The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ว.Pa ผอ.ประสิทธิ์ วัชรินทร์พร (นำเสนอ PDF)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-08-22 22:02:22

ว.Pa ผอ.ประสิทธิ์ วัชรินทร์พร (นำเสนอ PDF)

ว.Pa ผอ.ประสิทธิ์ วัชรินทร์พร (นำเสนอ PDF)

ชื่อผู้รับการประเมิน นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร ต าแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะช านาญการพิเศษ เงินเดือน 42,540 บาท วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สังกัด ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภทของสถานศึกษา สถานศึกษา สถานศึกษาที่จัดการศึกษาอาชีวศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การฝึกอบรมวิชาชีพตามหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น


ภาระงาน จะมีภาระด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้น าทางวิชาการ ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์นวัตกรรม ด้านการบริหารงานชุมชนและ เครือข่ายและด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ เป็นไปตาม ก.ค.ศ ก าหนด โดยภาระงานด้านการบริหารวิชาการและความเป็นผู้น าทางวิชาการ จะมีการปฏิบัติการสอนไม่ต่ ากว่า…10..ชั่วโมง/สัปดาห์ (ต าแหน่งผู้อ านวยการสถานศึกษา ไม่ต่ ากว่า 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ และรองผู้อ านวยการสถานศึกษา ไม่ต่ ากว่า...10..ชั่วโมง/สัปดาห์) โดยมีการปฏิบัติการสอน/การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสถานศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้ เต็มเวลา สังเกตการสอนและสะท้อนผลการสอนร่วมกับครูในกิจกรรมเปิดชั้นเรียน จ านวน……2……..ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นผู้น ากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( PLC) ของโรงเรียน จ านวน…1….ชั่วโมง/สัปดาห์ นิเทศการสอนเพื่อเป็นพี่เลี้ยงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับครู จ านวน…6….ชั่วโมง/สัปดาห์ จัดกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้และอบรมบ่มนิสัยผู้เรียน จ านวน…1….ชั่วโมง/สัปดาห์ 1 ภาระงาน


ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา ด้านการบริหาร การเปลี่ยนแปลง เชิงกลยุทธ์ และนวัตกรรม 0 ด้านการบริหารงาน ชุมชนและเครือข่ายฯ ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ 1 2 3 4 5 2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.1 การวางแผนพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน 1.1.1 การพัฒนามาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยคิดค้น ปรับเปลี่ยนแผนพัฒนาที่สอดคล้อง กับนโยบายทุกระดับ ครอบคลุม - วิ ท ย า ลั ย ก า ร อ า ชี พ ห ลั ง ส ว น มีแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ที่ สามารถพัฒน าผู้เรียน ให้เป็นคนดีมี ความรู้ตามที่หลักสูตรที่ก าหนด สามารถ น าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ โดยที่ครูมีความสามารถ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญ มีการน าสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ ส่งผลให้สถานศึกษา มีการ บริหารจัดการงานทั้ง 4 ฝ่าย ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล - ผู้เรียนร้อยละ 90 ผ่านการประเมินตาม หลักสูตรสถานศึกษา - ครูร้อยละ 90 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคะแนนผล การประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR โด ย ร วม อ ยู่ใน ระ ดับ ย อดเยี่ ยมทุ ก มาตรฐาน 1.1.2 การประเมินความต้องการจ าเป็นของ ผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีกระบวนการที่ถูกต้อง และผู้ที่เกี่ย วข้องมีส่ วนร่ วมในกา รพัฒน า มาตรฐานการเรียนรู้ของผู้เรียนและมีการ ด าเนินการตามแผนเป็นแบบอย่างที่ดีและ สามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.2 การจัดท าและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดท าและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีความทันสมัย สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น โดยมีผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน มีส่วนร่วมในการคิดค้น ปรับเปลี่ยน การจัดท าหลักสูตรสถานศึกษามี องค์ประกอบถูกต้อง ครบถ้วน คือ มีวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้าง เวลาเรียน ค าอธิบายรายวิชา แนวด าเนินการจัดการ เรียนรู้ มีการน าหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริง ในการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ ติดตาม การใช้ หลักสูตร มีการน าผลการนิเทศ ติดตามและการ ประเมินผลการใช้หลักสูตรมาปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถ ให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีการพัฒนา หลักสูตรรายวิชาที่สามารถพัฒนาผู้เรียน ได้ตรงกับความต้องการของผู้เรียนและ ท้องถิ่นสถานประกอบการ - ครูร้อยละ 95 มีการพัฒนาหลักสูตร รายวิชา - ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร้อยละ 80 มีความ พึง พ อ ใ จ กั บ ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ที่ สถานศึกษาได้พัฒนา


