The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนอาชีวอนามัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-04-02 23:30:11

แผนการสอนอาชีวอนามัย

แผนการสอนอาชีวอนามัย

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา 20001-1001 วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จำนวน 2 หน่วยกิต จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม จัดทำโดย นายไพศาล กลัดวัง ครูพิเศษสอน ปีการศึกษา 2/2565 แผนกวิชาเทคนิคพื้นฐาน วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ทางวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 เพื่อใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน และเพื่อให้ กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 รหัสวิชา 20001-100 รายวิชาอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่ข้าพเจ้าจัดทำขึ้น ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบาย รายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร


สารบัญ ลักษณะรายวิชา 1 รายการสอน 2 ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา 3 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 4 กำหนดการสอน 5 แผนผังความคิดแผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 6 การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน 7 การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 12 โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการประกอบอาชีพ 17 การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ 22 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 27 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 32 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 37 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 42


1 ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 20001-1001 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย จำนวน 2 – 0 - 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการจัดการเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการปปฏิบัติงานอาชีพ 2. สามารถดำเนินการเบื้องต้นในการควบคุมและป้องกันมลพิษ โรคและอุบัติภัยที่เกิดจากการทำงาน 3. สามารถปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4. มีจิตสำนึกและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานอาชีพตามหลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สมรรถนะรายวิชา คำอธิบายรายวิชา(เดิม) ศึกษาเกี่ยวกับอาชีวอนามั้ย และความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอาชีพ ปัญหามลพิษโรคและอุบัติภัยที่เกิด จากการทำงานและการควบคุมป้องกัน การปรบปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยเบื้องต้น เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย เครื่องป้องกันอันตราย การปฐมพยาบาล เบื้องต้น กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกบอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คำอธิบายรายวิชา(ใหม่) ศึกษาเกี่ยวกับอาชีวอนามั้ย และความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอาชีพ ปัญหามลพิษโรคและอุบัติภัยที่เกิด จากการทำงาน และการควบคุมป้องกัน การปรบปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ การจัดการอาชีวอนา มัยและความปลอดภัยเบื้องต้น เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยที่ใช้ในชวิตประจำวันและใช้ในการทำงาน เครื่องป้องกันอันตราย วิธีการการปฐมพยาบาลเบื้องต้น กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอาชีวอ นามัยและความปลอดภัย


2 รายการสอน ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน 4 - 4 2 การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 6 - 6 3 โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการประกอบอาชีพ 6 - 6 4 การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ 4 - 4 5 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 4 - 4 6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 4 - 4 7 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 4 - 4 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 4 - 4 รวม 36


3 ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา รหัสวิชา 20001-1001 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย จำนวน 2 – 0 - 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา 1 การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน 1.อุบัติเหตุและความเสี่ยงที่ผ่านมา เช่น อุบตัิการณ์ที่เคยเกิดข้ึน การตรวจสอบ สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัยและการกระท าที่ ไม่ปลอดภัยและการประเมินความเสี่ยง เป็ น ต้น 2.ปัญหาและความเสี่ยงที่ส าคัญเพื่อความ ปลอดภัย 3จัดท าเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สามารถช่วยลด หรือป้องกันอุบัติเหตุ และความเสี่ยง 4.การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจาก ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการท างาน อ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 2 การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน 3 โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการประกอบอาชีพ 4 การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ 5 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 7 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย


4 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา 20001-1001 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย จำนวน 2 – 0 - 2 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 36 ชั่วโมง พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธพิสัย ความรู้ ความเข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลำดับความสำคัญ จำนวนคาบ การจัดการอาชีวอนามัย และความ ปลอดภัยในการทำงาน 1 1 1 - - - - 2 5 5 4 การป้องกันและควบคุมมลพิษจาก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 2 2 2 1 - - - 3 10 1 6 การป้องกันและควบคุมมลพิษจาก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 1 1 1 - - - - 2 5 5 6 การปรับปรุงสภาพการทำงานตาม หลักการยศาสตร์ 1 2 1 1 - - - 3 8 3 4 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความ ปลอดภัยในการทำงาน 2 2 1 - - - - 3 8 3 4 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 2 2 1 1 - - - 2 8 3 4 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 2 1 1 - - - - 3 7 4 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 1 2 2 2 - - - 2 9 2 4 รวม 12 13 10 5 - - - 20 100 - 34 ลำดับความสำคัญ 3 2 4 5 1


