไป 4.1.1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถศึกษาเรื่องก าลังไฟฟ้า 4.1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถ ศึกษาสูตรที่ใช้ในการค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้า 4.1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถศึกษาการค านวณ หาค่าก าลังไฟฟ้า 4.1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการทดลองหาก าลังไฟฟ้าที่โหลด 4.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4.2.1 เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกความหมายของก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 4.2.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกสูตรที่ใช้ในการค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 4.2.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถค านวณหาค่าก าลังไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง 4.2.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติการทดลองหาก าลังไฟฟ้าที่โหลด 5. เนื้อหำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้ 5.1 ด้ำนควำมรู้ 5.1.1 ก ำลังไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำกระแสตรง ก าลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาทีหรือวัตต์เขียนสมการ ได้ดังนี้… เมื่อ... P = ก าลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูลต่อวินาทีหรือวัตต์ W = พลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล t = เวลา มีหน่วยเป็นวินาที 5.1.2 ตัวอย่ำงกำรค ำนวณหำค่ำก ำลังไฟฟ้ำ เมื่อมีการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ต้องเสียค่าไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้า โดยคิดจากจ านวนพลังงานไฟฟ้าที่ เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆ ใช้ไป จะได้… W = P.t เมื่อ … P = ก าลังไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า ... (Watt ; W วัตต์)
t = เวลาที่ใช้ไฟฟ้า ... (s ; วินาที) W = พลังงานไฟฟ้าที่เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้ไป ... (J ; จูล) โดยปกติหน่วยของพลังงานไฟฟ้า เป็นวัตต์.วินาที ถ้าน ามาใช้กับพลังงานที่ใช้ จะไม่เหมาะสม เพราะเป็น หน่วยเล็ก ในทางปฏิบัติจึงคิดพลังงานไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์.ชั่วโมง หรือ ที่เรียกกันว่า “หน่วย หรือ ยูนิต (Unit)” 1 หน่วย (Unit) = 1 กิโลวัตต์.ชั่วโมง 5.1.3 ปฏิบัติกำรทดลองหำก ำลังไฟฟ้ำที่โหลด 6. กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้ 6.1 กิจกรรมครู 6.1.1 ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน - ครูอธิบายก าลังไฟฟ้า - นักเรียนฟังครูอธิบายก าลังไฟฟ้าและซักถามข้อสงสัย - ครูสรุปเรื่องก าลังไฟฟ้าและน าเข้าสู่บทเรียน 6.1.2 ขั้นสอน - ครูอธิบายก าลังไฟฟ้า - ครูอธิบายและสาธิตการหาค่าก าลังไฟฟ้า - ครูให้นักเรียนสรุปก าลังไฟฟ้า 6.1.3 ขั้นสรุป - ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเนื้อหา - นักเรียนซักถามข้อสงสัย - นักเรียนท าแบบประเมินผลการเรียนรู้ - นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.1.4 ขั้นประเมินผล - แบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 - แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การ ประเมินตามสภาพจริง 6.1.5 กิจกรรมนักเรียน - นักเรียนแบ่งกลุ่ม ออกเป็นกลุ่มละ 4 คน ฟังครูอธิบายเรื่องก าลังไฟฟ้า - นักเรียนดูครูอธิบายแหล่งก าเนิดไฟฟ้าและปฏิบัติงานที่ครูมอบหมาย
7. งำนที่มอบหมำยหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียนด้วยการท าแบบทดสอบออนไลน์ก่อนเรียน ในเรื่อง ก าลังไฟฟ้า 7.2 ขณะเรียน มีกิจกรรมให้นักเรียน ขณะเรียนคือฟังการบรรยาย จดบันทึก และมีการถาม-ตอบ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียน 7.3 หลังเรียน นักเรียนท าแบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ เรื่อง ก าลังไฟฟ้า 8. ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมส ำเร็จของผู้เรียน แบบทดสอบ จ านวน 10 ข้อ 9. สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือประกอบการเรียนรายวิชาวงจรไฟฟ้า 1 10. แหล่งกำรเรียนรู้ 10.1 ในสถำนศึกษำ ห้องที่ใช้ในการเรียนการสอน สาขาวิชาไฟฟ้าก าลัง 10.2 นอกสถำนศึกษำ สร้างขึ้นในชั้นเรียนออนไลน์ Google Meet และส่งงานในชั้นเรียนออนไลน์ Google Classroom 11. กำรบูรณำกำร/ควำมสัมพันธ์กับวิชำอื่น สามารถบูรณาการกับวิชามอเตอร์กระแสสลับได้ 12. กำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1 หลักกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ 12.1.1 ก่อนเรียน 1. สังเกตการเข้าชั้นเรียน 2. สังเกตจากความพร้อมก่อนเรียน 3. สังเกตผลการทดสอบก่อนเรียน 12.1.2 ขณะเรียน 1. สังเกตความสนใจ 2. สังเกตการตอบค าถามของนักเรียน 3. สังเกตจากการปฏิบัติงาน 12.1.3 หลังเรียน ท าการวัดผลด้วยการให้นักเรียน ท าแบบทดสอบ เรื่อง ก าลังไฟฟ้า