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.3 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญและการปฏิบัติการสอน มีการคิดค้น ปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นส าคัญและปฏิบัติการสอน ครูมีการเตรียมการ จัดการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ การเลือกสื่อ และแหล่งเรียนรู้ เครื่องมือวัดผลประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แผนพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ มีเครื่องมือในการวัดและประเมินผลน าผลไป ปรับปรุงพัฒน ากระบ วนกา รจัดกา รเรียนรู้เป็น แบบอย่างที่ดี และสามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - ครู มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ มีการวิเคราะห์ผู้เรียน มีการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ มีการเลือกสื่อ และ แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ วัดผลประเมินผล จัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผนพัฒน า คุณภาพการศึกษาและเป็นไปตามมาตรฐาน การจัดการศึกษาของสถานศึกษา - ครู ร้อยละ 90 จัดท าแผนการ จัดการเรียนรู้ และบันทึกหลังการ สอน - ครู ร้อยละ 90 จัดท ารายงานการ ใ ช้ สื่ อ ก า รใ ช้ เ ค รื่ องมื อ วั ด ผ ล ประเมินผล


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.4 การส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาหรือการน าสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาหรือการน าสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ส่งเสริม สนับสนุนการน าสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ตรงตามที่หลักสูตรก าหนด ครูและนักเรียนสามารถใช้ สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษาบรรลุตาม วัตถุป ร ะสงค์ มีก า รติดต า มป ระ เมิน ผ ลคิดค้ น ปรับเปลี่ยน การใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษา มีการรายงานผลและน าไปปรับปรุง เป็นแบบอย่างที่ดี และสามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - ครู มีการพัฒนาหรือการน าสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ - ครู ร้อยละ 90 จัดท ารายงานการ ใ ช้/พัฒ น าสื่อ น วัตก ร รม แล ะ เทคโนโลยีทางการศึกษา


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.5 การนิเทศ ก ากับ ติดตาม ประเมินผล การนิเทศ ก ากับ ติดตาม ประเมินผล การจัดการ เรียนรู้ของครูในสถานศึกษา คิดค้น ปรับเปลี่ยน การ นิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ของครู โดยส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทาง วิชาชีพ และมีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถ านศึกษาอ ย่ างเป็น ระบบและต่อเนื่อง เป็น แบบอย่างที่ดีและสามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีแผนการ ด าเนินการนิเทศครูเพื่อพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษา - ครู ร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศ จากผู้อ านวยการ/รองผู้อ านวยการ/ หัวหน้าแผนกวิชาและ น าผลการ นิเทศไปพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ - วิทย าลัย ก า รอ า ชีพหลัง สว น มีคะแนนผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษ า SAR โดยรวมอยู่ใน ระดับ ยอดเยี่ยม


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน ด้านการบริหารวิชาการ และความเป็นผู้น า ทางวิชาการ 1 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 1.6 การศึกษา วิเคราะห์ หรือวิจัย เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ หรือวิจัย เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒน ากา รจัดก ารเรียนรู้เพื่อยกระดับคุณภ าพ การศึกษาของสถานศึกษาการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และน าผล ไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา เป็นแบบอย่างที่ดีด าเนินการรวมกลุ่ม ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู เพื่อแก้ปัญหาการ จัดการเรียนรู้ของผู้เรียน และจัดท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครู - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคุณภาพตาม มาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา - นักเรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ที่ผ่าน กระบวนการจากการรวมกลุ่มชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพครู - ครูร้อยละ 90 จัดท าด าเนินการ แก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของ ผู้เรียน และจัดท าวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒน าคุณภาพก า รจัดก า ร เรียนรู้ -ผู้อ านวยการมีส่วนร่วมในกา ร แก้ปัญหาผู้เรียนผ่านชุมชนกา ร เรียนรู้ทางวิชาชีพครู และจัดท าวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา จ านวน 1 ผลงานและเผยแพร่สู่ สาธารณะชนผ่านช่องทางต่างๆที่ หลากหลาย