5 กำหนดการสอน หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน 1-2 1-4 2 การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 3-5 5-10 3 โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการประกอบอาชีพ 6-8 11-16 4 การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ 9-10 17-20 5 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 11-12 21-24 6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 13-14 25-28 7 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 15-16 29-32 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 17-18 33-36


6 กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นเรื่องราว/โครงการ/ชิ้นงาน โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลกระทบเพื่อความสมดุล พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม 2,3,4 1,2,3,4,5,6 6 3,5,6 อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย สมรรถนะด้านความ มีเหตุผล 1.สามารถ.แบ่งเวลาได้เหมาะสมกับ กิจกรรมและภาระงาน 2.สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำ กิจกรรมอย่างคุ้มค่าและประหยัด 3.สามารถวิเคราะห์กิจกรรมเนื้อหาตาม ได้อย่างเหมาะสม สมรรถนะด้านความ พอประมาณ 4.การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสม กับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ ปฏิบัติหน้าที่ได้ครบถ้วน และมีคุณภาพ 5.เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่อย่าง ประหยัด และคุ้มค่า สมรรถนะด้านความมี ภูมิคุ้มกัน 6.รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตาม หน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้ กิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่ ปลอดภัย 8.มีจิตสำนึกต่อบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบและจิตอาสาในการ ช่วยเหลือผู้อื่น และสังคม เงื่อนไขด้านความรู้ และทักษะ 13.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน สามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาการประสบ อันตรายจากการทำงานได้ เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ 9. มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามใน การศึกษาและปฏิบัติงาน. 10. ตรงต่อเวลา 11. ใช้วัสดุถูกต้องพอเพียงและ เหมาะสมกับงาน 12. สุภาพ เรียบร้อย อ่อนน้อมถ่อมตน ตามสถานภาพและกาลเทศะ.


7 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่1 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 1-2 ชื่อหน่วย การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ในการทำงาน ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงาน จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ในปัจจุบันสถานประกอบการต่างๆมีความมุ่งหมาย และให้ความสำคัญตามระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย ISO 45001 กำหนดด้านความปลอดภัยดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยในการทำงานกัน มากขึ้น และในขณะเดียวกันเจ้าของกิจการก็จะคำนึงถึงผลประโยชน์ในด้านการเพิ่มผลผลิต และมาตรการการ ป้องกันหรือลดความเสี่ยง ลดการสูญเสียของกำลังคน และงานกับวัตถุดิบไปพร้อมกันด้วย ดังนั้นสถานประกอบการ หรือเจ้าของกิจการต้องพัฒนา หรือผลักดันแรงงานให้เท่าทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยการเพิ่มขีดความสามารถ ด้วย วิธีการจัดการฝึกอบรมให้การศึกษาอย่างต่อเนื่อง และจัดสวัสดิการที่เหมาะสมให้กับคนงานเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นการ ลดสถิติ การเกิดอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในการทำงานลงเพื่อลดปัญหาและความเสี่ยงที่ส าคัญเพื่อความ ปลอดภัย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1.มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการความปลอดภัยในการทำงาน 2.ปัญหาและความเสี่ยงที่ส าคัญเพื่อความปลอดภัยอ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายของความปลอดภัยในการทำงาน 3.1.2 อุบัติเหตุในการทำงาน 3.1.3 ปัญหาการประสบอันตรายจากการทำงาน 3.1.4 การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection) 3.1.5 ทฤษฎีแนวคิดการเกิดอุบัติเหตุ 3.1.6 สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถบอกความหมายของความปลอดภัยในการทำงานได้ 3.2.2 สามารถบอกถึงสาเหตุจากของอุบัติเหตุในการทำงานได้ 3.2.3 สามารถวิเคราะห์ปัญหาการประสบอันตรายจากการทำงานได้ 3.2.4 สามารถตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection) ได้ 3.2.5 สามารถบอกทฤษฎีแนวคิดการเกิดอุบัติเหตุได้ 3.2.6 สามารถบอกสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานได้ 3.3 ปัญหาและความเสี่ยงที่ส าคัญเพื่อความปลอดภัย อ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB


8 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง ความปลอดภัยในการ ทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการทำงาน ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระการเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ความหมายของความปลอดภัยในการทำงาน 4.2 อุบัติเหตุในการทำงาน 4.3 ปัญหาการประสบอันตรายจากการทำงาน 4.4 การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection) 4.5 ทฤษฎีแนวคิดการเกิดอุบัติเหตุ 4.6 สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของความปลอดภัยในการทำงาน สามารถ วิเคราะห์แก้ปัญหาการประสบอันตรายจากการทำงานได้


