The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-06-25 22:54:47

รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003

รายวิชา การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003

Keywords: 30204-2003

แผนการจัดการเรียนรู้ มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สอนแบบปกติ แบบออนไลน์ ภาคเรย ี นท ี ่ 1 ปีการศึกษา 2566 นายจิโรจน์ แสงอ่อน ต าแหน่งครูผู้สอน วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน อ าเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปวส. ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับ วิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ (30204-2003)


แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนระบบปกติ ระบบออนไลน์ ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุรหัสวิชา 30204-2003 จำนวน 3 หน่วยกิต 4 ชม./สัปดาห์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล จัดทำโดย นายจิโรจน์ แสงอ่อน ครูพิเศษสอน แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 จัดทำ ขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งได้มีการ บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมฯอันพึงประสงค์ในทุกหน่วย การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้มีทั้งหมด 6 หน่วย ประกอบด้วย 1) ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการ พัฒนาระบบสารสนเทศ 2) หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ3) กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ4) โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling 5) การวิเคราะห์และออกแบบ โปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล และ 6) การออกแบบฐานข้อมูล ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุม คำอธิบายรายวิชา มีการวัดผลประเมินผลตรงตามจุดประสงค์รายวิชา และมุ่งเน้นให้ผู้เรียน มีสมรรถนะ รายวิชาตรงตาม ที่หลักสูตรกำหนด อีกทั้งยังมีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ได้เต็มตาม ศักยภาพ สามารถนำประสบการณ์ที่เกิดจากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ในรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนที่จะนำไปใช้กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลงชื่อ........................................................... (นายจิโรจน์ แสงอ่อน)


สารบัญ เรื่อง หน้า ลักษณะรายวิชา ก ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สมรรถนะรายวิชาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา ค กำหนดการเรียนรู้ ง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ จ รายการสอน ฉ แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ช แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1 - 14 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 15 - 20 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 เรื่อง กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 21 - 36 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 เรื่อง โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling 37 - 48 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 49 - 72 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 เรื่อง การออกแบบฐานข้อมูล 73 - 84


ก ลักษณะรายวิชา ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 จำนวน 3 หน่วยกิต 4 ชม./สัปดาห์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ หลักการของ UML Modeling องค์ประกอบของ UML 2. มีทักษะในการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ ออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ละเอียดรอบคอบ สมรรถนะของรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 2. วิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุตามหลักการ 3. ออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจโดยใช้หลักการของ UML คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิง วัตถุ กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ หลักการของ UML Modeling องค์ประกอบของ UML และการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ


ข ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้สมรรถนะรายวิชาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม รหัสวิชา 30204-2003 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ จำนวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ 1. ระบบ 2. ประเภทของระบบ 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบ 4. ระบบสารสนเทศ 5. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 7. วงจรการพัฒนาระบบ 8. ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบ 9. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 10. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ 11. แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ สมรรถนะที่ 1 (สมรรถนะของหน่วยที่ 1) แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศและขั้นตอน การพัฒนาระบบสารสนเทศ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 1 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ งานธุรกิจ 2. เพื่อให้เข้าใจประเภทของระบบสารสนเทศ 3. เพื่อให้รู้ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 4.แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 5. สามารถนำความรู้เรื่องระบบสารสนเทศและ ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ใน วิชาชีพและชีวิตประจำวัน หน่วยที่ 2 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 1. หลักการพื้นฐานการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ 2. แนวคิดเชิงวัตถุ 3. วิธีการพัฒนาเชิงวัตถุ 4. หลักการเชิงวัตถุ 5. แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงกระบวนการกับ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 6. วัตถุ (Object) 7. คลาส (Class) สมรรถนะที่ 2 (สมรรถนะของหน่วยที่ 2) แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิง วัตถุ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 2 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจแนวคิดการออกแบบออบเจ็กต์และ คลาสโปรแกรมระบบฟรีแวร์จากเครือข่าย อินเทอร์เน็ต


ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 8. พื้นฐานความรู้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 9. ประโยชน์ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 3. แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 4. นำความรู้เรื่องหลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ไปใช้ในวิชาชีพและในชีวิตประจำวันได้ หน่วยที่ 3 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ 1. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) 2. กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3. ลักษณะสำคัญของกระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบเชิงวัตถุ 4. การวางแผน (Planning) 5. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 6. เคสทูลส์(CASE Tools) 7. ประเภทของ CASE Tools 8. การออกแบบระบบ (System Design) 9. การพัฒนาระบบและติดตั้งระบบ (System Implementation) 10. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) สมรรถนะที่ 3 (สมรรถนะของหน่วยที่ 3) แสดงความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบเชิงวัตถุ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 3 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจหน้าที่และบทบาทสำคัญในแต่ละ ขั้นตอนของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 4. แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 5.นำความรู้ในเรื่องกระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบเชิงวัตถุไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและ ชีวิตประจำวันได้


ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 4 โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และ หลักการของ UML Modeling 1. โมเดล (Model) 2. ความสำคัญของแบบจำลองระบบงาน 3. ประเภทของโมเดล (Model Type) 4. โมเดลออกแบบเชิงวัตถุ (Object Model) 5. หลักการของ UML Modeling 6. ประโยชน์ของยูเอ็มแอล (UML Advantage) 7. องค์ประกอบของ UML 8. องค์ประกอบของ UML แบบ Class Diagram 9. องค์ประกอบของ UML แบบ Use Case Diagram สมรรถนะที่ 4 (สมรรถนะของหน่วยที่ 4) แสดงความรู้เกี่ยวกับโมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 4 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้รูปแบบของโมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจรูปแบบของโมเดลเชิงวัตถุแต่ละ ประเภท 3. เพื่อให้เข้าใจหลักการของ UML Modeling และ องค์ประกอบของ UML 4. เพื่อให้เข้าใจแนวคิดเชิงวัตถุโดยการใช้ภาษา UML 5. เพื่อให้เข้าใจแนวทางการออกแบบแผนภาพแบบ Class Diagram 6. เพื่อให้เข้าใจแนวทางการออกแบบแผนภาพแบบ Use Case Diagram - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 7. แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 8.นำความรู้เรื่องโมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และ หลักการของ UML Modeling ไปประยุกต์ใช้ใน วิชาชีพและชีวิตประจำวันได้ หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 1. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ 2. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมด้วย Class Diagram สมรรถนะที่ 5 (สมรรถนะของหน่วยที่ 5) แสดงความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และออกแบบ โปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล


ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมด้วย Use Case Diagram 4. การเขียนคำอธิบาย Use Case 5. การบริหารโครงการ 6. เทคนิคการบริหารโครงการ 7. เทคนิคการบริหารงบประมาณของโครงการ 8. การวิเคราะห์ผลตอบแทนในการลงทุน (Cost and Benefit Analysis) 9. การวิเคราะห์กระแสเงินสด (Cash Flow Analysis) 10. แผนภาพกระแสข้อมูล 11. ประโยชน์ของแผนภาพกระแสข้อมูล 12. สัญลักษณ์ที่ใช้ออกแบบแผนภาพกระแสข้อมูล 13. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง 14. ระดับชั้นของแผนภาพกระแสข้อมูล 15. แผนภาพบริบท 16. แผนภาพกระแสข้อมูลระดับ 0 17. แผนภาพกระแสข้อมูลระดับล่าง จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 5 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้มีทักษะในการวิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ 2. เพื่อให้มีทักษะในการออกแบบโปรแกรมทาง ธุรกิจ 3. เข้าใจหลักการวิเคราะห์ธุรกิจด้วยแผนภาพ กระแสข้อมูล 4. อธิบายขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบด้วยแผนภาพ กระแสข้อมูล 5. อธิบายขั้นตอนการทำ งานของระบบด้วย แผนภาพกระแสข้อมูล 6. บอกหน้าที่และความหมายของสัญลักษณ์ที่ใช้ ออกแบบแผนภาพกระแสข้อมูล - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 7. แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 8. นำความรู้เรื่องการวิเคราะห์และออกแบบ โปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูลไป ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวันได้ หน่วยที่6 การออกแบบฐานข้อมูล 1. หลักการออกแบบฐานข้อมูล 2. ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล 3. แผนภาพอีอาร์ไดอะแกรม 4. ระดับของรีเรชันชิพ 5. การออกแบบฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram (ERD) สมรรถนะที่ 6 (สมรรถนะของหน่วยที่ 6) แสดงความรู้เกี่ยวกับการออกแบบฐานข้อมูล จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม หน่วยที่ 6 - ด้านความรู้/ทักษะ 1. เข้าใจหลักการออกแบบฐานข้อมูล 2. บอกขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูล 3.เข้าใจหลักการออกแบบฐานข้อมูลด้วยแผนภาพ หรืออีอาร์ไดอะแกรม


ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 6. การตรวจสอบความสมดุลระหว่างแผนภาพกระแสข้อมูล กับแบบจำลองความสัมพันธ์ของข้อมูล 4. อธิบายขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูลด้วย แผนภาพอีอาร์ไดอะแกรม - ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง 5.แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน ความ ร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ - ด้านด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ 6. นำความรู้ในเรื่องการออกแบบฐานข้อมูล เบื้องต้นไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ และในชีวิตประจำวันได้


ค ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา 30204-2003 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ จำนวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย ความรู้ ความข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลำดับความสำคัญ จำนวนชั่วโมง หน่วยที่1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการ พัฒนาระบบสารสนเทศ 1 1 2 1 - - 1 1 7 4 8 หน่วยที่ 2 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 1 2 2 2 - - 2 2 11 4 8 หน่วยที่ 3 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบ เชิงวัตถุ 2 2 2 2 - - 2 2 12 3 12 หน่วยที่ 4 โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และ หลักการของ UML Modeling 2 2 2 2 - - 3 3 14 3 8 หน่วยที่ 5 การวิเคราะห์และออกแบบ โปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 2 2 2 2 - - 3 3 14 1 16 หน่วยที่ 6 การออกแบบฐานข้อมูล 2 2 2 2 - - 3 3 14 1 16 สอบปลายภาค 4 รวม 72 ลำดับความสำคัญและรวมคะแนนร้อยละ 4 3 2 3 1 1