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 2 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 2.1 การบริหารจัดการสถานศึกษา การบริหารจัดการสถานศึกษา ให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและตามหลัก บริห ารกิจกา รบ้านเมืองที่ดี บ ริห า รจัดก า ร สถานศึกษา ด้านงานวิชาการ ด้านการบริหารงาน บุคคล ด้านงบประมาณด้านบริหารทั่วไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย ตามหลัก บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและเป็นแบบอย่างที่ดี - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคู่มือการ บริหารจัดการสถานศึกษาทั้ง 4 ฝ่าย และมี ค า สั่งม อ บห ม า ยง า น บ ริห า ร จั ด ก า ร สถานศึกษาเป็นไปตาม ระเบียบส านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการ บริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552 โดยยึดหลัก บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - ค รู ร้อ ยละ 90 ได้ รับก า รพัฒน า ศักยภาพเพื่อการพัฒนาทางด้านวิชาการ และวิชาชีพในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีผลการ บริห ารงบประมาณในกา รเบิก จ่าย งบประมาณ พ.ศ.2566 ร้อยละ 85 ขึ้น ไป - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคะแนน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR โดยรวมอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 2 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 2.2 การบริหารกิจการผู้เรียนและการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน การบริหารกิจการผู้เรียนและการส่งเสริม พัฒนาผู้เรียน คิดค้น ปรับเปลี่ยนการบริหารกิจการ ผู้เรียนและการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน มีสารสนเทศ และแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารกิจการ ผู้เรียนประชุมชี้แจงบุคลากร มอบหมายงาน มี กรรมการนักเรียนเครือข่ายผู้ปกครอง และจัด กิจกร รมช่ วยเหลือผู้เรียนมีกา รติดตามและ ประเมินผล มีรายงานผลการด าเนินการและน าผล ไปปรับปรุง เป็นแบบอย่างที่ดี - ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนา โดย ใช้กิจกรรมองค์การนักวิชาชีพในอนาคต แห่งประเทศไทยในการด าเนินการ และมี เครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น สถาน ป ระ กอ บก า รที่ให้ ก า รสนับสนุน ท าง การศึกษา - ผู้เรียนร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาตาม ศักยภาพ ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 2 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 2.3 การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนคิด คัน ป รับ เป ลี่ ย น ก า ร จั ด ร ะบบ ดู แ ล ช่วยเหลือผู้เรียนให้มีโอกาส ความเสมอ ภาค และลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา - ผู้เ รียนได้ รับกา รช่ วยเหลือต ามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเ รียน นักศึกษ าใน 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. การคัดกรองนักเรียน 3. การส่งเสริมนักเรียน (ส าหรับนักเรียน ทุกกลุ่ม) 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา (จ าเป็นอย่างมาก ส าหรับนักเรียน กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา) 5. ส่งต่อ 5.1 ส่งต่อภายใน 5.2 ส่งต่อภายนอก - ผู้เรียนร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาตาม ศักยภาพ ด้านการบริหารจัดการ สถานศึกษา


ด้านการบริหาร การเปลี่ยนแปลง เชิงกลยุทธ์ และนวัตกรรม 2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 3 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 3.1 การก าหนดนโยบาย กลยุทธ์ การก าหนดนโยบาย กลยุทธ์ การใช้เครื่องมือหรือ นวัตกรรมทางการบริหาร คิดค้น ปรับเปลี่ยนการ บริหารจัดการสถานศึกษาโดยมีกลยุทธ์ เครื่องมือ หรือ นวัตกรรมท างการบริห ารเชิงรุก ในการพัฒน า สถานศึกษาและคุณภาพผู้เรียนมีแผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับมาตรฐานภาระงานบริหาร โดยค านึงถึง ประโยชน์และความคุ้มค่าและมีการน าไปปฏิบัติจริง บรรลุผลตามเป้าหมายเป็นแบบอย่างที่ดี และสามารถ ให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวนมีแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ที่สามารถพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดีมีความรู้ตามที่หลักสูตร สามารถ น าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ - วิทย า ลัยก า รอ าชีพหลัง สว น มีคะแนนผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา SAR โดยรวมอยู่ใน ระดับ ยอดเยี่ยมทุกมาตรฐาน