9 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 1 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 1 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 1 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง ความปลอดภัยในการทำงาน จากหนังสือเรียนอาชีวอนา มัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ ความปลอดภัยในการทำงาน 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้


10 คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


11


12 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


13 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่2 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 3-5 ชื่อหน่วย การป้องกันและควบคุมมลพิษจาก สภาพแวดล้อมในการทำงาน ชั่วโมงรวม 6 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน จำนวนชั่วโมง 6 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การสร้างความปลอดภัย อาชีวอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นและมีสำคัญอย่างยิ่งในการ ปฏิบัติงาน เพราะทรัพยากรที่มีค่าที่สุดในการดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น คือ ทรัพยากรมนุษย์ หรือตัวของ พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมนั้นเอง ดังนั้นการสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือสภาวะที่แสดงถึงการ เตรียมการ และการดำเนินการเพื่อป้องกันภัย อันตรายจากการปปฏิบัติงานหรือการกระทำต่าง ๆ รวมถึงการแก้ไข กำหนดมาตรการและช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินจึงเป็นสิ่งที่สถานประกอบการทุกประเภทต้องให้ความสำคัญเป็น ลำดับต้น ๆความปลอดภัย อาชีวอนามัยในโรงงานอุตสาหกรรม 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1.มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2.การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัจจัยสภาพแวดล้อมในการท างานอ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 3.1.2 สสารหรือสารที่มีอันตรายสูง 3.1.3 ลักษณะมลพิษสิ่งแวดล้อม 3.1.4 การเกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม 3.1.5 ประเภทของมลพิษสิ่งแวดล้อม 3.1.6 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 3.1.7 สภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพ 3.1.8 การป้องกันสภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพ 3.1.9 หลักทางด้านสุขศาสตร์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถบอกความหมายและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษได้ 3.2.2 สามารถแยกแยะสสารหรือสารที่มีอันตรายสูงได้ 3.2.3 สามารถบอกถึงลักษณะมลพิษสิ่งแวดล้อมได้ 3.2.4 สามารรถอธิบายสาเหตุการเกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมได้ 3.2.5 สามารถบอกประเภทของมลพิษสิ่งแวดล้อมได้ 3.2.6 สามารถบอกถึงสภาพแวดล้อมในการทำงานได้


14 3.2.7 สามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพได้ 3.2.8 สามารถป้องกันสภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพได้ 3.2.9 สามารถบอกถึงหลักทางด้านสุขศาสตร์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน 3.2.10การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัจจัยสภาพแวดล้อมในการท างาน WPS-ZZZ-4- 036ZB 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง การป้องกันและ ควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมในการทำงาน ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหา สาระการเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ความหมายและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ 4.2 สสารหรือสารที่มีอันตรายสูง 4.3 ลักษณะมลพิษสิ่งแวดล้อม 4.4 การเกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม 4.5 ประเภทของมลพิษสิ่งแวดล้อม 4.6 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 4.7 สภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพ 4.8 การป้องกันสภาพแวดล้อมและการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในงานอาชีพ 4.9 หลักทางด้านสุขศาสตร์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน.


15 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการป้องกันและควบคุมมลพิษจาก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 2 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 2 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 2 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง การป้องกันและควบคุมมลพิษจากสภาพแวดล้อมใน การทำงาน จากหนังสือเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ การป้องกันและควบคุมมลพิษจาก สภาพแวดล้อมในการทำงาน 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ


16 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


17


18 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


19 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่3 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 6-8 ชื่อหน่วย โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการ ประกอบอาชีพ ชั่วโมงรวม 6 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน โรคที่เกิดจากการทำงานและโรคจากการประกอบอาชีพ จำนวนชั่วโมง 6 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักรนั้น เป็นกระบวนการทำงานที่มีความเสี่ยง และอาจเกิดความไม่ ปลอดภัยด้านของผู้ปฏิบัติ หรือเครื่องจักรก็ดี การสร้างความเข้าใจให้เจ้าของสถานประกอบการ หรือนายจ้างเห็น ความสำคัญของสุขภาพอนามัยของลูกจ้างเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก การจัดมาตราการในการป้องกันโรคที่เกิดจากการ ทำงานเป็นสิ่งจำเป็นนอกจากนี้การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาชีพหรือลูกจ้างเองให้ตระหนักถึงความสำคัญของการ ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันตัวเองก็มีส่วนสำคัญเช่นเดียวกัน รวมทั้งต้องรู้อันตรายของงานที่ทำงาน และสิ่ง คุกคามที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมการทำงานจะทำให้คนงานหรือผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมมีความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1.มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการป้องกันโรคที่เกิดจากากรทำงาน และโรคจากการประกอบอาชีพ 2.การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัจจัยสภาพแวดล้อมในการท างานอ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายของโรคจากการประกอบอาชีพ 3.1.2 ชนิดของโรคจากการประกอบอาชีพ 3.1.3 สาเหตุของการเกิดโรคจากการทำงาน 3.1.4 ปัจจัยทางกายภาพที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน 3.1.5 ปัจจัยทางเคมีที่ทำให้เกิดโรคจาการทำงาน 3.1.6 มาตรการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ 3.1.7 วิธีการควบคุมอันตรายจาการทำงาน 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถบอกความหมายของโรคจากการประกอบอาชีพได้ 3.2.2 สามารถแยกชนิดของโรคจากการประกอบอาชีพได้ 3.2.3 สามารถอธิบายสาเหตุของการเกิดโรคจากการทำงานได้ 3.2.4 สามารถบอกปัจจัยทางกายภาพที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงานได้ 3.2.5 สามารรถบอกถึงปัจจัยทางเคมีที่ทำให้เกิดโรคจาการทำงานได้ 3.2.6 สามารถบอกมาตรการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพได้ 3.2.7 สามารถอธิบายวิธีการควบคุมอันตรายจาการทำงานได้


20 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง โรคที่เกิดจากากรทำงาน และ โรคจากการประกอบอาชีพ 3.3.2การคาดการณ์ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัจจัยสภาพแวดล้อมในการท างานอ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 โรคที่เกิดจากากรทำงาน และโรคจากการประกอบอาชีพ ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระ การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ความหมายของโรคจากการประกอบอาชีพ 4.2 ชนิดของโรคจากการประกอบอาชีพ 4.3 สาเหตุของการเกิดโรคจากการทำงาน 4.4 ปัจจัยทางกายภาพที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน 4.5 ปัจจัยทางเคมีที่ทำให้เกิดโรคจาการทำงาน 4.6 มาตรการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพ 4.7 วิธีการควบคุมอันตรายจาการทำงาน 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการป้องกันโรคที่เกิดจากากรทำงาน และโรค จากการประกอบอาชีพ


21 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 3 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 3 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 3 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง ทักษะกระบวนการป้องกันโรคที่เกิดจากากรทำงาน และโรคจากการประกอบอาชีพ จากหนังสือเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ ทักษะกระบวนการป้องกันโรคที่เกิดจากา กรทำงาน และโรคจากการประกอบอาชีพ 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้


22 คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


23


24 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


25 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่4 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่วย การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการย ศาสตร์ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การยศาสตร์ หมายถึง วิทยาการเกี่ยวกับงานหรือการทำงาน สมาคมการจัดการแห่งประเทศไทยได้ บัญญัติศัพท์ของคำว่า Ergonomics ไว้ว่า “สมรรถศาสตร์” ซึ่งหมายความว่าเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวกับความสามารถ ในที่นี้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของมนุษย์ในลักษณะต่างๆ โดยเทียบเคียงกับคำว่า Human Performance Engineering สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย (ปัจจุบัน เป็น กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน) ได้ให้ความหมายของชื่อนี้ว่า “วิทยาการจัดสภาพงาน” และ ใช้กันในการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับต่างๆ ถือว่าเป็นชื่อที่สื่อความหมายได้ดี ดังนั้นการยศาสตร์จึง เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับหลายสาขาวิชาด้วยกัน เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ จิตวิทยา สังคมศาสตร์ และ สุขศาสตร์ อุตสาหกรรม ซึ่งนำมาประยุกต์ใช้ร่วมก้นเพื่อปรับปรุงคุณภาพการทำงานให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน ความปลอดภัยสูงสุดและความสะดวกสบายในการทำงาน งานทางด้านการยศาสตร์ คือ การพัฒนาปรับปรุงสภาพ การทำงาน ความหนักเบาของงาน การใช้เครื่องมือที่เหมาะสม รวมไปถึงท่าทางการทำงาน เพื่อให้คนงานสามารถ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการลดข้อผิดพลาดในการทำงาน และการเพิ่มผลผลิต นอกจากนี้ยังเป็น การเพิ่มคุณภาพชีวิตในการทำงานอีกด้วย 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1.มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ 2.จัดท าเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สามารถช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุ และความเสี่ยงอ้างอิง WPS-ZZZ-4-036ZB 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายของการยศาสตร์ 3.1.2 ความสำคัญและวัตถุระสงค์ของการยศาสตร์ 3.1.3 ขอบเขตของงานการยศาสตร์ 3.1.4 หลักการของการยศาสตร์ (Ergonomics) 3.1.5 ขนาดโครงสร้างร่างกายของคน3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถอธิบายความหมายของการยศาสตร์ได้ 3.2.2 สามารถอธิบายความสำคัญและวัตถุระสงค์ของการยศาสตร์ได้ 3.2.3 สามารถบอกขอบเขตของงานการยศาสตร์ได้