ง กำหนดการเรียนรู้ รหัสวิชา 30204-2003 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ จำนวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมง 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1 - 2 1 – 8 2 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 3 - 4 9 – 16 3 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 5 - 7 17 - 28 4 โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling 8 – 9 29 – 36 5 การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพ กระแสข้อมูล 10 - 13 37 - 52 6 การออกแบบฐานข้อมูล 14 - 17 53 - 68 ทดสอบปลายภาค 69 - 72


จ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 30204-2003 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ จำนวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน รูปแบบการสอน ปกติ ออนไลน์ ปรับปรุง 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ ✓ ✓ 2 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ✓ ✓ 3 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ ✓ ✓ 4 โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling ✓ ✓ 5 การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และ แผนภาพกระแสข้อมูล ✓ ✓ 6 การออกแบบฐานข้อมูล ✓ ✓ ทดสอบปลายภาค


ฉ รายการสอน รหัสวิชา 30204-2003 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ จำนวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 72 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน เวลาเรียน (ชั่วโมง) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 4 4 8 2 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 4 4 8 3 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 6 6 12 4 โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling 4 4 8 5 การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 4 12 16 6 การออกแบบฐานข้อมูล 4 12 16 ทดสอบปลายภาค 4 รวม 16 42 72


ช แผนการจัดการ หน่วยที่.............1.......... ชื่อหน่วย........ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้เกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวข้องกับงาน ธุรกิจ 2. เพื่อให้เข้าใจ ประเภทของระบบ สารสนเทศ 3. เพื่อให้รู้ขั้นตอน การพัฒนาระบบ สารสนเทศ 1. ระบบ 2. ประเภทของระบบ 3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของระบบ 4. ระบบสารสนเทศ 5. ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 7. วงจรการพัฒนาระบบ 8. ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ระบบ 9. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 10. ปัจจัยที่มีผลต่อการ พัฒนาระบบสารสนเทศ 11. แนวทางการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่องาน อาชีพ ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศและขั้นตอนการ พัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปเรื่องระบบสารสนเทศ และขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง ระบบสารสน และขั้นตอนการพัฒ ระบบสารสนเทศ


ช รเรียนรู้ออนไลน์ บสารสนเทศ...... สัปดาห์ที่สอน..............1-2.....................ชั่วโมงรวม..........8............... งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt นเทศ ัฒนา 1. https://www.youtube.co m/watch?v=XaSnIxF7UxA 2. https://www.youtube.co m/watch?v=n1B1eS8zu5 M แบบประเมินผล หน่วยที่ 1 10


แผนการจัดการ หน่วยที่.............2.......... ชื่อหน่วย...........................หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัต รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้หลักการ พื้นฐานและแนวคิด เชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจ แนวคิดการ ออกแบบออบเจ็กต์ และคลาสโปรแกรม ระบบฟรีแวร์จาก เครือข่าย อินเทอร์เน็ต 1. หลักการพื้นฐานการ พัฒนาระบบเชิงวัตถุ 2. แนวคิดเชิงวัตถุ 3. วิธีการพัฒนาเชิงวัตถุ 4. หลักการเชิงวัตถุ 5. แนวคิดการเขียน โปรแกรมเชิง กระบวนการกับการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 6. วัตถุ (Object) 7. คลาส (Class) 8. พื้นฐานความรู้ในการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 9. ประโยชน์ของการ เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับ นักเรียนเกี่ยวกับ หลักการพื้นฐานและ แนวคิดเชิงวัตถุ ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับ หลักการพื้นฐานและ แนวคิดเชิงวัตถุ ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียน ร่วมกันสรุปเรื่อง หลักการพื้นฐานและ แนวคิดเชิงวัตถุ 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง หลักการพื้นฐ และแนวคิดเชิงวัต


รเรียนรู้ออนไลน์ ตถุ..................... สัปดาห์ที่สอน..............3-4.....................ชั่วโมงรวม..........8............... งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt ฐาน ถุ 1. https://www.youtube.co m/watch?v=HJ92UG-tc94 2. https://www.youtube.co m/watch?v=xozCBpV4g8E แบบประเมินผล หน่วยที่ 2 10


แผนการจัดการ หน่วยที่.............3.......... ชื่อหน่วย.............กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถ รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้ กระบวนการ วิเคราะห์และ ออกแบบเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจ หน้าที่และบทบาท สำคัญในแต่ละ ขั้นตอนของการ วิเคราะห์และ ออกแบบระบบ 1. การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ (System Analysis and Design) 2. กระบวนการวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3. ลักษณะสำคัญของ กระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบเชิงวัตถุ 4. การวางแผน (Planning) 5. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 6. เคสทูลส์(CASE Tools) 7. ประเภทของ CASE Tools 8. การออกแบบระบบ (System Design) 9. การพัฒนาระบบและ ติดตั้งระบบ (System Implementation) 10. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับกระบวนการ วิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับ กระบวนการวิเคราะห์และ ออกแบบเชิงวัตถุ ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปเรื่องกระบวนการ วิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง กระบวนการ วิเคราะห์และออก เชิงวัตถุ


รเรียนรู้ออนไลน์ ถุ..................... สัปดาห์ที่สอน..............5-7.....................ชั่วโมงรวม..........12.............. งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt ร แบบ 1. https://www.youtube.co m/watch?v=vJ22DrgV6kc 2. https://www.youtube.co m/watch?v=dS3fTGHMb4 3. https://www.youtube.co m/watch?v=b2ZmHa-vDw แบบประเมินผล หน่วยที่ 3 20


แผนการจัดการ หน่วยที่.......4.......... ชื่อหน่วย.............โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และหลักการของ รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้รู้รูปแบบของ โมเดลที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจรูปแบบของ โมเดลเชิงวัตถุแต่ละประเภท 3. เพื่อให้เข้าใจหลักการของ UML Modeling และ องค์ประกอบของ UML 4. เพื่อให้เข้าใจแนวคิดเชิง วัตถุโดยการใช้ภาษา UML 5. เพื่อให้เข้าใจแนวทางการ ออกแบบแผนภาพแบบ Class Diagram 6. เพื่อให้เข้าใจแนวทางการ ออกแบบแผนภาพแบบ Use Case Diagram 1. โมเดล (Model) 2. ความสำคัญของ แบบจำลองระบบงาน 3. ประเภทของโมเดล (Model Type) 4. โมเดลออกแบบเชิงวัตถุ (Object Model) 5. หลักการของ UML Modeling 6. ประโยชน์ของยูเอ็มแอล (UML Advantage) 7. องค์ประกอบของ UML 8. องค์ประกอบของ UML แบบ Class Diagram 9. องค์ประกอบของ UML แบบ Use Case Diagram) ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับโมเดลที่ใช้ออกแบบ เชิงวัตถุ และหลักการของ UML Modeling ขั้นสอน 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับโมเดล ที่ใช้ออกแบบเชิงวัตถุ และ หลักการของ UML Modeling ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปเรื่องโมเดลที่ใช้ ออกแบบเชิงวัตถุ และ หลักการของ UML Modeling 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง โมเดลที่ใช้ ออกแบบเชิงวัตถุ หลักการของ UML Modeling


รเรียนรู้ออนไลน์ UML Modeling............. สัปดาห์ที่สอน.......8-9.........ชั่วโมงรวม..........8.................. งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt และ L 1. https://www.youtube.co m/watch?v=TjmkIG5QaSk 2. https://www.youtube.co m/watch?v=XCWtpYET1O U แบบประเมินผล หน่วยที่ 4 20


แผนการจัดการ หน่วยที่.......5.......... ชื่อหน่วย....การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแ รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เพื่อให้มีทักษะในการ วิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ 2. เพื่อให้มีทักษะในการ ออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ 3. เข้าใจหลักการวิเคราะห์ ธุรกิจด้วยแผนภาพกระแส ข้อมูล 4. อธิบายขั้นตอนการ วิเคราะห์ระบบด้วยแผนภาพ กระแสข้อมูล 5. อธิบายขั้นตอนการทำ งานของระบบด้วยแผนภาพ กระแสข้อมูล 6. บอกหน้าที่และ ความหมายของสัญลักษณ์ที่ ใช้ออกแบบแผนภาพกระแส ข้อมูล 1. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ทางธุรกิจ 2. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ด้วย Class Diagram 3. การวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ด้วย Use Case Diagram 4. การเขียนคำอธิบาย Use Case 5. การบริหารโครงการ 6. เทคนิคการบริหารโครงการ 7. เทคนิคการบริหารงบประมาณของ โครงการ 8. การวิเคราะห์ผลตอบแทนในการลงทุน (Cost and Benefit Analysis) 9. การวิเคราะห์กระแสเงินสด (Cash Flow Analysis) 10. แผนภาพกระแสข้อมูล 11. ประโยชน์ของแผนภาพกระแสข้อมูล 12. สัญลักษณ์ที่ใช้ออกแบบแผนภาพ กระแสข้อมูล 13. การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลที่ไม่ ถูกต้อง 14. ระดับชั้นของแผนภาพกระแสข้อมูล 15. แผนภาพบริบท 16. แผนภาพกระแสข้อมูลระดับ 0 17. แผนภาพกระแสข้อมูลระดับล่าง ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับการวิเคราะห์และ ออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับการ วิเคราะห์และออกแบบ โปรแกรมทางธุรกิจ และ แผนภาพกระแสข้อมูล ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปเรื่องการวิเคราะห์และ ออกแบบโปรแกรมทางธุรกิจ และแผนภาพกระแสข้อมูล 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง การวิเคราะห์ ออกแบบโปรแกรม ธุรกิจ และแผนภา กระแสข้อมูล


รเรียนรู้ออนไลน์ แผนภาพกระแสข้อมูล...... สัปดาห์ที่สอน.....10-13.........ชั่วโมงรวม..........16............. งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt ห์และ มทาง พ 1. https://www.youtube.co m/watch?v=Jj_fpHJAaVw 2. https://www.youtube.co m/watch?v=mdzcAqCCot E 3. https://www.youtube.co m/watch?v=rw5etbp1hKs แบบประเมินผล หน่วยที่ 5 20


