The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานเครื่องยนต์ดีเซล 20101 - 2002

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by LICC, 2023-03-30 23:29:52

งานเครื่องยนต์ดีเซล 2-64

งานเครื่องยนต์ดีเซล 20101 - 2002

แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานสเต็ม รหัส 20101-2002 วิชา งานเครื่องยนต์ดีเซล หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร จัดท าโดย…นายสิริสุข พุ่มขจร


แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนระบบปกติ ระบบออนไลน์ รหัสวิชา 20101-2002 รายวิชา งานเครื่องยนต์ดีเซล หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จัดท าโดย นายสิริสุข พุ่มขจร แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


บันทึกข้อความ ส่วนราชการ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ที่ /2564 วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 เรื่อง ขออนุญาตส่งแผนการจัดการเรียนรู้ฯ ประจ าภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เรียน ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ข้าพเจ้านายสิริสุข พุ่มขจร ต าแหน่ง พนักงานราชการ ได้จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพบูรณาการคุณธรรมจริยธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา.งานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 20101 2002 จ านวน 3 หน่วยกิต จ านวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ หลักสูตร ประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.). สาขางาน.ยานยนต์ สาขาวิชา ช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 บัดนี้ข้าพเจ้าได้ด าเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขออนุญาตด าเนินการตามขั้นตอนและให้ คณะกรรมการผู้เกี่ยวข้องได้พิจารณาตามเอกสารที่แนบมานี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน (นายสิริสุข พุ่มขจร.) ๑.ความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกวิชา ช่างยนต์ ................................................................................ ลงชื่อ....................................... (.นายสาธิต เสวกจันทร์) ......../........./........ ๒.ความคิดเห็นของหัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร ................................................................................ ลงชื่อ............................................ (นายมนธิชัย เผือกผ่อง.) ......../........./........ ๓.ความคิดเห็นของฝ่ายวิชาการ เห็นสมควรอนุมัติ เห็นควรปรับปรุง ลงชื่อ....................................... (นายสาธิต เสวกจันทร์) ......../........./........ ๔.ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ......................................... (.นายประสิทธิ วัชรินทร์พร) ......./........./........


ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอนในรายวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 20101 – 2002 ได้มีเอกสารที่จะบ่งบอกแนวทางการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ สอดคล้อง สัมพันกับ หลักสูตรฐานสมรรถนะการบูรณาการปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งแสดงขั้นตอนกระบวนการ เรียนการสอนที่ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีแก่ทุกฝ่าย ไม่ว่าครูผู้สอนหรือผู้เรียน แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้มีทั้งหมด 6 หน่วยการเรียนรู้ ใช้เวลาสอนทั้งหมด 126 ชั่วโมง ต่อภาค เรียน วิธีสอนมีหลายวิธี เช่น การบรรยาย ถามตอบ สาธิต ปฏิบัติงานจริง การค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต กิจกรรมที่มอบหมายให้นักเรียนมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น ส าหรับการใช้แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ สามารถใช้ได้กับบุคคลทั่วไป ทุกอาชีพที่ต้องการศึกษาในเรื่องของเครื่องยนต์ดีเซล ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องทุกๆคนทุกๆฝ่ายที่มีส่วนช่วยท าให้แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้มี ความสมบูรณ์ ความดีทั้งหลายขออุทิศให้แก่ผู้มีพระคุณทุกๆท่าน ตลอดจนบิดามารดา ผู้ให้ก าเนิดและครู อาจารย์ผู้สอนสั่งทุกๆท่าน สิริสุข พุ่มขจร พ.ศ. 2564


สารบัญ มาตรฐานสมรรถนะ และตัวบ่งชี้หมวดวิชาชีพสาขาวิชา ลักษณะรายวิชา ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ก าหนดการสอนที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3ระบบฉีดเชื้อเพลิง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5งานติดเครื่องยนต์และปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซล แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้ ภาคผนวก ก แบบทดสอบ