26 3.2.4 สามารถอธิบายหลักการของการยศาสตร์ (Ergonomics)ได้ 3.2.5 สามารถบอกขนาดโครงสร้างร่างกายของคนได้ 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง การปรับปรุงสภาพ การทำงานตามหลักการยศาสตร์ 3.3.2จัดท าเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สามารถช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุ และความเสี่ยงอ้างอิง WPSZZZ-4-036ZB 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 4 การปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์ ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระการ เรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ความหมายของการยศาสตร์ 4.2 ความสำคัญและวัตถุระสงค์ของการยศาสตร์ 4.3 ขอบเขตของงานการยศาสตร์ 4.4 หลักการของการยศาสตร์ (Ergonomics) 4.5 ขนาดโครงสร้างร่างกายของคน 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการย ศาสตร์


27 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 4 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 4 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 4 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง ทักษะกระบวนการปรับปรุงสภาพการทำงานตาม หลักการยศาสตร์จากหนังสือเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ ทักษะกระบวนการป้องกันโรคที่เกิดจากา กรทำงาน และโรคจากการประกอบอาชีพ 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี


28 คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


29


30 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


31 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่5 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 11-12 ชื่อหน่วย เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยใน การทำงาน ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ เครื่องหมายความปลอดภัยเป็นสัญลักษณ์บอกให้ทราบถึงสภาวะความปลอดภัยในการทำงาน ผู้ปฏิบัติงานทุก คนต้องมีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมายความปลอดภัย และจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม อย่างเคร่งครัด เพื่อลดอุบัติเหตุต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการทำงาน โดยมาตรฐาน IOS 3864 กำหนดรูปเครื่องหมาย เพื่อความปลอดภัยเป็น 3 แบบ ให้มีความหมายสัมพันกับการใช้สี คือ วงกลม หมายถึง การห้ามและข้อบังคับ 3 เห ลี่ม หมายถึง การเตือนสติ และ 4 เหลี่ยม หมายถึงข้อมูลหรือข้อแนะนำ นอกจาก IOS 3864 ยังได้ให้รายละเอียด ทางวิชาการด้านอื่นๆที่จำเป็นต่อการกำหนดข้อปฏิบัติโดยทั่วไป สำหรับผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการออกแบบแล อุตสาหกรรมการผลิตสัญลักกษณ์เหล่านี้เพื่อให้เป็นสากลและเป็นที่ยอมรับร่วมกันทั่วโลก เครื่องหมายเพื่อความ ปลอดภัยหรือป้ายเตือนความปลอดภัย Safety Poster มีไว้เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ จำแนกเป็นเครื่องหมายเพื่อความ ปลอดภัย และเครื่องหมายเสริม 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1.มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 2.จัดท าเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สามารถช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุ และความเสี่ยงอ้างอิง WPS-ZZZ-4- 036ZB 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายเครื่องหมายความปลอดภัย (Safety Sign) 3.1.2 อิทธิพบลสี และรูปทรงของเครื่องหมายความปลอดภัย 3.1.3 รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 3.1.4 สัญลักษณ์และรหัสแสดงอันตรายของสารเคมี 3.1.5 สีและวัตถุภายในท่อ3.1.5 ขนาดโครงสร้างร่างกายของคน3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถบอกความหมายเครื่องหมายความปลอดภัย (Safety Sign) ได้ 3.2.2 สามารถอธิบายอิทธิพบลสี และรูปทรงของเครื่องหมายความปลอดภัยได้ 3.2.3 สามารถบอกรูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรมได้ 3.2.4 สามารถบอกถึงสัญลักษณ์และรหัสแสดงอันตรายของสารเคมีได้ 3.2.5 สามารถบอกสีและวัตถุภายในท่อได้ 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง เครื่องหมายและ สัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน 3.3.2จัดท าเครื่องมือ อุปกรณ์ ที่สามารถช่วยลดหรือป้องกันอุบัติเหตุ และความเสี่ยงอ้างอิง WPSZZZ-4-036ZB