ด้านการบริหาร การเปลี่ยนแปลง เชิงกลยุทธ์ และนวัตกรรม 2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 3 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 3.2 การบริหาร การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษา การบริหาร การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมใน สถานศึกษา เพื่อพัฒน าสถานศึกษ าบริหารการ เปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา สถานศึกษา โดยคิดค้น ปรับเปลี่ยนสร้างหรือน า นวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการพัฒน า สถานศึกษาและผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุน สร้างการมี ส่วนร่วมในการบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม ในสถานศึกษา ให้เกิดการพัฒนาสถนศึกษาอย่างยั่งยืน เป็นแบบอย่างที่ดี และสามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีนวัตกรรม การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และเผยแพร่ ให้แก่สถานศึกษาอาชีวศึกษาและหน่วยงาน อื่นๆ - นวัตกรรมที่จัดท าขึ้นสามารถ แก้ปัญหาและการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ ของผู้เรียนได้ และสามารถ เ ผ ย แ พ ร่ ใ ห้ แ ก่ ส ถ า น ศึ ก ษ า อาชีวศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ - วิทย า ลัยก า รอ าชีพหลัง สว น มีคะแนนผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา SAR โดยรวมอยู่ใน ระดับ ยอดเยี่ยมทุกมาตรฐาน


0 ด้านการบริหารงาน ชุมชนและเครือข่ายฯ 2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 4 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 4.1 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ คิดค้น ปรับเปลี่ยน สร้างความร่วมมืออย่าง ส ร้ าง ส ร ร ค์ กับ ผู้ เ รี ย น ค รู คณ ะ ก ร ร ม ก า ร สถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ชุมชน และ เครือข่ าย เพื่อพัฒน าการเรียนรู้ เสริมสร้าง คุณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม ช่ ว ย เห ลื อ แ ล ะพัฒ น า คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เ รียน เป็น แบบอย่างที่ดี - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีเครือข่าย ผู้ร่วมพัฒนาสถานศึกษา - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีการ ป ร ะ ชุ ม ผู้ ป ก ค ร อ ง แ ล ะ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร วิ ท ย า ลั ย / คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ไม่ น้อยกว่า 1 ครั้ง/ภาคเรียน - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคะแนน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา SAR โดยรวมอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยมทุก มาตรฐาน


0 ด้านการบริหารงาน ชุมชนและเครือข่ายฯ 2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 4 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 4.2 การจัดระบบการให้บริการในสถานศึกษา การจัดระบบการให้บริการในสถานศึกษา คิดค้น ปรับเปลี่ยน การจัดระบบการให้บริการใน สถานศึกษา โดยประสานความร่วมมือกับชุมชน และเครือข่ายในการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ให้บริการด้านวิชาการแก่ชุมชน และงานจิตอาสา เพื่อสร้างเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้แก่ผู้เ รียน สถ านศึกษ า และชุมชน และ เสริมสร้างวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นแบบอย่างที่ดี - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ได้รับการ สนับสนุน ท รัพ ย า ก ร เพื่ อ ก า รจั ดก า ร อ าชี ว ศึกษ า ทั้งในป ระเท ศแล ะห รื อ ต่างประเทศ ใน ด้านครูพิเศษ ครูภูมิปัญญา ท้องถิ่น ครูผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาน ป ร ะ ก อ บ ก า ร ด้ า น ง บ ป ร ะ ม า ณ ทุนการศึกษา วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ฯลฯ จากเครือข่ายผู้ร่วมพัฒนาสถานศึกษา - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ได้รับการ สนับสนุนจากเครือข่ายผู้ร่วมพัฒน า สถานศึกษาองค์กรภายนอกไม่น้อยกว่า 5 รายการ/ปี


