บันทึกข้อความ ส่วนราชการ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ที่……......................................…............................วันที่ …………………………………………………………………………. เรื่อง ขอส่งแผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน (เรียนระบบปกติ) ข้าพเจ้านายสิริสุข พุ่มขจร ตำแหน่ง พนักงานราชการ ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐานสเต็ม วิชา.การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รหัสวิชา 20101 9005 จำนวน 2 หน่วยกิต จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.). สาขางาน.ยานยนต์ สาขาวิชา ช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 บัดนี้ข้าพเจ้าได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขออนุญาตดำเนินการตามขั้นตอนและให้ คณะกรรมการผู้เกี่ยวข้องได้พิจารณาตามเอกสารที่แนบมานี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน (นายสิริสุข พุ่มขจร.) ๑.ความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกวิชา ช่างยนต์ ................................................................................ ลงชื่อ....................................... (.นายวีรพล ขวัญเมือง.) ......../........./........ ๒.ความคิดเห็นของหัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร ................................................................................ ลงชื่อ............................................ (นายมนธิชัย เผือกผ่อง.) ......../........./........ ๓.ความคิดเห็นของฝ่ายวิชาการ เห็นสมควรอนุมัติ เห็นควรปรับปรุง ลงชื่อ....................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ......../........./........ ๔.ความคิดเห็นของผู้อำนวยการ อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ......................................... (.นายประสิทธิ วัชรินทร์พร) ......./........./........
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานสเต็ม รหัส 20101-9005 วิชา การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร จัดทำโดย…นายสิริสุข พุ่มขจร
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ รหัสวิชา 20101 9005 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม จัดทำโดย นายสิริสุข พุ่มขจร สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้กําหนดให้มี การพัฒนาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 เพื่อให้สอดคล้องกับ การปฏิรูปการศึกษาตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา จึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ผู้เรียนในสายวิชาชีพจะต้อง ได้รับการพัฒนาให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ หรือมาตรฐานสมรรถนะของแต่ละสาขาอาชีพตามความต้องการ ของตลาดแรงงานและ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานและการอยู่ร่วมกันในสังคม การเรียบเรียงค้นคว้าข้อมูลและบทความจากตําราของผู้ทรงคุณวุฒิหลายเล่ม รวมทั้งบทความ เอกสาร เผยแพร่ทางวิชาการต่าง ๆ ทั้งที่ได้ระบุไว้ท้ายเล่มและไม่ได้ระบุไว้ จึงขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิเจ้าของตําราและ เจ้าของบทความดังกล่าวไว้ในที่นี้ แม้การเรียบเรียงจะพยายามทําให้ดีที่สุด แต่คงมีขาดตกบกพร่องบ้าง หากผู้ใช้มี ข้อเสนอแนะอื่นใดโปรดแจ้งให้สํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ ทราบด้วย จะได้เป็นข้อมูลปรับปรุงแก้ไขในโอกาส ต่อไป
สารบัญ หน่วยที่ 1 สถานการณ์และการแข่งขันการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย บทนํา 1.1 สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 1.2 สถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.3 การแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.4 ประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน แบบฝึกกิจกรรมที่ 1 หน่วยที่ 2 การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 2.1 นิยามศัพท์และประโยชน์จากการควบคุมคุณภาพ 2.2 การยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์ 2.3 การสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการยอมรับ 2.4 การประกันคุณภาพและระบบประกันคุณภาพ 2.5 การจัดการด้านคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ แบบฝึกกิจกรรมที่ 2 ... หน่วยที่ 3 วัสดุสําหรับผลิตและเทคนิดการเลือกใช้วัสดุพลิตชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 3.1 ประเภทและประโยชน์วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.2 เหล็กหล่อสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.3 เหล็กกล้าสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.4 มาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นและเหล็กเยอรมัน 3.5 ประเภทแบริ่งและกรรมวิธีการผลิตแบริ่งเครื่องยนต์ 3.6 คุณสมบัติของวัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.7 หลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ แบบฝึกกิจกรรมที่ 3 หน่วยที่ 4 เทคนิดการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์การใช้แม่พิมพ์พลิตชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา4.1 เหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ .. 4.2 การรีดเย็นและเหล็กตัวถังที่ใช้กันแพร่หลาย 4.3 ประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.4 การผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.5 คุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ 4.6 ชุดยึดแม่พิมพ์และการกําหนดตําแหน่ง แบบฝึกกิจกรรมที่ 4 หน่วยที่ 5 เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่องเจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 5.1 ประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.2 ลักษณะงานกลึงพื้นฐานและการกลึงปาดหน้า 5.3 ประเภทเครื่องไสผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.4 ประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.5 ประเภทเครื่องเจียระไนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.6 ประเภทการเจียระไนและการขัดผิวมัน แบบฝึกกิจกรรมที่ 5