32 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระ การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ความหมายเครื่องหมายความปลอดภัย (Safety Sign) 4.2 อิทธิพบลสี และรูปทรงของเครื่องหมายความปลอดภัย 4.3 รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 4.4 สัญลักษณ์และรหัสแสดงอันตรายของสารเคมี 4.5 สีและวัตถุภายในท่อ 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความ ปลอดภัยในการทำงาน 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 5 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ


33 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 5 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 5 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัยในการทำงาน จากหนังสือเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย ในการทำงาน 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง


34 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


35


36 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


37 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่6 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 13-14 ชื่อหน่วย อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ จากภาวะความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน สภาพการทำงานประกอบอาชีพในด้านต่าง ๆ นั้นผู้ปฏิบัติงานหรือคนงาน ลูกจ้าง มีโอกาสเสี่ยงต่ออันตราย รวมทั้งข้อมูลสถิติของผู้ประสบอุบัติเหตุจากการ ทำงานหรือประกอบอาชีพนั้นมีเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเป็นผลมาจาการทำงานในสถานประกอบการที่มีการออกแบบสร้างที่ ไม่ถูกต้องการ หรือไม่เหมาะสมในการหรือปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานในสถานประกอบการที่มีกระบวนกรผลิตที่ไม่ ปลอดภัย สภาพแวดล้อมของการทำงานที่ไม่ปลอดภัยทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพ ทางเคมีและจิตวิทยาสังคม ทำ ให้โรคที่เกิดจาการทำงาน รวมทั้งการเกิดอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ หรือพิการ จนถึงขั้นเสียชีวิตจาการทำงานมีโอกาส เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ถึงแม้บางครั้งสถานประกอบการจะได้มีการวางแผนโครงสร้าง มีการออกแบบด้าววิศวกรรม มาเป็นอย่างดีแล้วก็ตาม แต่การทำงานบางอย่างมีข้อจำกัดที่ไม่อาจใช้หลักการทางวิศวกรรมมาใช้แก้ปัญหาได้ จึงจำ เป้นต้องมีการออกแบบอุปกรณ์ เครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การควบคุม และป้องกันอันตรายกับ ตัวบุคคลขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวป้องกันอันตรายอันอาจเกิดขึ้นได้ขณะการทำงานควบคู่ไปปกับ การควบคุมดูแล และป้องกันโดยวิธีอื่นๆ ตามลักษณะความจำเป็นของการปฏิบัติงานเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป ด้วยความปลอดภัยสูงสุด ซึ่งอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการทำงานที่สำคัญคือ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 2. สมรรถนะประจำหน่วย มีความรู้ความเข้าใจในทักษะการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ช้ีบ่งหัวข้อกิจกรรมงานที่ต้องด าเนินการในการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์ก A404.2.01 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายและความสำคัญ 3.1.2 ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถอธิบายความหมายและความสำคัญได้ 3.2.2 สามารถบอกประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคล


38 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระการเรียนรู้ในเรื่อง ต่อไปนี้ 4.1 ความหมายและความสำคัญ 4.2 ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 6 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 6 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้


39 ในหน่วยที่ 6 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล จากหนังสือเรียนอา ชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง


40 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


41 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


42 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่7 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 13-14 ชื่อหน่วย การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใช้ อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้น นำมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น ควรทำการปฐมพยาบาลให้เร็วที่สุดหลังเกิดเหตุโดย อาจทำได้ในทันที หรือระหว่างการนำผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาลหรือสถานที่รักษาพยาบาลอื่นๆ เพื่อ ช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วย หรืออาการบาดเจ็บนั้นๆ ก่อนที่ผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจาก บุคลากรทางการแพทย์ หรือถูกนำส่งไปยังโรงพยาบาล 2. สมรรถนะประจำหน่วย มีความรู้ความเข้าใจในทักษะการปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ ระบุมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติที่ดี(Best Practice) ได้A101.2.03 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล 3.1.2 หลักทั่วไปของการปฐมพยาบาล 3.1.3 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 3.1.4 ขั้นตอนการปฏิบัติการกู้ชีพ (CPR) 3.1.5 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสิ่งมีพิษ 3.1.6 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสัตว์ 3.1.7 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากพืช 3.1.8 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ 3.1.9 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ 3.1.10 การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกกระแสไฟฟ้า 3.1.11 การปฐมพยาบาลผู้เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตา3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถบอกความหมายของการปฐมพยาบาลได้ 3.2.2 สามารถอธิบายหลักทั่วไปของการปฐมพยาบาลได้ 3.2.3 สามารถทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ 3.2.4 สามารถบอกขั้นตอนการปฏิบัติการกู้ชีพ (CPR)ได้ 3.2.5 สามารถปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสิ่งมีพิษได้ 3.2.6 สามารถปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสัตว์ได้ 3.2.7 สามารรถปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากพืชได้ 3.2.8 สามารถปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุได้


43 3.2.9 สามารถปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ 3.2.10 สามารถปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกกระแสไฟฟ้าได้ 3.2.11 สามารถปฐมพยาบาลผู้เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตาได้ 3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 รับรู้ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบคุณค่า และพัฒนาลักษณะนิสัย ในเรื่อง การปฐมพยาบาลใน สถานประกอบการ 4. สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 7 การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ ประกอบไปด้วยหัวข้อหรือเนื้อหาสาระการเรียนรู้ในเรื่อง ต่อไปนี้ 4.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล 4.2 หลักทั่วไปของการปฐมพยาบาล 4.3 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 4.4 ขั้นตอนการปฏิบัติการกู้ชีพ (CPR) 4.5 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสิ่งมีพิษ 4.6 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากสัตว์ 4.7 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับอันตรายจากพืช 4.8 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ 4.9 การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ 4.10 การปฐมพยาบาลผู้ที่ถูกกระแสไฟฟ้า 4.11 การปฐมพยาบาลผู้เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตา 5.การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 สมรรถนะด้านความมีภูมิคุ้มกัน 5.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และปฏิบัติตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทำให้กิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เหมาะสม 5.2 สมรรถนะด้านความพอประมาณ 5.2.1 การแบ่งเวลาภาระหน้าที่ที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคลทำให้ 5.3 สมรรถนะด้านความมีเหตุผล 5.3.1 สามารถแบ่งเวลาได้เหมาะสมกับกิจกรรมและภาระงาน 5.3.2 สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานได้ถูกต้อง 5.4 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5.4.1 มุ่งมั่นตั้งใจเพียรพยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน. 5.4.2 ตรงต่อเวลา


44 5.5 เงื่อนไขด้านความรู้และทักษะ 5.5.1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 6.1.1 ครูนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน โดยครอบคลุมถึงเนื้อหาของการเรียนรู้ใน หน่วยที่ 7 ซึ่งในแต่ละหัวข้อนั้นจะมีการนำเสนอก่อนเข้าสู่บทเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละหัวข้อ 6.1.2 ครูใช้คำถามนำในการระหว่างการแนะนำเข้าสู่บทเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการมีส่วนร่วมในการ นำเข้าสู่บทเรียน 6.2 ขั้นสอน / กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการและเน้นการปฏิบัติ 6.2.1 ครูให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเรียนรู้จากสื่อ ใบงาน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียน โดยเน้นการทำ กิจกรรมการทำการเรียนรู้แบบกลุ่ม 6.2.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในหัวข้อการเรียนรู้ในหน่วยที่ 7 6.3 ขั้นสรุป 6.3.1 ครูสรุปสาระการเรียนรู้ ในด้านของทฤษฏี และการปฏิบัติ พร้อมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ในหน่วยที่ 7 6.3.2 ครูสังเกตพฤติกรรม ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน และผลสัมฤทธิ์จากการทำกิจกรรม กลุ่ม ตลอดจนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นระหว่างเรียน 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อสิ่งพิมพ์: เอกสารประกอบการเรียนรู้ในเรื่อง การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ จากหนังสือ เรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัสวิชา 20001 - 1001 7.2 สื่อโสตทัศน์: โปรแกรมนำเสนอข้อมูล (PowerPoint) หัวข้อ การปฐมพยาบาลในสถานประกอบการ 7.3 สื่อออนไลน์ (ถ้ามี): YouTube หรือ Google Classroom 8. หลักฐานความรู้ 8.1 แบบฝึกหัดนักเรียนที่นักเรียนทำ 8.2 คะแนนเก็บระหว่างเรียน 8.3 สมุดบันทึกการสอนประจำวัน 8.4 บันทึกหลังการสอน