แผนการจัดการ หน่วยที่.......6.......... ชื่อหน่วย................................การออกแบบฐานข้อมูล................. รหัสวิชา....30204-2003......ชื่อรายวิชา.............การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิง จุดประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหาความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ออนไลน์ สื่อการเรียนรู้ออน ด้านความรู้/ทักษะ 1. เข้าใจหลักการ ออกแบบฐานข้อมูล 2. บอกขั้นตอนการ พัฒนาระบบฐานข้อมูล 3.เข้าใจหลักการ ออกแบบฐานข้อมูลด้วย แผนภาพหรืออีอาร์ ไดอะแกรม 4. อธิบายขั้นตอนการ ออกแบบฐานข้อมูลด้วย แผนภาพอีอาร์ ไดอะแกรม 1. หลักการออกแบบ ฐานข้อมูล 2. ขั้นตอนการพัฒนา ระบบฐานข้อมูล 3. แผนภาพอีอาร์ ไดอะแกรม 4. ระดับของรีเรชันชิพ 5. การออกแบบ ฐานข้อมูลด้วย E-R Diagram (ERD) 6. การตรวจสอบความ สมดุลระหว่างแผนภาพ กระแสข้อมูลกับ แบบจำลองความสัมพันธ์ ของข้อมูล ขั้นนำ 1. ครูสนทนากับ นักเรียนเกี่ยวกับการ ออกแบบฐานข้อมูล 2. ครูอธิบายเกี่ยวกับ การออกแบบ ฐานข้อมูล ขั้นสรุป 3. ครูและนักเรียน ร่วมกันสรุปเรื่องการ ออกแบบฐานข้อมูล 1.หนังสือเรียน วิช วิเคราะห์และออก ระบบเชิงวัตถุ 2.สื่อ PowerPoin เรื่อง การออกแบบ ฐานข้อมูล


รเรียนรู้ออนไลน์ .............................. สัปดาห์ที่สอน.....14-17.........ชั่วโมงรวม....................16............. งวัตถุ..........ชื่อผู้สอน..........นายจิโรจน์ แสงอ่อน........................................................... นไลน์ แหล่งอ้างอิง ออนไลน์ การวัดประเมินผล ร้อยละ ค่าน้ำหนัก คะแนน ชา การ แบบ nt บ 1. https://www.youtube.co m/watch?v=HuztS7t9hZc 2. https://www.youtube.co m/watch?v=QQk33OX5Iz U 3. https://www.youtube.co m/watch?v=KXCpG_e4pL M แบบประเมินผล หน่วยที่ 6 20


1 แผนการสอน/จัดการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยที่1 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ สอนครั้งที่1-2/18 ชื่อหน่วย ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ คาบรวม 72 คาบ ชื่อเรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ จำนวนคาบ 8 ซม. 1. หัวข้อเรื่อง 1.1 ด้านความรู้/ทักษะ 1.1.1 ระบบ 1.1.2 ประเภทของระบบ 1.1.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบ 1.1.4 ระบบสารสนเทศ 1.1.5 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1.6 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.1.7 วงจรการพัฒนาระบบ 1.1.8 ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบ 1.1.9 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 1.1.10 ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.1.11 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์/ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1.2.1 การแสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ 1.2.2 การตรงต่อเวลา 1.2.3 ความซื่อสัตย์ สุจริต 1.2.4 ความมีน้ำใจและแบ่งบัน 1.2.5 ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 1.3 ด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ 1.3.1 การนำความรู้เรื่องระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวัน 2. สาระสำคัญ ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ประกอบไปด้วย ระบบ ประเภทของระบบ ปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระบบ ระบบสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบ ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ปัจจัยที่มี ผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศ


2 3. สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิ่งที่ต้องการให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ เข้าด้วยกัน) แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 4.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้รู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจ 2. เพื่อให้เข้าใจประเภทของระบบสารสนเทศ 3. เพื่อให้รู้ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 5. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้ 5.1 ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการดำเนินธุรกิจ ผู้บริหารต้องคำนึงถึงความสอดคล้องระหว่างการดำเนินธุรกิจ เทคโนโลยี และการตัดสินใจที่ต้องกระทำอย่าง สอดคล้องกัน ปัจจุบันผู้บริหารต้องประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การตัดสินใจทางธุรกิจขององค์การอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์และสร้างโอกาสในการประยุกต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ ผู้บริหารต้อง สามารถจัดการกับเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถแบ่งเป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. กำหนดกลยุทธ์องค์การที่ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. กำหนดแผนงานสารสนเทศระดับองค์การและการดำเนินงาน กำหนดโครงสร้างหน่วยงานสารสนเทศ 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศขององค์การ (information system infrastructure) เช่น อุปกรณ์ ชุดคำสั่ง ระบบสื่อสารและจัดการข้อมูล ระบบสำนักงานอัตโนมัติ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการกำหนดศักยภาพ และ ความยืดหยุ่นในการปรับตัวของงานสารสนเทศในองค์การ 4. กำหนดรายละเอียดการดำเนินงานภายในองค์การ พร้อมทั้งพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีความพร้อมต่อการ ประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดแก่องค์การ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (business information systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้ การดำเนินงานของธุรกิจให้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยถูกออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ ตลอดจนช่วยส่งเสริมให้ทั้งองค์การ สามารถประสานงานและใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในระดับ ปฏิบัติงานและระดับบริหาร โดยเราสามารถจำแนกระบบสารสนเทศตามหน้าที่ทางธุรกิจตามหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information system) 2. ระบบสารสนเทศด้านการเงิน (financial information system) 3. ระบบสารสนเทศด้านการตลาด (marketing information system)


3 4. ระบบสารสนเทศด้านการผลิตและการดำเนินงาน (production and operations information system) 5. ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล (human resource information system) ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี ปัจจุบันงานของนักบัญชีมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยทำให้มีการ พัฒนาชุดคำสั่งสำเร็จรูปหรือชุดคำสั่ง เฉพาะสำหรับช่วยในการเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลด ระยะเวลาและเพิ่มความถูกต้องใน การทำงานแก่ผู้ใช้ ทำให้นักบัญชีมีเวลาในการปฏิบัติงานเชิงบริหารมากขึ้น เช่น การออกแบบและพัฒนาระบบงาน พัฒนาระบบงบประมาณและระบบข้อมูลสำหรับผู้บริหาร เป็นต้น โดยที่ระบบ สารสนเทศด้านการบัญชี (accounting information systems) หรือที่เรียกว่า AIS จะเป็นระบบที่รวบรวม จัดระบบ และนำเสนอสารสนเทศทางการบัญชีที่ช่วยในการตัดสินใจแก่ผู้ใช้สารสนเทศทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดย ระบบสารสนเทศทางการบัญชีจะให้ความสำคัญกับสารสนเทศที่สามารถวัดได้ หรือ การประมวลผล เชิงปริมาณ มากกว่าการแก้ปัญหาเชิงคุณภาพ โดยระบบสารสนเทศด้านการบัญชีจะมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือ 1. ระบบบัญชีการเงิน (financial accounting system) บัญชีการเงินเป็นการบันทึกรายการคำที่เกิดขึ้นในรูปตัว เงิน จัดหมวดหมู่รายการต่าง ๆ สรุปผลและตีความหมายในงบการเงิน ได้แก่ งบกำไรขาดทุน งบดุล และงบกระแส เงินสด โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ นำเสนอสารสนเทศแก่ผู้ใช้และผู้ที่สนใจข้อมูลทางการเงินขององค์การ เช่น นัก ลงทุนและเจ้าหนี้ นอกจากนี้ยังจัดเตรียมสารสนเทศในการตัดสินใจของผู้บริหาร ซึ่งนักบัญชีสามารถนำเทคโนโลยี สารสนเทศใช้ในการประมวลข้อมูล โดยจดบันทึกลงในสื่อต่าง ๆ เช่น เทปหรือจานแม่เหล็ก เพื่อรอเวลาสำหรับทำการ ประมวลและแสดงผลข้อมูลตามต้องการ 2. ระบบบัญชีบริหาร (managerial accounting system) บัญชีบริหารเป็นการนำเสนอข้อมูลทางการเงินแก่ ผู้บริหาร เพื่อใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ระบบบัญชีจะประกอบด้วย บัญชีต้นทุน การงบประมาณ และการศึกษา ระบบ โดยมีลักษณะสำคัญคือ ให้ความสำคัญกับการจัดการสารสนเทศทางการบัญชีแก่ผู้ใช้ภายในองค์การ ให้ ความสำคัญกับการดำเนินงานในอนาคตของธุรกิจ ไม่ต้องจัดทำสารสนเทศตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีข้อมูล ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน มีความยืดหยุ่นและสามารถปรับให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งาน AIS จะให้ ความสำคัญกับการรวบรวมข้อมูลและการติดต่อสื่อสารทางการเงิน ซึ่งเป็นกระบวนการติดต่อสื่อสารมากกว่าการวัด มูลค่า โดยที่ AIS จะแสดงภาพรวม จัดเก็บ จัดโครงสร้าง ประมวลข้อมูล ควบคุมความปลอดภัย และการรายงาน สารสนเทศทางการบัญชี ปัจจุบันการดำเนินงานและการไหลเวียนของข้อมูลทางการบัญชีมีความซับซ้อนมากขึ้น ทำ ให้นักบัญชีต้องกำหนดคุณสมบัติของสารสนเทศด้านการบัญชีให้สัมพันธ์กับการดำเนินงานขององค์การ ประการ สำคัญ AIS และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะมีทั้งส่วนที่แยกออกจากกันและเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน แต่ MIS จะ ให้ความสำคัญกับการจัดการสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจของผู้บริหาร ขณะที่ AIS จะประมวลสารสนเทศเฉพาะ สำหรับผู้ใช้งานทั้งภายในและภายนอกองค์การ เช่น นักลงทุน เจ้าหนี้ และผู้บริหาร เป็นต้น ระบบสารสนเทศด้าน