หน่วยที่ 6 การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 6.1 การเคลื่อนย้ายด้วยกําลังคนและการควบคุมความเสี่ยง 6.2 การปรับระบบการไหลในการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ 6.3 การดัดแปลงและการออกแบบเครื่องขนถ่ายผลิตภัณฑ์ 6.4 อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุยาวและวัสดุขนาดใหญ่ 6.5 การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ด้วยสายพานลําเลียง แบบฝึกกิจกรรมที่ 6 บรรณานุกรม
แผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อรายวิชา การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ รหัสวิชา 20101 – 9005 ระดับชั้น ปวช. 2 สาขาวิชา ช่างยนต์ หน่วยกิต 2 – 0 - 2 จำนวนชั่วโมงรวม 36 ชั่วโมง ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2564 จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลักการพื้นฐานระบบการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. เข้าใจคุณสมบัติของวัสดุและเครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3. มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการผลิตชิ้นส่วน สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานระบบการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุและเครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานระบบการผลิต วัสดุ เครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การขึ้นรูป ชิ้นส่วนยานยนต์และการขนถ่ายผลิตภัณฑ์
รายการสอน ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. สถานการณ์และการแข่งขันการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 4 0 4 2. การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 4 0 4 .3. วัสดุสําหรับผลิตและเทคนิดการเลือกใช้วัสดุพลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 8 0 8 4. เทคนิดการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์การใช้แม่พิมพ์พลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 8 0 8 5. เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่องเจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ 8 0 8 6 การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ 4 0 4 รวม 36 0 36
การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา ชื่อรายวิชา การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รหัสวิชา 20101 – 9005 ระดับชั้น ปวช. 2 สาขาวิชา ช่างยนต์ หน่วยกิต 2 จำนวนชั่วโมงรวม 36 ชั่วโมง ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2564 ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 1. สถานการณ์และการแข่งขันการผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ไทย 2. การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 3. วัสดุสําหรับผลิตและเทคนิดการเลือกใช้วัสดุ พลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4. เทคนิดการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์การใช้ แม่พิมพ์พลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5. เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่อง เจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ 6. การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน สถานการณ์และ การแข่งขันการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 2. แสดงความรู้การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุและ เครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการผลิต 4. อธิบายประเภทและประโยชน์วัสดุผลิตชิ้นส่วนยาน ยนต์ 5.อธิบายเครื่องปั๊มและขั้นตอนการป๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถัง 6.แนะนำประเภทเครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและ เครื่องเจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ 7. แนะนำการเคลื่อนย้ายด้วยกำลังคนและการควบคุม ความเสี่ยงได้ 8. น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน 9. นำค่านิยมของคนไทย 12 ประการเกี่ยวกับการมีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 10. แสดงพฤติกรรมลักษณะนิสัย คุณธรรมจริยธรรม และ เจคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
หน่วยการ เรียนรู้ที่ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโมง 1 1.แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐาน สถานการณ์และการแข่งขันการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 2.อธิบายสถานการการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4 2 1.แสดงความรู้การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 2.แสดงความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของวัสดุและเครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องกับการผลิต 4 3 1.อธิบายประเภทและประโยชน์วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2.อธิบายหลักการเลือกการเลือกใช้วัสดุผลิตช้นส่วนยานยนต์ได้ 8 4 1.อธิบายเครื่องปั๊มและขั้นตอนการป๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถัง 2.อธิบายการติดตั้งแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องอัดได้ 8 5 1.แนะนำประเภทเครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัด 2.แนะนำประเภทเครื่องเจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ 8 6 1.แนะนำการเคลื่อนย้ายด้วยกำลังคนและการควบคุมความเสี่ยงได้ 4 รวม 36