แผนการจัดการเรียนรู้ ชื่อรายวิชา งานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 20101 – 2002 ระดับชั้น ปวช. 2 สาขาวิชา ช่างยนต์ หน่วยกิต 1 – 6 - 3 จ านวนชั่วโมงรวม 126 ชั่วโมง ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2564 จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการท า งาน หน้าที่ระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ดีเซล 2. ถอดประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ดีเซลและบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล 3. มีกิจนิสัยที่ดีในการท า งาน ด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการตรวจสอบ บ ารุงรักษา ปรับแต่งชิ้นส่วนเครื่องยนต์ดีเซล 2. ถอด ประกอบชิ้นส่วนของระบบต่าง ๆ เครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 3. ตรวจสภาพชิ้นส่วนของระบบต่าง ๆ เครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 4. บ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 5. ปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับหลักการท างาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วน ระบบฉีดน้ ามัน เชื้อเพลิง ระบบหล่อลื่น ระบบไอดีระบบไอเสีย การติดเครื่องยนต์การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ ดีเซล ค าอธิบายรายวิชา (ใหม่) ศึกษาเกี่ยวกับหลักการท างาน การถอด ประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วน ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง ระบบ คอมมอนเรล ระบบหล่อลื่น ระบบไอดีระบบไอเสีย งานการถอด ประกอบและตรวจสภาพชิ้นส่วน งานบริการ ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรล งานบริการหัวฉีดคอมมอนเรล งานบริการไฟฟ้าระบบฉีดเชื้อเพลิง ใช้เครื่องมือวิเคราะห์ปัญหาเครื่องยนต์ งานติดเครื่องยนต์งานปรับแต่ง และบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล


รายการสอน ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล 3 18 21 2. ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 3 18 21 3. ระบบฉีดเชื้อเพลิง 3 18 21 4. ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน 3 18 21 5. งานติดเครื่องยนต์และปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซล 4 24 28 6 การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล 2 12 14 รวม 18 108 126


การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา ชื่อรายวิชา งานเครื่องยนต์ดีเซล รหัสวิชา 20101 – 2002 ระดับชั้น ปวช. 2 สาขาวิชา ช่างยนต์ หน่วยกิต 3 จ านวนชั่วโมงรวม 126 ชั่วโมง ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2564 ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะที่พึงประสงค์ 1. โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล 2. ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 3. ระบบฉีดเชื้อเพลิง 4. ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน 5. งานติดเครื่องยนต์และปรับแต่งเครื่องยนต์ ดีเซล 6. การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการท างาน โครงสร้าง การ ปรับแต่ง การตรวจสอบการบ ารุงรักษา เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 2. ถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 3. ตรวจสภาพชิ้นส่วนของระบบต่าง ๆ เครื่องยนต์ดีเซล ตามคู่มือ 4.ตรวจสอบการท างานระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอม มอนเรล 5.ถอด ประกอบหัวฉีดคอมมอนเรล 6.ต่อวงจรไฟฟ้าระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอมมอน เรลและใช้เครื่องมือวิเคราะห์ปัญหาของเครื่องยนต์ 7. บ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 8. ปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 9. น้อมน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน 10. น าค่านิยมของคนไทย 12 ประการเกี่ยวกับการมีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ท า รู้ปฏิบัติตามพระราชด ารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 11. แสดงพฤติกรรมลักษณะนิสัย คุณธรรมจริยธรรม และเจคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน


ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา รหัสวิชา 20101-2002 ชื่อวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล จ านวน 3 หน่วยกิต 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาคเรียน 126 ชั่วโมง พฤติกรรม ชื่อหน่วย พุทธิพิสัย รวม ทักษะพิสัย จิตพิสัย จ านวนคาบ ความรู้ ความข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า 1.โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล 1.2 การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 1.3 ไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ ดีเซล 4 จังหวะ 1 1 1 1 4 5 4 21 2. ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 2.1 หน้าที่ของฝาสูบ เสื้อสูบ 2.2 งานฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 1 1 1 3 10 4 21 3. ระบบฉีดเชื้อเพลิง 3.1 ส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิง 3.2 ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรล 3.3 วงจรไฟฟ้าระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอม มอนเรลใช้เครื่องมือวิเคราะห์ปัญหาของ เครื่องยนต์ 1 1 1 1 1 1 1 7 10 4 21 4. ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน 4.1 หน้าที่ของระบบหล่อลื่น 4.2 ส่วนประกอบของระบบหล่อลื่น 4.3 หน้าที่ของระบบระบายความร้อน 4.4 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน 1 1 1 1 1 5 10 2 21 5. งานติดเครื่องยนต์ และปรับแต่งเครื่องยนต์ ดีเซล 5.1 หน้าที่ของระบบสตาร์ท 5.2 งานต่อวงจรระบบสตาร์ท 5.3 งานไล่ลมระบบน้ ามันเชื้อเพลิง 5.4 งานวัดก าลังอัดเครื่องยนต์ดีเซล 5.5 งานปรับตั้งระยะห่างลิ้น 5.6 งานปรับตั้งรอบเดินเบา 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9 10 4 28 6. การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ ดีเซล 6.1 การบ ารุงรักษารถยนต์ประจ าวัน 1 1 2 5 2 14


6.2 การบ ารุงรักษารถยนต์ตามระยะ รวม 3 17 9 1 30 คิดเป็นสัดส่วน/ร้อยละ 30 50 20 126


ตารางวิเคราะห์หน่วย รหัสวิชา 20101-2002 ชื่อวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล จ านวน 1-6-3 หน่วยกิต 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาคเรียน 126 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย / รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 1.โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล 1.2 การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 1.3 ไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 1-3 1-21 2 2. ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 2.1 หน้าที่ของฝาสูบ เสื้อสูบ 2.2 งานฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 4-6 22-42 3 3. ระบบฉีดเชื้อเพลิง 3.1 ส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิง 3.2 ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรล 3.3 วงจรไฟฟ้าระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรลใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ปัญหาของเครื่องยนต์ 7-9 43-63 4 4. ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความร้อน 4.1 หน้าที่ของระบบหล่อลื่น 4.2 ส่วนประกอบของระบบหล่อลื่น 4.3 หน้าที่ของระบบระบายความร้อน 4.4 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อน 10-12 64-84 5 5. งานติดเครื่องยนต์ และปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซล 5.1 หน้าที่ของระบบสตาร์ท 5.2 งานต่อวงจรระบบสตาร์ท 5.3 งานไล่ลมระบบน้ ามันเชื้อเพลิง 5.4 งานวัดก าลังอัดเครื่องยนต์ดีเซล 5.5 งานปรับตั้งระยะห่างลิ้น 5.6 งานปรับตั้งรอบเดินเบา 13-16 85-112 6 6. การปรับแต่ง การบ ารุงรักษาเครื่องยนต์ดีเซล 6.1 การบ ารุงรักษารถยนต์ประจ าวัน 6.2 การบ ารุงรักษารถยนต์ตามระยะ 17-18 113-126 รวม 18 126