4 การเงิน ระบบการเงิน (financial system) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิตของร่างกายที่สูบฉีดโลหิตไปยังอวัยวะ ต่าง ๆ เพื่อให้การทำงานของอวัยวะแต่ละส่วนเป็นปกติ ถ้าระบบหมุนเวียนโลหิตไม่ดี การทำงานของอวัยวะก็ บกพร่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบโดย ตรงต่อระบบร่างกาย ระบบการเงินจะเกี่ยวกับสภาพคล่อง (liquidity) ในการ ดำเนินงาน เกี่ยวข้องกับการจัดการเงินสดหมุนเวียน ถ้าธุรกิจขาดเงินทุน อาจก่อให้เกิดปัญหาขึ้นทั้งโดยตรงและ ทางอ้อม โดยที่การจัดการทางการเงินจะมีหน้าที่สำคัญ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. การพยากรณ์ (forecast) การศึกษา วิเคราะห์ การคาดกราณ์ การกำหนดทางเลือก และการวางแผนทางด้าน การเงินของธุรกิจ เพื่อใช้ทรัพยากรทางการเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยนักการเงินสามารถใช้หลักการทางสถิติและ แบบจำลองทาง คณิตศาสตร์มาประยุกต์ การพยากรณ์ทางการเงิน จะอาศัยข้อมูลจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ ตลอดจนประสบกราณ์ของผู้บริหารในการตัดสินใจ 2. การจัดการด้านการเงิน (financial management) เกี่ยวข้องกับเรื่องการบริหารเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น รายรับและรายจ่าย การหาแหล่งเงินทุนจากภายนอก เพื่อที่จะเพิ่มทุนขององค์การ โดยวิธีการทางการเงิน เช่น การ กู้ยืม การออกหุ้นหรือตราสารทางการเงินอื่น เป็นต้น 3. การควบคุมทางการเงิน (financial control) เพื่อติดตามผล ตรวจสอบ และประเมินตวามเหมาะสมในการ ดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดหรือไม่ ตลอดจนวางแนวทางแก้ไขหรือปรับปรุงให้การดำเนินงานทางการเงิน ของธุรกิจมีประสิทธิภาพ โดยที่การตรวจสอบและการควบคุมการทางการเงินของธุรกิจสามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภทดังต่อไปนี้ การควบคุมภายใน (internal control) การควบคุมภายนอก (external control) ระบบ สารสนเทศด้านการเงิน (finalncial information system) เป็นระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น สำหรับสนับสนุน กิจกรรมทางด้านการเงินขององค์การ ตั้งแต่การวางแผน การดำเนินงาน และการควบคุมทางด้านการเงิน เพื่อให้การ จัดการทางการเงินเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่แหล่งข้อมูลสำคัญในการบริหารเงินขององค์การมีดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลจากการดำเนินงาน (operatins data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติงานของธุรกิจ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการ ควบคุม ตรวจสอบ และปรับปรุงแผนการเงินขององค์การ 2. ข้อมูลจากการพยากรณ์ (forecasting data) เป็นข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมและประมวลผล เช่น การประมาณ ค่าใช้จ่ายและยอดขายที่ได้รับจากแผนการตลาด โดยใช้เทคนิคและแบบจำลองการพยากรณ์ โดยที่ข้อมูลจากการ พยากรณ์ถูกใช้ประกอบการวางแผน การศึกษาความเป็นไปได้ และการตัดสินใจลงทุน 3. กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy) เป็นเครื่องกำหนดและแสดงวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์ แนวทางการ ประกอบธุรกิจในอนาคต เพื่อให้องค์การบรรลุเป้าหมายที่ต้องการ โดยที่กลยุทธ์จะเป็นแผนหลักที่แผนปฏิบัติการอื่น ต้องถูกจัดให้สอดคล้องและส่งเสิรมความสำเร็จของกลยุทธ์


5 4. ข้อมูลจากภายนอก (external data) ข้อมูลทางเศรษฐกิจและการเงิน สังคม การเมือง และปัจจัยแวดล้อมที่มีผล ต่อธุรกิจ เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นต้น โดยข้อมูลจากภายนอกจะ แสดงแนวโน้มในอนาคตที่ธุรกิจต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานกราณ์ ระบบสารสนเทศด้านการบัญชีและระบบ สารสนเทศด้านการเงินจะมีความสัมพันธ์กัน เนื่องจากข้อมูลทางการบัญชีจะเป็นข้อมูลสำหรับการประมวลผลและ การตัดสินใจทางการเงิน โดยนักการเงินจะนำตัวเลขทางการบัญชีมาประมวลผลตามที่ตนต้องการ เพื่อให้ได้ข้อมูล สำหรับสนับสนุนการตัดสินใจทางการเงิน ระบบสารสนเทศด้านการตลาด การตลาด (marketing) เป็นหน้าที่สำคัญ ทางธุรกิจ เนื่องจากหน่วยงานด้านการตลาดจะรับผิดชอบในการกระจายสินค้าและบริการไปสู่ลูกค้า ตั้งแต่การศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการ การวางแผนและการสร้างความต้องการ ตลอดจนส่งเสริมการขายจนกระทั้งสินค้าถึงมือ ลูกค้า ปกติการตัดสินใจทางการตลาดจะเกี่ยวข้องกับการจัดส่วนประสมทางการตลาด (marketing mix) หรือ ส่วนประกอบที่ทำให้การดำเนินงานทางการตลาดประสบความสำเร็จ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ (product) ราคา (price) สถานที่ (place) และการโฆษณา (promotion) หรือที่เรียกว่า 4Ps โดย สารสนเทศที่นักการตลาดต้องการในการวิเคราะห์ วางแผน ตรวจสอบ และควบคุมให้แผนการตลาดเป็นไปตามที่ ต้องการมาจากแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้ 1. การปฏิบัติงาน (operations) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงยอดขายและการดำเนินงานด้านการตลาด ตลอดช่วงระยะเวลา ที่ผ่านมา โดยข้อมูลการปฏิบัติงานจะเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานที่ช่วยในการตรวจสอบ ควบคุม และ วางแนวทางปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในอนาคต 2. การวิจัยตลาด (marketing research) เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด โดยเฉพาะ พฤติกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจ โดยนักการตลาดจะทำการวิจัยบน สมมติฐานและการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ปกติข้อมูลในการวิจัยตลาดจะได้มาจากการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ และการใช้แบบสอบถาม การวิจัยตลาดช่วยผู้บริหารในการวางแผนและการตัดสินใจทาง การตลาด แต่อาจมีข้อจำกัดของความถูกต้องและความน่าเชื่อถือในการอธิบายพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย 3. คู่แข่ง (competitor) คำกล่าวที่ว่า “รู้เขารู้เรา รอบร้อยครั้งชนะทั้งร้อยครั้ง” แสดงความสำคัญที่ธุรกิจต้องมีความ เข้าใจในคู่แข่งขันทั้งด้านจำนวนและศักยภาพ โดยข้อมูลจากการดำเนินงาน ของคู่แข่งขันช่วยให้ธุรกิจสามารถ วางแผนการตลาดอย่างเหมาะสม ปกติข้อมูลจากคู่แข่งขันจะมีลักษณะไม่มีโครงสร้าง ไม่เป็นทางการ และมีแหล่งที่มี ไม่ชัดเจน เช่น การทดลองใช้สินค้าหรือบริการ การสัมภาษณ์ลูกค้าและตัวแทนจำหน่าย การติดตามข้อมูลในตลาด และข้อมูลจากสื่อสารมวลชน เป็นต้น 4. กลยุทธ์ขององค์การ (corporate strategy) เป็นข้อมูลสำคัญทางการตลาด เนื่องจากกลยุทธ์จะเป็นเครื่องกำหนด แนวทางปฏิบัติของธุรกิจ และเป็นฐานในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดขององค์การ


6 5. ข้อมูลภายนอก (external data) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ซึ่งจะ ส่งผลต่อโอกาสหรืออุปสรรคของธุรกิจ โดยทำให้ความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์หรือบริการของลูกค้า ขยายหรือหดตัว ตลอดจนสร้างคู่แข่งขันใหม่หรือ เปลี่ยนขั้นตอนและรูปแบบในการดำเนินงาน สารสนเทศด้าน การตลาดอาจจะมีความแตกต่างกันตามประเภทของธุรกิจซึ่ง เราสามารถจำแนกระบบย่อยของระบบสารสนเทศด้าน การตลาดได้ดังต่อไปนี้ 1. ระบบสารสนเทศสำหรับการขาย สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อย 3 ระบบดังต่อไปนี้ ระบบสารสนเทศสำหรับ สนับสนุนการขาย จะรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของฝ่ายขาย เพื่อให้การขายเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งข้อมูลที่ระบบต้องการจะเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่จะทำการขาย รูปแบบ ราคา และการโฆษณาต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้า นอกจากนี้อาจเกี่ยวกับช่องทางและ วิธีการขายสินค้าผ่านตัวแทนจำหน่ายในเรื่องของ ความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้า ตลอดจนคู่แข่งของผลิตภัณฑ์ที่จะขายและจำหน่ายสินค้าคงคลังของบริษัท ระบบสารสนเทศสำหรับวิเคราะห์การขาย จะรวบรวมสารสนเทศในเรื่องของกำไรหรือขาดทุนของผลิตภัณฑ์ ความสามารถของพนักงานขายสินค้า ยอดขายของแต่ละเขตการขาย รวมทั้งแนวโน้มการเติบโตของสินค้า ซึ่งสามารถ หาข้อมูลได้จากรายงานต่าง ๆ เช่น รายงานการขาย รายงานของต้นทุนสินค้าและวัตถุดิบ เป็นต้น ระบบสารสนเทศ สำหรับการวิเคราะห์ลูกค้า จะช่วยในการวิเคราะห์ลูกค้าเพื่อให้ทราบถึงรูปแบบของการซื้อและประโยชน์ที่ลูกค้าจะ ได้รับ เพื่อที่ธุรกิจจะสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยตลาด สามารถแบ่งออกเป็นระบบย่อยตามหน้าที่ได้ 2 ระบบ ดังต่อไปนี้ ระบบ สารสนเทศสำหรับการวิจัยลูกค้า การวิจัยลูกค้าจะต่างกับการวิเคราะห์ลูกค้าตรงที่ว่าการวิจัยลูกค้าจะมีขอบเขต ของ การใช้สารสนเทศกว้างกว่าการวิเคราะห์ลูกค้า โดยการวิจัยลูกค้าจะต้องการทราบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับลูกค้าในด้าน สถานะทางการเงิน การดำเนินธุรกิจ ความพอใจ รสนิยมและพฤติกรรมการบริโภค ระบบสารสนเทศสำหรับการ วิจัยตลาด การวิจัยตลาดจะให้ความสำคัญกับการหาขนาดของตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ที่จะนำออกจำหน่าย ซึ่งอาจ ครอบคลุมทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หลังจากนั้นก็จะกำหนดส่วนแบ่งตลาดของผลิตภัณฑ์เพื่อทำการวางแผน กำหนดเป้าหมาย กำหนดกลยุทธ์และวางแผนกลยุทธ์ สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของการวิจัยตลาดคือสภาวะและ แนวโน้มทาง เศรษฐกิจ ยอดขายในอดีตของอุตสาหกรรมหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันในตลาด รวมทั้งสภาวะการ แข่งขันของผลิตภัณฑ์นี้ด้วย 3. ระบบสารสนเทศสำหรับการส่งเสริมการขาย เป็นระบบที่ให้ความสำคัญกับแผนงานทางด้านการโฆษณาและ ส่งเสริมการขาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการขาย เพิ่มยอดขายสินค้า และเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้สูงขึ้น สารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือยอดขายของสินค้าทุกชนิดในบริษัท เพื่อให้รู้ว่าสินค้าใดต้องการแผนการส่งเสริมการ ขาย และสารสนเทศที่เกี่ยวกับผลกำไรหรือขาดทุนของสินค้าแต่ละชนิด เพื่อให้ความสำคัญกับสินค้าตัวที่ทำกำไร


7 4. ระบบสารสนเทศสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นระบบสารสนเทศที่วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ลักษณะและความต้องการของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต้องการของลูกค้าแต่ ยังไม่มีตลาด โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการของระบบได้แก่ ยอดขายของผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันในอดีต เพื่อให้ ทราบถึงขนาดและลักษณะของตลาด และการประมาณการต้นทุน เพื่อตอบคำถามให้ได้ว่าสมควรที่จะออกผลิตภัณฑ์ ใหม่หรือไม่ 5. ระบบสารสนเทศสำหรับพยากรณ์การขาย เป็นระบบที่ใช้ในการวางแผนการขาย แผนการทำกำไรจากสินค้าหรือ บริการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งของบริษัท ซึ่งจะส่งผลไปถึงการวางแผนการผลิต การวางกำลังคน และงบประมาณที่จะ ใช้เกี่ยวกับการขาย โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือ ยอดขายในอดีต สถานะของคู่แข่งขัน สภาวการณ์ของตลาด และแผนการโฆษณา 6. ระบบสารสนเทศสำหรับการวางแผนกำไร เป็นระบบสารสนเทศที่ให้ความสำคัญกับการวางแผนทำกำไรทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ โดยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการคือสารสนเทศจากการวิจัยตลาด ยอดขายในอดีต สารสนเทศของคู่แข่งขัน การพยากรณ์การขาย และการโฆษณา 7. ระบบสารสนเทศสำหรับการกำหนดราคา การกำหนดราคาของสินค้านับว่าเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งทางการตลาด เพราะต้องคำนึงถึงความต้องการของลูกค้า คู่แข่งขัน กำลังซื้อของลูกค้า โดยปกติแล้วราคาสินค้าจะตั้งจากราคา ต้นทุนรวมกับร้อยละของกำไรที่ต้องการ โดยสารสนเทศที่ต้องการได้แก่ ตัวเลขกำไรของผลิตภัณฑ์ในอดีต เพื่อทำการ ปรับปรุงราคาให้ได้สัดส่วนของกำไรคงเดิม ในกรณีที่ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลง 8. ระบบสารสนเทศสำหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย บุคคลที่เป็นผู้ควบคุมค่าใช้จ่ายสามารถควบคุมได้โดยดูจากรายงาน ของผลการทำกำไร กับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงหรือสาเหตุของการคลาดเคลื่อนของค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการ ขายรวมถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น เงินเดือน ค่าโฆษณา ค่าส่วนแบ่งการขาย เป็นต้น ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีส่วนสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะการขยายโอกาสและ เปลี่ยนแปลงรูปแบบทางการค้า ซึ่งทำให้นักการตลาดสมัยใหม่ต้องสามารถประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อก่อ ให้ เกิดโอกาสและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันแก่องค์การ ซึ่งจะส่งผลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของตน ระบบ สารสนเทศด้านการผลิตและการดำเนินงาน การผลิต (production) เป็นกระบวนการแปรรูปทรัพยากรการผลิต เช่น วัตถุดิบ แรงงาน และ พลังงาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่พร้อมในการจัดจำหน่ายแก่ลูกค้า โดยผู้ผลิตต้องพยากรณ์ปริมาณ ของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า โดยไม่ให้มีจำนวนมากหรือน้อยจนเกินไป ตลอดจนควบคุม คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของลูกค้า โดยมีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม ปัจจุบันการขยายตัวของธุรกิจจาก การผลิตเข้าสู่สังคมบริการ ทำให้มีการประยุกต์หลักการของการจัดการผลิตกับงานด้านบริการ ซึ่งเราจะเรียกการผลิต


8 ในหน่วยบริการว่า “การดำเนินงาน (operations)” โดยที่แหล่งข้อมูลในการผลิตและการดำเนินงานขององค์การมี ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูลการผลิต/การดำเนินงาน (production/operations data) เป็นข้อมูลจากกระบวนการผลิตหรือการ ให้บริการ ซึ่งจะแสดงภาพปัจจุบันของระบบการผลิตของธุรกิจว่ามีประสทธิภาพมากน้อยเพียงใด และมีปัญหาอย่างไร ในการดำเนินงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนในการแก้ปัญหาและการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานใน อนาคต 2. ข้อมูลสินค้าคงคลัง (inventory data) บันทึกปริมาณวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปที่เก็บไว้ในโกดัง โดยผู้จัดการต้อง พยายามจัดให้มีสินค้าคงคลังในปริมาณไม่เกินความจำเป็นหรือขาดแคลนเมื่อเกิดความต้องการขึ้น 3. ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ (supplier data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ คุณสมบัติ และราคาวัตถุดิบ ตลอดจนช่วง ทางและต้นทุนในการลำเลียงวัตถุดิบ ปัจจุบันการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data interchange) หรือที่เรียกว่า EDI ช่วยให้การประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบ ธุรกิจ และลูกค้ามีประสิทธิภาพมาก ขึ้น 4. ข้อมูลแรงงานและบุคลากร (labor force and personnel data) ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงานในสายการผลิตและ ปฏิบัติการ เช่น อายุ การศึกษา และประสบการณ์ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับงาน ขณะที่ข้อมูลภายนอกเกี่ยวกับตลาดแรงงานจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหาแรงงานทดแทน และการ กำหนดอัตราค่าจ้างอย่างเหมาะสม 5. กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy) แผนกลยุทธ์ขององค์การจะเป็นแม่บทและแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ การผลิตแลการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานขององค์การ นอกจากจะส่งผลต่อการพัฒนาผลิตผล (productivity) ของธุรกิจ โดยเฉพาะการปฏิบัติ ตั้งแต่การตัดสินใจเกี่ยวกับ การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการ การปรับปรุงกระบวนการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การ วางแผนคุณภาพ การเพิ่มผลผลิต และการควบคุมต้นทุนขององค์การให้มีประสิทธิภาพขึ้น ทำให้ระบบอุตสาหกรรม และระบบเศรษฐกิจโดยรวมเติบโตแล้ว ยังส่งผลต่อความคล่องตัวในการปฏิบัติงานและการจัดรูปแบบความสัมพันธ์ ทางสังคมโดยทางตรงและทางอ้อม การวางแผนความต้องการวัสดุ การบริหารทรัพยากรการผลิต โดยเฉพาะวัตถุดิบ (raw materials) เป็นหัวใจสำคัญของการจัดการด้านการดำเนินงานการผลิต ถ้าธุรกิจมีปริมาณวัตถุดิบมากเกินไปจะ ทำให้ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสูง แต่ถ้ามีปริมาณวัตถุดิบน้อยเกินไปก็จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อแผนและ กระบวนการผลิต ตลอดจนก่อให้เกิดค่าเสียโอกาสทางธุรกิจ การวางแผนความต้องการวัสดุ (material requirement planning) หรือที่เรียกว่า MRP เป็นระบบสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระบบการผลิต เพื่อ


9 ประกอบการวางแผนความต้องการวัสดุเพื่อให้ธุรกิจสามารถจัดการวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ โดย MRP ให้ ความสำคัญกับสิ่งต่อไปนี้ 1. ไม่เก็บวัตถุดิบเพื่อรอการใช้งานไว้นานเกินไป ซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาและความเสี่ยงในการสูญหาย หรือสูญเสีย 2. รายงานผลการผลิตและความเสียหายที่เกิดขึ้นตามระยะเวลาที่กำหนด 3. ควบคุมสินค้าคงคลังอย่างเป็นระบบ 4. มีการตรวจสอบ แก้ไข และติดตามผลข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น โดยที่ MRP มีบทบาทต่อระบบการผลิตขององค์การ ตั้งแต่การจัดหาวัสดุ เพื่อทำการผลิตโดยการกำหนดปริมาณและระยะเวลาในการสั่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย ตลอดจน จัดเตรียมรายละเอียดของการผลิตในอนาคตซึ่งเราสามารถสรุปว่า MRP มีข้อดีดังต่อไปนี้ 1. ลดการขาดแคลนวัตถุดิบที่จำเป็นในการผลิต 2. ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง 3. ช่วยให้บุคลากรมีเวลาในการปฏิบัติงานอื่นมากขึ้น 4. ประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช้จ่ายในการติดตามวัตถุดิบ 5. ช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นอกจากระบบ MRP แล้ว ได้มี ผู้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการดำเนินงาน เช่น การจัดการคุณภาพโดยรวม (total quality management) หรือที่เรียกว่า TQM และการผลิตแบบทันเวลาพอดี (just-in-time production) หรือที่เรียกว่า JIT เพื่อให้ได้การ ผลิตที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ซึ่งต่างต้องอาศัยระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ เกี่ยวข้องกับผู้ขาย วัตถุดิบ (supplier) และลูกค้าภายนอกองค์การ ตลอดจนบุคลากรต้องมีความรู้และความสามารถใน การใช้งานระบบ สารสนเทศด้านการผลิตขององค์การอย่างเต็มที่ ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล ระบบสารสนเทศด้าน ทรัพยากรบุคคล (human resource information system) หรือ HRIS หรือระบบสานสนเทศสำหรับบริหารงาน บุคคล (personnel information system) หรือ PIS เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาให้สนับสนุนการดำเนินงาน ด้านทรัพยากรบุคคล ตั้งแต่การวางแผน การจ้างงาน การพัฒนาและการฝึกอบรม ค่าจ้างเงินเดือน การดำเนินการทาง วินัย ช่วยให้การบริหารทรัพยากรบุคคลเกิดประสิทธิภาพ โดยที่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรบุคคลจะ มีดังนี้ 1. ข้อมูลบุคลากร เป็นข้อมูลของสมาชิกแต่ละคนขององค์การ ซึ่งประกอบด้วยประวัติเงินเดือนและ สวัสดิการ เป็นต้น 2. ผังองค์การ แสดงโครงสร้างองค์การ การจัดหน่วยงานและแผนกำลังคน ซึ่งแสดงทั้งปริมาณและการจัดสรร ทรัพยากรบุคคล