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัส 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ หน่วยกิต 2(2) ระดับชั้น ปวช. พฤติกรรม หน่วยการเรียนรู้ที่/หัวข้อย่อย พุทธิพิสัย ความรู้ ความข้ ทักษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลำดับความสำคัญ จำนวนคาบ าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า 1. สถานการณ์และการแข่งขันการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 2 2 1 1 - - 1 2 8 4 4 2. การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 2 4 1 1 - - 1 2 8 4 8 3. วัสดุสําหรับผลิตและเทคนิดการ เลือกใช้วัสดุพลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1 ประเภทและประโยชน์วัสดุผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ 2 4 1 1 - - 1 2 9 3 4 3 4 2 1 - - 2 2 14 3 4 4. เทคนิดการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ การใช้แม่พิมพ์พลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.1การติดตั้งแม่พิมพ์เข้ากับเครื่องอัด 3 4 2 1 - - 2 3 21 1 4 3 4 1 1 - - 2 3 9 3 4 5. เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและ เครื่องเจียระไนชิ้นส่วนยานยนต์ 5.1ประเภทเครื่องเจียระไนชิ้นส่วน ยานยนต์ 2 4 1 1 - - 1 2 8 4 4 3 4 2 1 - - 1 2 10 4 4 6. การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ 3 3 2 1 - - 1 2 13 2 4 รวม 23 33 13 9 - - 12 20 100 - 36 ลำดับความสำคัญ 2 1 4 6 - - 5 3 - - -
กำหนดการสอน หน่วยการ เรียนรู้ที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 หน่วยที่ 1 สถานการณ์และการแข่งขันการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย บทนํา 1.1 สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 1.2 สถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.3 การแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.4 ประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน แบบฝึกกิจกรรมที่ 1 1 - 2 1-4 2 หน่วยที่ 2 การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 2.1 นิยามศัพท์และประโยชน์จากการควบคุมคุณภาพ 2.2 การยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์ 2.3 การสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการยอมรับ 2.4 การประกันคุณภาพและระบบประกันคุณภาพ 2.5 การจัดการด้านคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ แบบฝึกกิจกรรมที่ 2 ... 3 - 4 5-8 3 หน่วยที่ 3 วัสดุสําหรับผลิตและเทคนิดการเลือกใช้วัสดุพลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ บทนํา 3.1 ประเภทและประโยชน์วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.2 เหล็กหล่อสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.3 เหล็กกล้าสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.4 มาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นและเหล็กเยอรมัน 3.5 ประเภทแบริ่งและกรรมวิธีการผลิตแบริ่งเครื่องยนต์ 3.6 คุณสมบัติของวัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.7 หลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ แบบฝึกกิจกรรมที่ 3 5 - 8 9-16 4 หน่วยที่ 4 เทคนิดการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์การใช้แม่พิมพ์พลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา4.1 เหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ .. 4.2 การรีดเย็นและเหล็กตัวถังที่ใช้กันแพร่หลาย 4.3 ประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.4 การผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.5 คุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ 4.6 ชุดยึดแม่พิมพ์และการกําหนดตําแหน่ง แบบฝึกกิจกรรมที่ 4 9 - 12 17-24
หน่วยการ เรียนรู้ที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 5 หน่วยที่ 5 เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่องเจียระไนชิ้นส่วน ยานยนต์ บทนํา 5.1 ประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.2 ลักษณะงานกลึงพื้นฐานและการกลึงปาดหน้า 5.3 ประเภทเครื่องไสผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.4 ประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.5 ประเภทเครื่องเจียระไนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 5.6 ประเภทการเจียระไนและการขัดผิวมัน แบบฝึกกิจกรรมที่ 5 13 - 16 25-32 6 หน่วยที่ 6 การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนยานยนต์ บทนํา 6.1 การเคลื่อนย้ายด้วยกําลังคนและการควบคุมความ เสี่ยง 6.2 การปรับระบบการไหลในการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ 6.3 การดัดแปลงและการออกแบบเครื่องขนถ่ายผลิตภัณฑ์ 6.4 อุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุยาวและวัสดุขนาดใหญ่ 6.5 การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ด้วยสายพานลําเลียง แบบฝึกกิจกรรมที่ 6 17 - 18 33-36 รวม 18 36
การวัดและประเมินผลวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล การวัดผล 1. สอบกลางภาค 20% 2. สอบปลายภาค 20% 3. บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10% 4. การเข้าชั้นเรียน 10% 5. กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน 20% 6. ใบงาน/แบบประเมินผลการเรียนรู้ 20% หมายเหตุ ผู้เรียนต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด แต่การแบ่งคะแนนการวัดผลนี้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับครูเป็นสำคัญ และเนื่องจากเป็นวิชาที่เน้นการนำทักษะความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันโดยทั่วไป การวัดผลสามารถจัดเข้าไปในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมได้ เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ ชัดเจน จึงจะขอแยกเรื่องการวัดผลด้านคุณธรรม จริยธรรม ในรูปเครื่องมือวัดผลเป็นแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยทั้งครูและผู้เรียน จะประเมินคุณลักษณะจากพฤติกรรมบ่งชี้ที่กำหนดไว้ และต้องทำควบคู่กับกระบวนการทำ กิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งอาจอยู่ในรูปของกลุ่มผู้เรียนหรือเป็นรายบุคคล โดยผู้เรียนอาจสับเปลี่ยนกันเป็นผู้ ประเมินร่วมกับครู เพื่อความเที่ยงตรงของการประเมิน ดังนั้น แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งของครู และผู้เรียนจึงเป็นชุดเดียวกัน และเพื่อดูพัฒนาการของผู้เรียน จะใช้แบบ ประเมินชุดนี้เป็นเครื่องมือประเมิน การประเมินผล กำหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้เกรด 4 คะแนนร้อยละ 75-79 ได้เกรด 3.5 คะแนนร้อยละ 70-74 ได้เกรด 3 คะแนนร้อยละ 65-69 ได้เกรด 2.5 คะแนนร้อยละ 60-64 ได้เกรด 2 คะแนนร้อยละ 55-59 ได้เกรด 1.5 คะแนนร้อยละ 50-54 ได้เกรด 1 คะแนนร้อยละ 0-49 ได้เกรด 0
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1.สถานการณ์และการแข่งขันการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ไทย พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3ประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย . สถานการณ์และการ แข่งขันการผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ไทย การแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่1 หน่วยที่1 รหัสวิชา 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2(2) สอนครั้งที่1-2 (1-4) ชื่อหน่วย/เรื่อง สถานการณ์และการแข่งขันการผลิตชิ้นส่วนยาน ยนต์ไทย จำนวนชั่วโมง 4 ช.ม. 1. สาระสำคัญ การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในภาคอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ จําเป็นต้องนําวัสดุ เครื่องจักร เครื่องยนต์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าสู่ระบบการผลิตเป็นจํานวน มากน้อยแตกต่างกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ขนาด ชนิด และประเภทอุตสาหกรรมที่ผลิต โดยมีลําดับขั้นตอน ในระบบการผลิตสินค้าในภาคอุตสาหกรรม จําเป็นจะต้องมีส่วนประกอบอื่น ๆ เข้ามาเสริม เพื่อให้ การผลิตสินค้าต่าง ๆ เป็นไปอย่างมั่นคงและมี ประสิทธิภาพ ได้แก่ นโยบายของรัฐบาล กฎหมาย จํานวนความต้องการสินค้าของประชาชนในแต่ละประเทศ พื้นที่ พลังงานและเชื้อเพลิงที่ใช้ใน การผลิตสินค้าต่าง ๆ เหล่านั้น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. แนะนําสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยได้ 2. อธิบายสถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3. อธิบายการแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 4. อธิบายประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้ 5. เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้าง เป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 แนะนําสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยได้ 3.2.2 อธิบายสถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.3 อธิบายการแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.4 อธิบายประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้ 3.2.5 เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ 3.2.6 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.2.7 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.8 ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 4. เนื้อหาสาระ 1.1 สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 1.2 สถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.3 การแข่งขันในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 1.4 ประเทศไทย 4.0 คือ มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
5. กิจกรรมการเรียนรู้(สัปดาห์ที่1-2/ชั่วโมงที่1-4) ขั้นนำ 1. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ 2. ผู้สอนแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล ขั้นสอน 1. เกริ่นนำ 2. นำเข้าสู่บทเรียน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจท้ายหน่วยการเรียนรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1. อธิบายเพิ่มเติมและสรุปเนื้อหาที่สำคัญ 2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อของจริง 6.2 หนังสือเรียนวิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 6.3 ห้องสมุด/ศูนย์วิทยบริการ 6.4 อินเทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 สมุดจดบันทึก 7.2 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 8.2 เกณฑ์การประเมิน - คะแนนแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - ผลการประเมินพฤติกรรมการเรียนมีคุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละกำลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามคำสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. สื่อแผ่นใส 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. รูปภาพประกอบ 7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1.การยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วน ยานยนต์ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3.การจัดการด้านคุณภาพ 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย . การควบคุมคุณภาพ ชิ้นส่วนยานยนต์ การสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่2 หน่วยที่2 รหัสวิชา 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2(2) สอนครั้งที่3-4 (5-8) ชื่อหน่วย/เรื่อง การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ จำนวนชั่วโมง 4 ช.