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 3 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 5.1 การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ การพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ มีการพัฒนา ตนเองและวิชาชีพอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้ มีความรู้ ความสามารถ ทักษะโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สมรรถนะทาง วิชาชีพผู้บ ริห ารสถานศึกษ า และ รอบรู้ในกา ร บริหารงานมากยิ่งขึ้นมีส่วนร่วมและเป็นผู้น าในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นแบบอย่างที่ดี - ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ได้รับ การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ สามารถน า ความรู้ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการบริหาร จัดการสถานศึกษา - ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษา ได้พัฒนาตนเองและวิชาชีพ สามารถน าความรู้ ทักษะ ที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพไม่น้อย กว่า 20 ชั่งโมง/ปี ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ 5


2 งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งผู้บริหารสถาน 3 งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators) 5.2 การน าความรู้ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การน าความรู้ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการบริหารจัดการ สถานศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ครู และ สถานศึกษามีการน าความรู้ ทักษะ และนวัตกรรมที่ได้ จ า ก ก า รพั ฒ น า ต น เ อง แ ล ะ วิ ช า ชี พ ม า คิ ด ค้ น ปรับเปลี่ยนการบริการจัดการสถานศึกษา มีการปฏิบัติ จริง มีการติดตามประเมินผล และมีรายงานผลการใช้ นวัตกรรมการบริหาร และน าผลไปปรับปรุงเป็น แบบอย่างที่ดี และสามารถให้ค าปรึกษากับผู้อื่นได้ - วิทยาลัยการอาชีพหลังสวนมีนวัตกรรม การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และเผยแพร่ ให้แก่สถานศึกษาอาชีวศึกษาและหน่วยงาน อื่นๆ ได้ - วิทย า ลัยก า รอ าชีพหลัง สว น มีนวัตกรรมที่จัดท าขึ้นส ามารถ แก้ปัญหาและการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ ของผู้เรียนได้ และสามารถ เ ผ ย แ พ ร่ ใ ห้ แ ก่ ส ถ า น ศึ ก ษ า อาชีวศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ 5


ระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ประเด็นท้าทาย เรื่อง การบริหารสถานศึกษาเป็นภารกิจหลักของผู้บริหารที่จะต้องก าหนดแบบแผน วิธีการ และ ขั้นตอนต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบการประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นแนวทางในการ การขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาผลการวิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ปีการศึกษา 2561 ทั้ง 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน เกี่ยวกับ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการ พัฒนา จึงมีความสนใจเป็นอย่างยิ่งในการท าวิจัยเรื่อง “ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน” เพื่อน าระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ไปใช้ในการขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ส่งผลให้ผู้ส าเร็จการศึกษามีคุณภาพเป็นที่ ยอมรับ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของภาคส่วนต่าง ๆ


ระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ประเด็นท้าทาย เรื่อง วิธีการด าเนินการให้บรรลุผล 2.1 ศึกษาองค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน 2.2 พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน 2.3 ประเมินระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน 2.4 พัฒนาคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ 3.1.1 ในปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีคะแนนผลการ ป ร ะเมินตนเอ งข อ งสถ านศึกษ า SAR โดยรวมอยู่ใน ร ะดับ ยอดเยี่ยม ทั้ง 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน 3.2 เชิงคุณภาพ 3.2.1 นักเรียน นักศึกษาที่ส าเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยการอาชีพ หลังสวน ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะในการท างานและประกอบอาชีพตรงตาม ความต้องการของภาคผู้ใช้อย่างแท้จริง 3.2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ ปลูกฝังและพัฒนาให้มีความตระหนัก ความพยายาม และความมุ่งมั่นในการ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน โดยใช้ระบบ การประกันคุณภาพภายในเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจ โดยมีเป้าหมาย ที่ส าคัญคือผลลัพธ์ของการเรียนรู้ที่มุ่งสู่ผู้เรียนเป็นส าคัญ 3.2.3 วิทยาลัยการอาชีพหลังสวนมีระบบการประกันคุณภาพภายในที่ ได้รับการสร้างและพัฒนาอย่างเป็นระบบ ซึ่งส่งผลต่อการผลิตและพัฒนาก าลังคน ในด้านวิชาชีพให้มีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นยอมรับของชุมชน และสังคมใน ทุกระดับ 3.2.4 ผู้ส าเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน มีสมรรถนะใน การท างานและการประกอบอาชีพเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน


ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา (วิทยฐานะช านาญการพิเศษ)


Click to View FlipBook Version