10 3. ข้อมูลจากภายนอก ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลมิใช่ระบบปิดที่ควบคุมและดูแลสมาชิกภายในองค์การเท่านั้น แต่จะเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งต้องการข้อมูลจากภายนอกองค์การ เช่น การ สำรวจเงินเดือน อัตราการว่างงาน อัตราเงินเฟ้อ เป็นต้น การจัดการทรัพยากรบุคคลเป็นงานสำคัญที่มิใช่เพียงแต่การปฏิบัติงาน ประจำวันที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแล บุคลากรและค่าจ้างแรงงานเท่านั้น แต่ต้องเป็นการดำเนินงานเชิงรุก (proactive) การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการดำเนินงานช่วย ให้งานทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านทรัพยากร บุคคลต้องพิจารณาปัจจัยสำคัญ 5 ประการดังต่อไปนี้ 1. ความสามารถ (capability) หมายถึงความพร้อมขององค์การและบุคคลในการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยต้องพิจารณาความสามารถของบุคลากร 3 กลุ่มคือ ผู้บริหารระดับสูงต้องพร้อมที่จะสนับสนุนด้านนโยบาย กำลังคน กำลังเงิน และวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาระบบสานสนเทศขององค์การ ฝ่ายทรัพยากรบุคคลต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และตื่นตัวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ เพื่อให้การทำงานในหน่วยงานมีความคล่องตัวขึ้น ฝ่ายสารสนเทศที่ต้องทำความเข้าใจและออกแบบระบบงานให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ในแต่ละกลุ่ม 2. การควบคุม (control) การพัฒนา HRIS จะให้ความสำคัญกับความปลอดภัยของสารสนเทศโดยเฉพาะการเข้า ถึง และความถูกต้องของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลด้านทรัยพากรบุคคลจะเกี่ยวข้องกับความเป็นส่วนตัวของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะมีผลต่อชื่อเสียงและผลได้-ผลเสียของบุคคล จึงต้องมีการจัดระบบการเข้าถึงและจัดการข้อมูลที่รัดกุม โดยอนุญาตให้ผู้มีหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละหน่วยงานสามารถ เข้าถึงและปรับปรุงสารสนเทศในส่วนงาน ของตนเท่านั้น 3. ต้นทุน (cost) ปกติการดำเนินงานด้านทรัพยากรบุคคลจะมีต้นทุนที่สูง ขณะเดียวกันก็จะไม่เห็นผลตอบแทนที่ ชัดเจน ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงขององค์การทั้งในด้านการขยายตัวและหดตัวซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคลากร ดังนั้นฝ่ายบริหารและทรัพยากรบุคคลสมควรมีข้อมูลที่เหมาะสมในการตัดสินใจ เป็นต้น ขณะเดียวกัน การลงทุนใน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งฝ่ายบริหารสมควรต้องพิจารณาผลตอบแทนที่ได้รับจากการพัฒนา ระบบว่าคุ้มค่ากับต้นทุนที่ใช้ไปหรือไม่ 4. การติดต่อสื่อสาร (communication) หมายถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศต้องศึกษาการไหลเวียนของสารสนเทศ (inforamtion flow) ภายในองค์การและความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจน เตรียมการในการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เกิดความเข้าใจและทัศนคติที่ดีกับการนำระบบสารสนเทศ มาประยุกต์ใช้


11 5. ความได้เปรียบในการแข่งขัน (competitive advantage) ปัจจุบันการพัฒนา HRIS ไม่เพียงแต่ช่วยให้การ ดำเนินงานขององค์การมีประสิทธิภาพขึ้น แต่ยังมีส่วนสำคัญในการสร้างศักยภาพและความได้เปรียบในการแข่งขัน ให้แก่ธุรกิจ 5.2 ประเภทของระบบสารสนเทศ 5.3 ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 6. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้หรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 1 (สัปดาห์ที่ 1 คาบที่ 1 - 4 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูพูดคุยทักทายกับนักเรียน เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนการเรียนการสอน 1.2 ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียน ทราบ 1.3 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 2. ขั้นสอน ครูอธิบายเรื่องระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ โดยใช้หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยการถาม - ตอบ 3.2 ครูมอบหมายงานในนักเรียนให้นักเรียนทำ แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 ในหนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ 2.ขั้นสอน 2.1 นักเรียนฟังครูอธิบายเรื่องระบบสารสนเทศ และขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศและ สรุปสาระสำคัญลงในสมุด 3. ขั้นสรุป 3.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องระบบ สารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ โดยการถาม - ตอบ 3.2 ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบเชิงวัตถุ


12 สอนครั้งที่ 2 (สัปดาห์ที่ 2 คาบที่ 5 - 8 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูพูดคุยทักทายกับนักเรียน เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนการเรียนการสอน และทบทวนเนื้อหา คาบ 1- 4 1.2 ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียน ทราบ 1.3 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 2. ขั้นสอน ครูอธิบายเรื่องระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนา ระบบสารสนเทศ โดยใช้หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยการถาม - ตอบ 3.2 ครูมอบหมายงานในนักเรียนให้นักเรียนทำ ใบงานที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 นักเรียนทบทวนเนื้อหา คาบ 1- 4 2.ขั้นสอน 2.1 นักเรียนฟังครูอธิบายเรื่องระบบสารสนเทศ และขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศและ สรุปสาระสำคัญลงในสมุด 3. ขั้นสรุป 3.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องระบบ สารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ โดยการถาม - ตอบ 3.2 นักเรียนใบงานที่ 1 ระบบสารสนเทศและ ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 7. งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน 7.1.1 นักเรียนและครูผู้สอนพูดคุยทักทาย เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนก่อนเข้าสู่บทเรียน 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบ สารสนเทศ 7.2 ขณะเรียน 7.2.1 จดบันทึกสาระที่ได้จากการเรียน 7.3 หลังเรียน 7.3.1 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 7.3.2 ใบงานที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ


13 8. ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรียน 8.1 แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 8.2 ใบงานที่ 1 ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 9. สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 9.1.1 หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 9.1.2 สื่อ PowerPoint เรื่อง ระบบสารสนเทศและขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ 10. แหล่งการเรียนรู้ 10.1 ในสถานศึกษา 10.1.1 ห้องปฏิบัติคอมพิวเตอร์ (224) วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน 11. การประเมินผลการเรียนรู้ 11.1 หลักการประเมินผลการเรียนรู้ 11.1.1 ก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน 11.1.2 ขณะเรียน - แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.1.3 หลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ 11.2 รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้ 11.2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ 11.2.3 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้ คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.2.4 ตรวจแบบฝึกหัด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์


14 12. บันทึกหลังสอน 12.1 ผลการใช้แผนการสอน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12.2 ผลการเรียนของนักเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………… ……………………………………………………………………………………………..............................................………………………..……


15 แผนการสอน/จัดการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยที่2 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ สอนครั้งที่3-4/18 ชื่อหน่วย หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ คาบรวม 72 คาบ ชื่อเรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ จำนวนคาบ 8 ซม. 1. หัวข้อเรื่อง 1.1 ด้านความรู้/ทักษะ 1.1.1 หลักการพื้นฐานการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ 1.1.2 แนวคิดเชิงวัตถุ 1.1.3 วิธีการพัฒนาเชิงวัตถุ 1.1.4 หลักการเชิงวัตถุ 1.1.5 แนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงกระบวนการกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 1.1.6 วัตถุ (Object) 1.1.7 คลาส (Class) 1.1.8 พื้นฐานความรู้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 1.1.9 ประโยชน์ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 1.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์/ บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1.2.1 การแสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ 1.2.2 การตรงต่อเวลา 1.2.3 ความซื่อสัตย์ สุจริต 1.2.4 ความมีน้ำใจและแบ่งบัน 1.2.5 ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 1.3 ด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ 1.3.1 การนำความรู้เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. สาระสำคัญ หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ประกอบด้วย หลักการพื้นฐานการพัฒนาระบบเชิงวัตถุแนวคิดเชิงวัตถุ วิธีการพัฒนาเชิงวัตถุหลักการเชิงวัตถุแนวคิดการเขียนโปรแกรมเชิงกระบวนการกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุวัตถุ (Object)คลาส (Class) พื้นฐานความรู้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุและประโยชน์ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3. สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิ่งที่ต้องการให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ เข้าด้วยกัน) แสดงความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ


16 4.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้รู้หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจแนวคิดการออกแบบออบเจ็กต์และคลาสโปรแกรมระบบฟรีแวร์จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้ 5.1 หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุหมายถึง การใช้Object เป็นตัวหลักในการพิจารณาความเป็นจริงต่างๆที่ เกิดขึ้นในโลก โดยมองทุกสิ่งในโลกเป็นวัตถุทั้งหมด และมองว่ากิจกรรมที่เกิดขึ้นในโลกนี้เกิดจากความสัมพันธ์และ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ ตารางเปรียบเทียบการวิเคราะห์และออกแบบระบบวิธีเดิมกับวิธีเชิงวัตถุ วิธีเดิม วิธีเชิงวัตถุ เริ่มต้นจากการวิเคราะห์เอกสาร ผลลัพธ์ และการทำงานของระบบงาน เดิม เริ่มต้นการวิเคราะห์จาก Objects ที่ สามารถเห็นได้ชัดเจน แตกการทำงานออกเป็นหน่วยย่อยๆ แบ่งกลุ่มของ Object ตามคุณลักษณะ องค์ประกอบต่างๆของระบบ เช่น การ ประมวลผล การออกรายงาน การ คำนวณ จะเกี่ยวพันกัน การเปลี่ยนแปลง จะกระทบซึ่งกันและกัน แต่ละ Object เป็นอิสระต่อกัน การ เปลี่ยนแปลงจะไม่กระทบกัน การปรับเปลี่ยนระบบต้องแก้ไข Source Code การปรับเปลี่ยนระบบ ทำได้โดยการ เปลี่ยน Attributes, Functions ของ Object Tools ที่สนับสนุนมีน้อยลง Tools ที่สนับสนุนมีมากขึ้น วัตถุ(Objects) วัตถุ (Object) คือหน่วยสนใจของระบบที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ วัตถุเป็นได้ทั้งสิ่งที่สามารถจับต้องได้ (เช่น โต๊ะ รถยนต์ คอมพิวเตอร์ คน) และวัตถุที่ไม่สามารถจับต้องได้ (เช่น บริษัท ฝ่ายต่างๆ หลักสูตร) การสื่อสารระหว่าง Object เรียกว่า Message


17 คลาส (Class) Class คือกลุ่มของ Object ที่มีโครงสร้างพื้นฐานพฤติกรรมเดียวกัน Object ที่มีคุณสมบัติเดียวกัน ก็จะรวมกลุ่มอยู่ใน Class เดียวกัน Class และ Object มีความคล้ายกันมากจนทำให้หลายคนสงสัยว่าเป็นสิ่งเดียวกันหรือไม่ ในความเป็น จริง Class ถือว่าเป็น นามธรรม (Abstract) ในขณะที่ Object นั้นเป็นสิ่งที่มี ตัวตน (Concrete) กล่าวคือ Class เป็นเหมือนพิมพ์เขียวของ Object โดยที่ Class จะไม่สามารถทำงานได้ แต่ Object สามารถทำงานได้ การทำงานของ Object จะเป็นไปตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ใน Class และ Object ทุกตัวก็ต้องอยู่ ใน Class ดังนั้น Class และ Object จึงเป็นสิ่งคู่กันเสมอ Class นอกจากจะมีชื่อ Class กำกับแล้ว ยังมี คุณสมบัติ (Attributes) และ หน้าที่การ ทำงาน (Operations หรือ Methods) 6. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรู้หรือกิจกรรมของนักเรียน สอนครั้งที่ 3 (สัปดาห์ที่ 3 คาบที่ 9 - 12 ) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูพูดคุยทักทายกับนักเรียน เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนการเรียนการสอน 1.2 ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียน ทราบ 1.3 ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2 เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 2. ขั้นสอน 2.1 ครูอธิบายเรื่อง หลักการพื้นฐานและ แนวคิดเชิงวัตถุโดยใช้หนังสือเรียน วิชา การ วิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3.ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง ความรู้ หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ โดยการ ถาม - ตอบ 1.ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2 เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 2.ขั้นสอน 2.1 นักเรียนฟังครูอธิบายเรื่อง หลักการพื้นฐาน และแนวคิดเชิงวัตถุและสรุปสาระสำคัญลงใน สมุด 3.ขั้นสรุป 3.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่องหลักการ พื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ โดยการถาม - ตอบ


18 3.2 ครูมอบหมายงานในนักเรียนสืบค้นข้อมูล หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ใน Internet 3.3 ครูให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอเรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ หน้าชั้น เรียน สอนครั้งที่ 4 (สัปดาห์ที่ 4 คาบที่ 13 - 16) 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 ครูทบทวนความรู้จากคาบที่แล้ว ( 9 – 12) 1.2 ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนให้นักเรียน ทราบ 2. ขั้นสอน 2.1 ครูอธิบายเรื่อง อุปกรณ์รักษาความ ปลอดภัย โดยใช้หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3.ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ โดยการ ถาม - ตอบ 3.2 ครูมอบหมายงานในนักเรียนทำกิจกรรม เสริมการเรียนรู้ที่ 2 ในหนังสือเรียน วิชา การ วิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 3.2 นักเรียนให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลหลักการ พื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ ใน Internet 3.3 ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอเรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ หน้าชั้น เรียน 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1.1 นักเรียนทบทวนความรู้จากคาบที่แล้ว ( 9 – 12) 2.ขั้นสอน 2.1 นักเรียนสรุปสาระสำคัญ เรื่องหลักการ พื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุลงในสมุด 3.ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้หลักการ พื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ โดยการถาม - ตอบ 3.2 นักเรียนทำกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ที่ 2 ในหนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์และออกแบบ ระบบเชิงวัตถุ 7. งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม 7.1 ก่อนเรียน 7.1.1 นักเรียนและครูผู้สอนพูดคุยทักทาย เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนก่อนเข้าสู่บทเรียน 7.2 ขณะเรียน 7.2.1 จดบันทึกสาระที่ได้จากการเรียน 7.3 หลังเรียน 7.3.1 ใบกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 8. ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรียน 8.1 ใบกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ


19 9. สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้ 9.1 สื่อสิ่งพิมพ์ 9.1.1 หนังสือเรียน วิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 9.1.1 สื่อ PowerPoint เรื่อง หลักการพื้นฐานและแนวคิดเชิงวัตถุ 10. แหล่งการเรียนรู้ 10.1 ในสถานศึกษา 10.1.1 ห้องปฏิบัติคอมพิวเตอร์(224) วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน 11. การประเมินผลการเรียนรู้ 11.1 หลักการประเมินผลการเรียนรู้ 11.1.1 ก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน 11.1.2 ขณะเรียน - แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.1.3 หลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ 11.2 รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้ 11.2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.2.2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ 11.2.3 สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ต้องได้ คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 11.2.4 ตรวจแบบฝึกหัด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์


20 12. บันทึกหลังสอน 12.1 ผลการใช้แผนการสอน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12.2 ผลการเรียนของนักเรียน ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


21 แผนการสอน/จัดการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยที่3 ชื่อวิชา การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ สอนครั้งที่5-7/18 ชื่อหน่วย กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ คาบรวม 72 คาบ ชื่อเรื่อง กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ จำนวนคาบ 12 ซม. 1. หัวข้อเรื่อง 1.1 ด้านความรู้/ทักษะ 1.1.1 เครือข่ายแลน (LAN) 1.1.1.1 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) 1.1.1.2 กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 1.1.1.3 ลักษณะสำคัญของกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ 1.1.1.4 การวางแผน (Planning) 1.1.1.5 การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1.1.6 เคสทูลส์(CASE Tools) 1.1.1.7 ประเภทของ CASE Tools 1.1.1.8 การออกแบบระบบ (System Design) 1.1.1.9 การพัฒนาระบบและติดตั้งระบบ (System Implementation) 1.1.1.10 การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) 1.2 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 1.2.1 การแสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ 1.2.2 การตรงต่อเวลา 1.2.3 ความซื่อสัตย์ สุจริต 1.2.4 ความมีน้ำใจและแบ่งบัน 1.2.5 ความร่วมมือ/ยอมรับความคิดเห็นส่วนใหญ่ 1.3 ด้านความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ 1.3.1 การนำความรู้เรื่อง กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. สาระสำคัญ กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ ประกอบด้วย การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ ลักษณะสำคัญของกระบวนการวิเคราะห์ และออกแบบระบบเชิงวัตถุ การวางแผน (Planning) การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เคสทูลส์(CASE Tools) ประเภทของ CASE Tools การออกแบบระบบ (System Design) การพัฒนาระบบและติดตั้งระบบ (System Implementation) และการบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance)


22 3. สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย (สิ่งที่ต้องการให้เกิดการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง และความสารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ เข้าด้วยกัน) แสดงความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 4.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เพื่อให้รู้กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ 2. เพื่อให้เข้าใจหน้าที่และบทบาทสำคัญในแต่ละขั้นตอนของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 3. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผู้เรียนจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรงตาม ความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง 4. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนจะต้องมีการใช้หลักการเรียนรู้ และเวลาที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ 5. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้ 1. กระบวนการวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ โดยทั่วไป วงจรชีวิตซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่คำอธิบายเชิงนามธรรมของปัญหาไปจนถึง การออกแบบ โค้ดและการทดสอบ และสุดท้ายจนถึงการนำไปใช้งาน ขั้นตอนแรกสุดของกระบวนการนี้คือการ วิเคราะห์และออกแบบ ขั้นตอนการวิเคราะห์มักเรียกว่า "การจัดหาข้อกำหนด" น้ำตกรุ่น OOAD จะดำเนินการในลักษณะที่ซ้ำและเพิ่มขึ้นเป็นสูตรโดย กระบวนการแบบครบวงจร