ม. 1. สาระสำคัญ คุณภาพคงจะไม่พูดถึงเฉพาะบริเวณที่มีตําหนิหรือความบกพร่องของผลิตภัณฑ์เพียง อย่างเดียว เท่านั้น แต่จะครอบคลุมถึงรูปร่างหน้าตา ผิวพรรณ ความสะดวกต่อการใช้ ความสวยงาม อายุการใช้งาน ความยากง่ายต่อการซ่อมบํารุง การบริการและอื่น ๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะ ถูกกําหนดโดยความพอใจของลูกค้าเป็น เกณฑ์ ดังนั้น ถ้าหากจะพูดว่า คุณภาพคือความพอใจ หรือ ความต้องการของลูกค้า ก็คงไม่ผิดไปจากความเป็น จริงมากนัก คุณภาพ คือ ความต้องการของลูกค้า หลังจากที่บริษัทผู้ผลิตได้แปลความหมายของ ความต้องการ ของลูกค้าทั้งหมดเป็นคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์แล้ว บริษัทผู้ผลิตจะต้องเตรียม การผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ บริษัทผลิตควรจะมีการวางแผนที่ดี และมีการประสานงานของหน่วยงานต่าง ๆ อย่างราบรื่น 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายนิยามศัพท์และประโยชน์จากการควบคุมคุณภาพได้ 2. อธิบายการยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3. อธิบายการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการยอมรับได้ 4. อธิบายการประกันคุณภาพและระบบประกันคุณภาพได้ 5 อธิบายการจัดการด้านคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 6. เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบ อ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1. อธิบายนิยามศัพท์และประโยชน์จากการควบคุมคุณภาพได้ 3.2.2. อธิบายการยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.3. อธิบายการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการยอมรับได้ 3.2.4. อธิบายการประกันคุณภาพและระบบประกันคุณภาพได้ 3.2.5 อธิบายการจัดการด้านคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.6 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.2.7 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.8 ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 4. เนื้อหาสาระ 2.1 นิยามศัพท์และประโยชน์จากการควบคุมคุณภาพ 2.2 การยอมรับและการสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์ 2.3 การสุ่มตัวอย่างชิ้นส่วนยานยนต์เพื่อการยอมรับ 2.4 การประกันคุณภาพและระบบประกันคุณภาพ 2.5 การจัดการด้านคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 3-4/ชั่วโมงที่1-4) ขั้นนำ 1. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ 2. ผู้สอนแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล ขั้นสอน 1. เกริ่นนำ 2. นำเข้าสู่บทเรียน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจท้ายหน่วยการเรียนรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1. อธิบายเพิ่มเติมและสรุปเนื้อหาที่สำคัญ 2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อของจริง 6.2 หนังสือเรียนวิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 6.3 ห้องสมุด/ศูนย์วิทยบริการ 6.4 อินเทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 สมุดจดบันทึก 7.2 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 8.2 เกณฑ์การประเมิน - คะแนนแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - ผลการประเมินพฤติกรรมการเรียนมีคุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละกำลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามคำสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. สื่อแผ่นใส 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. รูปภาพประกอบ
7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................. ................................ .................................................................................................................................................. ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ..................... ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย ประเภทแบริ่งและกรรมวิธีการผลิตแบริ่ง เครื่องยนต์ มีเหตุผล 1. หลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยาน ยนต์ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3.การจัดการด้านคุณภาพ 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม . วัสดุสำหรับผลิตและ เทคนิคการเลือดใช้วัสดุ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 3 หน่วยที่ 3 รหัสวิชา 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2(2) สอนครั้งที่ 5-8 (9-16) ชื่อหน่วย/เรื่อง การควบคุมคุณภาพชิ้นส่วนยานยนต์ จำนวนชั่วโมง 8 ช.ม. 1. สาระสำคัญ วัสดุเหล็กสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (The Materials used in the Production of Automotive Components) มีอยู่มากมายหลายชนิด โดยคุณประโยชน์และคุณสมบัติของวัสดุ นั้น ๆ ที่แตกต่างกันไป ซึ่ง ชิ้นส่วนยานยนต์ชิ้นหนึ่งอาจประกอบไปด้วยชิ้นส่วนย่อยหลาย ๆ ชิ้น ซึ่งชิ้นส่วนเหล่านั้นอาจผลิตมาจากวัสดุที่ แตกต่างกัน แล้วมาประกอบเป็นชุดเดียวกัน มีทั้งผลิต จากโลหะและผลิตจากอโลหะ 1. โลหะ (Metallic Material) คือ วัสดุที่นํามาใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดยได้ จากการถลุงสินแร่ต่าง ๆ โลหะที่สําคัญและใช้กันอย่างแพร่หลายในด้านการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ได้แก่ เหล็กกล้า เหล็กหล่อ อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี นิกเกิล ตะกั่ว แพลทินัม-โรเดียม และวัสดุประสม 2.