45 9. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล คะแนน 80% -100% ระดับ ดีมาก คะแนน 60% - 79% ระดับ ดี คะแนน 50% – 59% ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 49% ระดับ ปรับปรุง 10. การประเมินผล 10.1 วัดผลจากการประเมินตามจุดประสงค์ 10.1.1 เก็บแบบฝึกหัด เพื่อให้เป็นคะแนนเก็บส่วนหนึ่งในปลายภาค 10.1.2 แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์ผ่าน ทำถูกต้อง 50% ขึ้นไป 10.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50% ขึ้นไป 10.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.2 เครื่องมือวัดผลประเมินผล 10.2.1 แบบฝึกหัด 10.2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 10.3 วิธีวัดผลการประเมิน 10.3.1 ตรวจใบงาน 10.3.2 ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 10.3.3 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 10.3.4 สังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์


46 11.บันทึกหลังการสอน 11.1 ข้อสรุปหลังการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.2 ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.3 ผลการสอนของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.4 ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11.5 แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………..


47 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่8 ชื่อวิชา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สอนครั้งที่ 17-18 ชื่อหน่วย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย ชั่วโมงรวม 4 ชั่วโมง ชื่อเรื่องหรือชื่องาน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย จำนวนชั่วโมง 4 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงานมีความสัมพันธ์กันกับ ทั้งลูกจ้าง นายจ้าง เพื่อน ร่วมงาน และสังคมส่วนรวมของประเทศชาติ ซึ่งอาจเกี่ยวพันไปถึงบุคคลอื่น ๆ ที่อาจ ได้รับอันตรายจากความไม่ปลอดภัยจากการทำงานได้เช่นกัน ดังนั้น การควบคุม คุ้มครอง ความปลอดภัย จะต้องมี ตัวบทกฎหมาย เพื่อบังคับใช้เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาช วีอนามัยสอดแทรกอยู่ใน กฎหมายหลายฉบับและมีหน่วยงาน องค์กรราชการเป็นผู้รับผิดชอบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับงานอาชีวอนามัยนั้น เริ่มตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 โดย ประเทศอังกฤษเริ่มใช้กฎหมายเกี่ยวกับโรงงาน ในการ คุ้มครองผู้ประกอบอาชีพมาจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 21 กฎหมายก็ยังคงมีความสำคัญมากยิ่งขึ้นเรื่อยมา เนื่องจาก ยังมี การใช้สารที่มีอันตรายในขั้นตอนกระบวนการผลิตกันอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะมี หน่วยงานกำหนดมาตรฐาน การใช้สารอันตรายต่าง ๆ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการเพื่อ เพิ่มความปลอดภัยแล้วก็ตาม ก็ยังคงมีอยู่ให้เห็นได้อีก จำนวนไม่น้อยการที่จะทำให้สถาน ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเห็นความสำคัญของความปลอดภัยของสุขภาพ ทั้งคนงาน และผู้อื่นนั้นจะต้องเกิดจากความร่วมมือของฝ่ายต่าง ๆ ในการทำความเข้าใจ และบังคับให้เกิดการ ตระหนักถึงความสำคัญของความปลอดภัยและการป้องกันอันตรายและสิ่งคุกคามที่มีอยู่ในสภาพแวดล้อมของการ ทำงานให้มากยิ่งขึ้น 2. สมรรถนะประจำหน่วย มีความรู้ความเข้าใจในทักษะในการใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย อธิบายรายละเอียดของกฎหมายและมาตรฐานสากล ดา้นความปลอดภยัที่เกี่ยวขอ้งกบัสิ่งที่ตอ้งปฏิบตัิตาม ได้A102.2.03 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 ความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย 3.1.2 พระราชบัญญัติโรงงาน พุทธศักราช 2535 3.1.3 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พุทธศักราช 2535 3.1.4 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พุทธศักราช 2535 3.1.5 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พุทธศักราช 2541 3.1.11 การปฐมพยาบาลผู้เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตา 3.2 ด้านทักษะ 3.2.1 สามารถอธิบายความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยได้ 3.2.2 สามารถบอกถึงความสำคัญของพระราชบัญญัติโรงงาน พุทธศักราช 2535 ได้


Click to View FlipBook Version