23 ในบางแนวทางในการพัฒนาซอฟต์แวร์ หรือที่เรียกรวมๆ ว่าโมเดลน้ำตก ขอบเขตระหว่างแต่ละขั้นตอนนั้นต้อง เข้มงวดพอสมควรและเป็นไปตามลำดับ คำว่า "น้ำตก" ถูกบัญญัติขึ้นสำหรับวิธีการดังกล่าวเพื่อแสดงว่าความคืบหน้า ดำเนินไปตามลำดับในทิศทางเดียวเท่านั้น กล่าวคือ เมื่อการวิเคราะห์เสร็จสิ้นแล้ว จากนั้นจึงเริ่มออกแบบ และพบได้ ยาก (และถือว่าเป็นสาเหตุของข้อผิดพลาด) เมื่อมีปัญหาด้านการออกแบบ จำเป็นต้องเปลี่ยนรูปแบบการวิเคราะห์ หรือเมื่อปัญหาการเข้ารหัสจำเป็นต้องเปลี่ยนการออกแบบ ทางเลือกแทนโมเดลน้ำตกคือโมเดลแบบวนซ้ำ ความแตกต่างนี้เป็นที่นิยมโดย Barry Boehm ในบทความที่ ทรงอิทธิพลมากเกี่ยวกับ Spiral Model ของเขาสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบวนซ้ำ ด้วยแบบจำลองแบบวนซ้ำ จึงสามารถทำงานในขั้นตอนต่างๆ ของแบบจำลองควบคู่กันไปได้ ตัวอย่างเช่น เป็นไปได้และไม่ถูกมองว่าเป็นสาเหตุ ของข้อผิดพลาด เพื่อทำงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ออกแบบ และแม้แต่โค้ดทั้งหมดในวันเดียวกัน และมีปัญหาจาก ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อขั้นตอนหนึ่งจากอีกขั้นตอนหนึ่ง เน้นที่แบบจำลองซ้ำๆ คือ การพัฒนาซอฟต์แวร์เป็น กระบวนการที่ต้องใช้ความรู้สูง และสิ่งต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ไม่สามารถเข้าใจได้อย่างสมบูรณ์โดยปราศจากความ เข้าใจในปัญหาการออกแบบ ปัญหาด้านการเขียนโค้ดอาจส่งผลต่อการออกแบบ การทดสอบสามารถให้ข้อมูล เกี่ยวกับโค้ดหรือแม้กระทั่ง การออกแบบควรปรับเปลี่ยน ฯลฯ แม้ว่าจะเป็นไปได้ที่จะทำการพัฒนาเชิงวัตถุโดยใช้ แบบจำลองน้ำตก แต่ในทางปฏิบัติระบบเชิงวัตถุส่วนใหญ่ได้รับการพัฒนาด้วยวิธีการวนซ้ำ เป็นผลให้ในกระบวนการ เชิงวัตถุ "การวิเคราะห์และการออกแบบ" มักจะถูกพิจารณาในเวลาเดียวกัน กระบวนทัศน์เชิงวัตถุเน้นย้ำถึงความเป็นโมดูลและการนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป้าหมายของวิธีการเชิงวัตถุคือการ ตอบสนอง"เปิดปิดหลักการ" โมดูลเปิดอยู่หากรองรับการขยาย หรือหากโมดูลมีวิธีที่เป็นมาตรฐานในการเพิ่มลักษณะ การทำงานใหม่หรืออธิบายสถานะใหม่ ในกระบวนทัศน์เชิงวัตถุนี้มักจะสำเร็จโดยการสร้างคลาสย่อยใหม่ของคลาสที่มี อยู่ โมดูลจะปิดลงหากมีอินเทอร์เฟซที่เสถียรที่กำหนดไว้อย่างดีซึ่งโมดูลอื่น ๆ ทั้งหมดต้องใช้และจำกัดการโต้ตอบและ ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นซึ่งสามารถนำไปใช้กับโมดูลหนึ่งโดยการเปลี่ยนแปลงในอีกโมดูลหนึ่ง ในกระบวนทัศน์เชิง วัตถุ ทำได้โดยการกำหนดวิธีการที่เรียกใช้บริการบนวัตถุ เมธอดสามารถเป็นได้ทั้งแบบสาธารณะและแบบส่วนตัว กล่าวคือ พฤติกรรมบางอย่างที่มีลักษณะเฉพาะกับออบเจกต์จะไม่ถูกเปิดเผยต่ออ็อบเจ็กต์อื่น ซึ่งจะช่วยลดสาเหตุของ ข้อผิดพลาดทั่วไปหลายอย่างในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไป วงจรชีวิตซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่คำอธิบายเชิงนามธรรมของปัญหาไปจนถึง การออกแบบ โค้ดและการทดสอบ และสุดท้ายจนถึงการนำไปใช้งาน ขั้นตอนแรกสุดของกระบวนการนี้คือการ วิเคราะห์และออกแบบ ความแตกต่างระหว่างการวิเคราะห์และการออกแบบมักถูกอธิบายว่า "อะไรกับอย่างไร" ใน การวิเคราะห์ นักพัฒนาทำงานร่วมกับผู้ใช้และผู้เชี่ยวชาญโดเมนเพื่อกำหนดสิ่งที่ระบบควรทำ รายละเอียดการใช้งาน ควรจะเป็นส่วนใหญ่หรือทั้งหมด (ขึ้นอยู่กับวิธีการเฉพาะ) ละเว้นในขั้นตอนนี้ เป้าหมายของขั้นตอนการวิเคราะห์คือ การสร้างแบบจำลองการทำงานของระบบโดยไม่คำนึงถึงข้อจำกัด เช่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการวิเคราะห์เชิงวัตถุ โดยทั่วไปจะทำผ่านกรณีการใช้งานและคำจำกัดความนามธรรมของวัตถุที่สำคัญที่สุด ขั้นตอนการออกแบบที่ตามมา จะขัดเกลาแบบจำลองการวิเคราะห์และทำให้เทคโนโลยีที่จำเป็นและทางเลือกในการนำไปใช้งานอื่นๆ ในการ ออกแบบเชิงวัตถุ เน้นที่การอธิบายวัตถุต่าง ๆ ข้อมูล พฤติกรรม และปฏิสัมพันธ์ โมเดลการออกแบบควรมี รายละเอียดทั้งหมดที่จำเป็นเพื่อให้โปรแกรมเมอร์สามารถนำการออกแบบไปใช้ในโค้ดได้


24 การวิเคราะห์เชิงวัตถุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมการวิเคราะห์ใดๆ ในวงจรชีวิตของซอฟต์แวร์คือการสร้าง แบบจำลองข้อกำหนดด้านการทำงานของระบบที่ไม่ขึ้นกับข้อจำกัดในการใช้งาน ความแตกต่างหลัก ระหว่างการวิเคราะห์เชิงวัตถุและรูปแบบอื่น ๆ ของการวิเคราะห์คือโดยวิธีการเชิงวัตถุ เราจัด ระเบียบข้อกำหนดรอบวัตถุ ซึ่งรวมทั้งพฤติกรรม (กระบวนการ) และสถานะ (ข้อมูล) ที่สร้างแบบจำลองหลังจากวัตถุ ในโลกแห่งความเป็นจริงที่ระบบโต้ตอบด้วย ในวิธีการวิเคราะห์แบบอื่นหรือแบบเดิม ทั้งสองแง่มุม: กระบวนการและ ข้อมูลได้รับการพิจารณาแยกจากกัน ตัวอย่างเช่นข้อมูลอาจจะสร้างแบบจำลองโดยแผนภาพ ERและพฤติกรรมโดย แผนภูมิการไหลหรือแผนภูมิโครงสร้าง รุ่นทั่วไปที่ใช้ใน OOA กรณีการใช้งานและรูปแบบของวัตถุกรณีใช้อธิบายสถานการณ์สมมติสำหรับฟังก์ชัน โดเมนมาตรฐานที่ระบบต้องทำให้สำเร็จ โมเดลอ็อบเจ็กต์อธิบายชื่อ ความสัมพันธ์ของคลาส (เช่น Circle เป็นคลาส ย่อยของ Shape) การดำเนินการ และคุณสมบัติของอ็อบเจ็กต์หลัก นอกจากนี้ยังสามารถสร้างแบบจำลองหรือ ต้นแบบอินเทอร์เฟซผู้ใช้เพื่อช่วยให้เข้าใจได้ การออกแบบเชิงวัตถุ ในระหว่างการออกแบบเชิงวัตถุ (OOD) นักพัฒนาจะใช้ข้อจำกัดในการใช้งานกับโมเดล แนวคิดที่สร้างขึ้นในการวิเคราะห์เชิงวัตถุ ข้อจำกัดดังกล่าวอาจรวมถึงแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ข้อกำหนด ด้านประสิทธิภาพ การจัดเก็บและการทำธุรกรรมแบบถาวร ความสามารถในการใช้งานของระบบ และข้อจำกัดที่ กำหนดโดยงบประมาณและเวลา แนวคิดในแบบจำลองการวิเคราะห์ซึ่งไม่ขึ้นกับเทคโนโลยี จะถูกแมปไปยังคลาสและ อินเทอร์เฟซที่นำไปใช้ ส่งผลให้เกิดแบบจำลองของโดเมนโซลูชัน กล่าวคือ คำอธิบายโดยละเอียดว่าระบบจะถูกสร้าง ขึ้นบนเทคโนโลยีที่เป็นรูปธรรมได้อย่างไร หัวข้อสำคัญระหว่าง OOD ยังรวมถึงการออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์โดยใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมและ รูปแบบการออกแบบด้วยหลักการออกแบบเชิงวัตถุการสร้างแบบจำลองเชิงวัตถุ เชิงวัตถุแบบจำลอง (OOM) เป็นแนวทางร่วมกันเพื่อการใช้งานการสร้างแบบจำลองระบบและโดเมนธุรกิจโดย ใช้กระบวนทัศน์เชิงวัตถุตลอดทั้งวงจรชีวิตการพัฒนา OOM เป็นเทคนิคหลักที่ใช้อย่างหนักโดยกิจกรรม OOD และ OOA ในด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์สมัยใหม่การสร้างแบบจำลองเชิงวัตถุมักจะแบ่งออกเป็นสองด้านของงาน: การ สร้างแบบจำลองของพฤติกรรมแบบไดนามิก เช่น กระบวนการทางธุรกิจและกรณีการใช้งานและการสร้างแบบจำลอง ของโครงสร้างคงที่ เช่น คลาสและส่วนประกอบ OOA และ OOD เป็นระดับนามธรรมที่แตกต่างกันสองระดับ (เช่น ระดับการวิเคราะห์และระดับการออกแบบ) ระหว่าง OOM Unified Modeling Language (UML)และSysMLเป็น สองภาษามาตรฐานสากลที่นิยมใช้สำหรับการสร้างแบบจำลองเชิงวัตถุ [7] ประโยชน์ของ OOM คือ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้ใช้มักมีปัญหาในการทำความเข้าใจเอกสารที่ครอบคลุมและรหัสภาษาโปรแกรมเป็นอย่างดี ไดอะแกรม แบบจำลองภาพสามารถเข้าใจได้มากขึ้น และสามารถช่วยให้ผู้ใช้และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถให้คำติชมแก่ นักพัฒนาเกี่ยวกับข้อกำหนดและโครงสร้างของระบบที่เหมาะสม เป้าหมายหลักของแนวทางเชิงวัตถุคือการลด "ช่องว่างทางความหมาย" ระหว่างระบบกับโลกแห่งความเป็นจริง และเพื่อให้ระบบถูกสร้างขึ้นโดยใช้คำศัพท์ที่


Click to View FlipBook Version