อโลหะที่นํามาใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ได้แก่ วัสดุธรรมชาติ (Natural Materials) เช่น ยางและวัสดุ สังเคราะห์ (Synthetic Materials) เช่น กระจก เซรามิกและพลาสติก อุตสาหกรรมรถยนต์เป็นอุตสาหกรรมประกอบชิ้นส่วนแบบเบ็ดเสร็จที่ขึ้นอยู่กับ อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ในรถยนต์แต่ละคันจะใช้ชิ้นส่วนจากอุตสาหกรรมเกือบ ทุกแขนง นอกจากนั้นแล้วต้อง ใช้เทคโนโลยีการผลิตในขอบเขตที่กว้างมาก ตั้งแต่เริ่มแปรรูป วัตถุดิบไปจนประกอบออกมาเป็นรถยนต์ในขั้น สุดท้ายชิ้นส่วนของรถยนต์มีตั้งแต่ขนาดใหญ่ เช่น แผงพื้นจนถึงชิ้นส่วนเล็ก ๆ รวมเป็นจํานวน หลายพันจุด แต่ โดยทั่วไปแล้วชิ้นส่วนใหญ่ ๆ ที่สําคัญ เช่น เครื่องยนต์ ระบบส่งกําลัง ตลอดจน ตัวถังและหน่วยชิ้นส่วนต่าง ๆ จะผลิตโดยผู้ผลิตรถยนต์เอง ส่วนยาง กระจก อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ตกแต่งภายในและชิ้นส่วนเล็ก ๆ อื่น ๆ จํานวนมาก จะว่าจ้างผู้ผลิตภายนอกให้เป็นผู้ผลิต การจะนําวัสดุต่าง ๆ เช่น เหล็ก อะลูมิเนียม ยาง หรือ พลาสติก ไปใช้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จะต้อง พิจารณา คือ 1. ความแข็งแรงวัสดุที่จะนํามาใช้งานนั้นมีสภาพแข็งแรง และปลอดภัยในการใช้งาน เพียงพอ กรรมวิธีการ ผลิต วัสดุนั้นสามารถนํามาผลิตให้เป็นรูปร่างตามต้องการ และมีความแข็งแรงเพียงพอ เมื่อผลิตชิ้นส่วนนั้น แล้ว มีราคาถูกหรือแพงกว่าการผลิตด้วยวิธีอื่น หรือในวัสดุอื่นหรือไม่ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายประเภทและประโยชน์วัสดุคุณสมบัติของวัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 2. อธิบายเหล็กหล่อสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3. อธิบายหลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 4. อธิบายมาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นและเหล็กเยอรมันได้ 5. อธิบายประเภทแบริ่งและกรรมวิธีการผลิตแบริ่งเครื่องยนต์ได้ 6. เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและประโยชน์วัสดุคุณสมบัติของวัสดุผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบ อ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายประเภทและประโยชน์วัสดุคุณสมบัติของวัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.2 อธิบายเหล็กหล่อสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.3 อธิบายหลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.4 อธิบายมาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นและเหล็กเยอรมันได้ 3.2.5 เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ 3.2.6 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.2.7 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.8 ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 4. เนื้อหาสาระ 4.1 ประเภทและประโยชน์วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.2 เหล็กหล่อสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.3 เหล็กกล้าสําหรับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.4 มาตรฐานเหล็กญี่ปุ่นและเหล็กเยอรมัน 4.5 ประเภทแบริ่งและกรรมวิธีการผลิตแบริ่งเครื่องยนต์ 4.6 คุณสมบัติของวัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.7 หลักการเลือกใช้วัสดุผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.8 ความต้องการของอุตสาหกรรมและการพัฒนาเทคโนโลยี 4.9 ความก้าวหน้าและประเภทอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.10 สถานภาพและกระบวนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 5-8/ชั่วโมงที่ 9-16) ขั้นนำ 1. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ 2. ผู้สอนแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล
ขั้นสอน 1. เกริ่นนำ 2. นำเข้าสู่บทเรียน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจท้ายหน่วยการเรียนรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1. อธิบายเพิ่มเติมและสรุปเนื้อหาที่สำคัญ 2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อของจริง 6.2 หนังสือเรียนวิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 6.3 ห้องสมุด/ศูนย์วิทยบริการ 6.4 อินเทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 สมุดจดบันทึก 7.2 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 8.2 เกณฑ์การประเมิน - คะแนนแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - ผลการประเมินพฤติกรรมการเรียนมีคุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป
การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละกำลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามคำสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. สื่อแผ่นใส 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. รูปภาพประกอบ 7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน
เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ..................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย มีเหตุผล 1.คุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3.การจัดการด้านคุณภาพ 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม เทคนิคการผลิตชิ้นส่วน ตัวถังรถยนต์ การใช้ แม่พิมพ์ผลิตชิ้นส่วนยาน ยนต์ ประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถัง รถยนต์
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 4 หน่วยที่ 4 รหัสวิชา 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2(2) สอนครั้งที่9-12(17-24 ชื่อหน่วย/เรื่อง เทคนิคการผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ การใช้ แม่พิมพ์ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จำนวนชั่วโมง 8 ช.ม. 1. สาระสำคัญ สถานภาพการผลิตแม่พิมพ์ไทย (Die) เป็นอุตสาหกรรมพื้นฐานของอุตสาหกรรมผลิต ต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมผลิตส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมของเด็กเล่น เป็นต้น ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่า อุตสาหกรรมการผลิตดังกล่าวมีอัตรา การขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี จึงนับว่าเป็น ตลาดที่ใหญ่พอสมควรสําหรับผู้ที่ลงทุนในการประกอบ กิจการผลิตแม่พิมพ์ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2533 งาน ทางด้านแม่พิมพ์ในประเทศไทย จัดได้ว่าเป็นอุตสาหกรรม หนึ่งที่มีความสําคัญ ภาวะของอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ มีการขยายตัวมาก ทั้งนี้เป็นผลเชื่อมโยงมา จากการขยายตัวของอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ เมื่อปี พ.ศ. 2532 มี โรงงานแม่พิมพ์ขนาดใหญ่ที่ร่วมทุน กับต่างประเทศ และได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนถึง 28 โรงงาน เป็นโรงงานผลิตแม่พิมพ์ที่มีคุณภาพเที่ยงตรงสูง เพื่อใช้แม่พิมพ์ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ ซึ่งในปีเดียวกัน มีโรงงานที่ใช้แม่พิมพ์ในการผลิตสินค้าได้รับการส่งเสริมการลงทุนจาก คณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนถึง 126 โรงงานเมื่อได้รับการส่งเสริมการลงทุนแล้ว จึงทําให้มีการก่อสร้าง โรงงาน หรือมีเพียงบางส่วนที่ เพิ่งเริ่มดําเนินการ อาจกล่าวได้ว่าเป็นช่วงที่จะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบข กรรม แม่พิมพ์ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต การบริหารงาน และในขณะเดียวกัน ช่วงปี พ.ศ. 2 ผลิตแม่พิมพ์ที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และโรงงานที่ใช้แม่พิมพ์ในการผลิตผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 30 วั มีโรงงานผลิตแม่พิมพ์และโรงงานที่ใช้แม่พิมพ์มากมายงาน ปัจจุบัน ส่วน แม่พิมพ์ที่นํามาใช้ในการปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์นั้น จะผลิตโดย เครือของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ ภายในประเทศของยี่ห้อนั้น ๆ หรือผลิตมาจากบริษัทที่5 แม่พิมพ์ภายในประเทศ ซึ่งมีอยู่หลายบริษัทด้วยกัน บริษัทที่ผลิตแม่พิมพ์ภายใน เอาเทคโนโลยีด้านการออกแบบแม่พิมพ์ เครื่องจักรที่ใช้ในการสร้างแม่พิมพ์ จาก ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ซึ่งแม่พิมพ์ที่สามารถสร้างขึ้นเองภายในประเทศที่ใช้ ตัวถังทั้งหมดมีคุณภาพดี ทัดเทียมกับแม่พิมพ์ที่ผลิตในต่างประเทศ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. อธิบายคุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ได้ 2. แนะนําเหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ได้ 3. อธิบายชุดยึดแม่พิมพ์และการกําหนดตําแหน่งได้ 4 แนะนําประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ได้ 5. ตรวจสอบและการปรับแต่งแม่พิมพ์ได้ 6. เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการการเลือกใช้เหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบ อ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายคุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ได้ 3.2.2 แนะนําเหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ได้ 3.2.3 อธิบายชุดยึดแม่พิมพ์และการกําหนดตําแหน่งได้ 3.2.4 แนะนําประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ได้ 3.2.5 ตรวจสอบและการปรับแต่งแม่พิมพ์ได้ 3.2.6 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.2.7 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.8 ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 4. เนื้อหาสาระ 4.1 เหล็กที่ใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ .. 4.2 การรีดเย็นและเหล็กตัวถังที่ใช้กันแพร่หลาย 4.3 ประเภทและกระบวนการแปรรูปชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.4 การผลิตชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ 4.5 คุณลักษณะและโครงสร้างแม่พิมพ์ 4.6 ชุดยึดแม่พิมพ์และการกําหนดตําแหน่ง 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 9-12/ชั่วโมงที่ 17-24) ขั้นนำ 1. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ 2. ผู้สอนแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล ขั้นสอน 1. เกริ่นนำ 2. นำเข้าสู่บทเรียน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจท้ายหน่วยการเรียนรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ขั้นสรุป 1. อธิบายเพิ่มเติมและสรุปเนื้อหาที่สำคัญ 2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อของจริง 6.2 หนังสือเรียนวิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 6.3 ห้องสมุด/ศูนย์วิทยบริการ 6.4 อินเทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 สมุดจดบันทึก 7.2 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 8.2 เกณฑ์การประเมิน - คะแนนแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - ผลการประเมินพฤติกรรมการเรียนมีคุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละกำลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามคำสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 3. รูปภาพประกอบ 4. อินเตอร์เน็ต 7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย ประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ มีเหตุผล 1. พื้นฐานการทํางานเครื่องกลึงอัตโนมัติ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3.การจัดการด้านคุณภาพ 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่อง เจียระไนชิ้นส่วนยาน ยนต์ยนต์
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 5 หน่วยที่ 5 รหัสวิชา 20101-9005 วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2(2) สอนครั้งที่13-16(25- 32 ชื่อหน่วย/เรื่อง เครื่องกลึง เครื่องไส เครื่องกัดและเครื่องเจียระไน ชิ้นส่วนยานยนต์ยนต์ จำนวนชั่วโมง 8 ช.ม. 1. สาระสำคัญ เครื่องกลึง (Lathe) เป็นเครื่องมือกลที่ทํางานโดยการจับยึดชิ้นงานให้แน่น และหมน ขณะที่ชิ้นงาน หมุน ชิ้นงานจะถูกตัดเฉือนด้วยมีดกลึงซึ่งจะเคลื่อนที่ไปตามความยาวของชิ้นงาน เรียกว่า การกลึงปอก (Roughing) หรือมีดกลึงเคลื่อนที่ตัดเฉือนชิ้นงานตามแนวขวาง เรียกว่า การกลึงปาดหน้า (Facing) เครื่องกลึง มีหลายประเภทตามความจําเป็นในการใช้งาน รูปร่างจะแตกต่างกัน สําหรับ เครื่องกลึงที่มีใช้กันแพร่หลายทั้ง ในโรงกลึงทั่วไปและโรงงานอุตสาหกรรมเป็นเครื่องกลึงชนิด ยันศูนย์ (Center Lathe) ซึ่งเรียกกันสั้น ๆ ว่า เครื่องกลึง สําหรับเครื่องกลึงอื่น ๆ เป็นเครื่องกลึงพิเศษสําหรับงานผลิตเป็นหลัก เช่น เครื่องกลึง เทอร์เรท (Turret Lathe) ป้อมมีดเป็นแบบหมุนจับมีดกลึงได้หลายตัว ใช้กลึงชิ้นงานรูปทรงเดียว ได้รวดเร็ว เช่น กลึง บุช เครื่องกัด (Miling Machine) คือ เครื่องมือกลที่ใช้ในการแปรรูปชิ้นงานให้มีผิวราบ ผิวโค้ง เป็นร่อง หรือมุมต่าง ๆ โดยเฉพาะการกัดเฟืองทุกชนิด โดยใช้มีดกัด (Cutter) เป็นเครื่องมือตัด เครื่องกัดมีอยู่หลาย ชนิดหลายลักษณะเพื่อให้เหมาะกับชิ้นงานรูปต่างๆ กัน ระบบขับป้อนกัด ชิ้นงานกัดต้องวางขับแน่นอยู่บนโต๊ะ งานเครื่องกัด เลือกมีดกัดให้ถูกชนิดสวมเข้ากับเพลามีดกัด ตั้งแท่นรองโต๊ะงานให้ได้ความสูงที่จะทํางานได้ ปรับแคร่โต๊ะงานโดยเลื่อนในรางเลื่อนตาม แนวขวางให้ถูกตําแหน่งงาน กับเตรียมให้เลื่อนกัดได้ตามแนวยาว ของโต๊ะงาน วิธีปรับและเลื่อน ตําแหน่งต่างๆ มีล้อหมุนให้เลื่อนได้ด้วยมือมองเห็นได้ชัดเจน แคร์โต๊ะงาน จะต้องขับด้วยระบบ ขับป้อนกัด เพื่อให้มีดกัดเดินกัดผิวงานได้ ระบบขับป้อนกัดอาจได้กําลังขับมาจากระบบ ส่งกําลัง ขับโดยตรงหรือจะใช้มอเตอร์ต่างหากขับ ความเร็วป้อนกัดต้องมีให้เลือกได้ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. แนะนําประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 2. อธิบายพื้นฐานการทํางานเครื่องกลึงอัตโนมัติได้ 3. แนะนําประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 4 แนะนําประเภทเครื่องเจียระไนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 5. เพื่อให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เจตคติที่ดีและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการแนะนําประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบ อ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 แนะนําประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.2 อธิบายพื้นฐานการทํางานเครื่องกลึงอัตโนมัติได้ 3.2.3 แนะนําประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.4 แนะนําประเภทเครื่องเจียระไนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้ 3.2.5 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่กำหนด 3.2.6 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 4. เนื้อหาสาระ 4.1 ประเภทเครื่องกลึงผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.2 ลักษณะงานกลึงพื้นฐานและการกลึงปาดหน้า 4.3 ประเภทเครื่องไสผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.4 ประเภทเครื่องกัดผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.5 ประเภทเครื่องเจียระไนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 4.6 ประเภทการเจียระไนและการขัดผิวมัน 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 13-16/ชั่วโมงที่ 25-32) ขั้นนำ 1. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติ 2. ผู้สอนแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล ขั้นสอน 1. เกริ่นนำ 2. นำเข้าสู่บทเรียน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจท้ายหน่วยการเรียนรู้และนำเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1. อธิบายเพิ่มเติมและสรุปเนื้อหาที่สำคัญ 2. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อของจริง 6.2 หนังสือเรียนวิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 6.3 ห้องสมุด/ศูนย์วิทยบริการ 6.4 อินเทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 สมุดจดบันทึก 7.2 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 8.2 เกณฑ์การประเมิน - คะแนนแบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 - ผลการประเมินพฤติกรรมการเรียนมีคุณภาพระดับพอใช้ขึ้นไป การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละกำลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามคำสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 3. รูปภาพประกอบ 4. อินเตอร์เน็ต
7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้
10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจำหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน .......คน ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู 1. ทำการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่กำหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่กำหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่กำหนด 3. เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่กำหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย มีเหตุผล 1.การเคลื่อนย้ายด้วยกําลังคนและการ ควบคุมความเสี่ยง พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3.การจัดการด้านคุณภาพ 5. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่นำผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเองทั้ง ทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม การขนถ่ายผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่วนยานยนต์ การดัดแปลงและการออกแบบเครื่องขนถ่าย ผลิตภัณฑ์