ก าหนดการสอน ชื่อหน่วย/รายการสอน สมรรถนะประจ าหน่วย/เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1.โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล 1.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการ ท างานของเครื่องยนต์ดีเซล PC. งานที่มอบหมายถูกแสดงความรู้โดยใช้หลักการ ท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 1-3 1-21 2. ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลา ข้อเหวี่ยง 2.1 ด าเนินการเกี่ยวกับฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และ เพลาข้อเหวี่ยง PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการปฏิบัติงาน ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 4-6 22-42 3. ระบบฉีดเชื้อเพลิง 3.1บริการหัวฉีดและปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิง PC. โครงการท าสื่อสาธิตระบบฉีดเชื้อเพลิง เครื่องยนต์ดีเซล ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงแบบคอม มอนเรล 7-9 43-63 4. ระบบหล่อลื่น ระบบระบาย ความร้อน 4.1 ด าเนินการเกี่ยวกับระบบหล่อลื่น PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการปฏิบัติงาน ระบบหล่อลื่น 1 ด าเนินการเกี่ยวกับระบบระบายความร้อน PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการปฏิบัติงาน ระบบระบายความร้อน 10-12 64-84 5. งานติดเครื่องยนต์ และปรับแต่ง เครื่องยนต์ดีเซล 5.1 ต่อวงจรสตาร์ทและไล่ลมระบบน้ ามันเชื้อเพลิง PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการติด เครื่องยนต์ ด าเนินการเกี่ยวกับการปรับแต่งเครื่องยนต์ดีเซล PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการปรับแต่ง เครื่องยนต์ดีเซล 13-16 85-112 6. การปรับแต่ง การบ ารุงรักษา เครื่องยนต์ดีเซล 6.1 ด าเนินการเกี่ยวกับการท าโครงงานเครื่องยนต์ ดีเซล PC. งานที่มอบหมายถูกวิเคราะห์จากการปฏิบัติงาน เครื่องยนต์ดีเซล 17-18 113-126


การวัดและประเมินผลวิชางานเครื่องยนต์ดีเซล การวัดผล 1. สอบกลางภาค 20% 2. สอบปลายภาค 20% 3. บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10% 4. การเข้าชั้นเรียน 10% 5. กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน 20% 6. ใบงาน/แบบประเมินผลการเรียนรู้ 20% หมายเหตุ ผู้เรียนต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด แต่การแบ่งคะแนนการวัดผลนี้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับครูเป็นส าคัญ และเนื่องจากเป็นวิชาที่เน้นการน าทักษะความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวันโดยทั่วไป การวัดผลสามารถจัดเข้าไปในเรื่องคุณธรรม จริยธรรมได้ เพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ ชัดเจน จึงจะขอแยกเรื่องการวัดผลด้านคุณธรรม จริยธรรม ในรูปเครื่องมือวัดผลเป็นแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้ส าเร็จการศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา โดยทั้งครูและผู้เรียน จะประเมินคุณลักษณะจากพฤติกรรมบ่งชี้ที่ก าหนดไว้ และต้องท าควบคู่กับ กระบวนการท ากิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งอาจอยู่ในรูปของกลุ่มผู้เรียนหรือเป็นรายบุคคล โดยผู้เรียนอาจ สับเปลี่ยนกันเป็นผู้ประเมินร่วมกับครู เพื่อความเที่ยงตรงของการประเมิน ดังนั้น แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้งของครู และผู้เรียนจึงเป็นชุดเดียวกัน และเพื่อดู พัฒนาการของผู้เรียน จะใช้แบบประเมินชุดนี้เป็นเครื่องมือประเมิน การประเมินผล ก าหนดค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้เกรด 4 คะแนนร้อยละ 75-79 ได้เกรด 3.5 คะแนนร้อยละ 70-74 ได้เกรด 3 คะแนนร้อยละ 65-69 ได้เกรด 2.5 คะแนนร้อยละ 60-64 ได้เกรด 2 คะแนนร้อยละ 55-59 ได้เกรด 1.5 คะแนนร้อยละ 50-54 ได้เกรด 1 คะแนนร้อยละ 0-49 ได้เกรด 0


แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1. วิเคราะห์การท างานของเครื่องยนต์ ดีเซล 4 จังหวะให้สอดคล้องกับ ไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของ เครื่องยนต์ดีเซล 2. จ าแนกชิ้นส่วนโครงสร้างของ เครื่องยนต์ดีเซลตามหลักการ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม กับงาน 4. แยกประเภทโครงสร้างของ เครื่องยนต์ดีเซลตรงตามหลัก ทฤษฎี 5. ปฏิบัติงานโดยค านึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่น าผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเอง ทั้งทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย โครงสร้างของ เครื่องยนต์ดีเซล - ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล - การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ - ไดอะแกรมการปิด – เปิดลิ้นของ เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ


แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่1 หน่วยที่1 รหัสวิชา 20101-2002 งานเครื่องยนต์ดีเซล 3(7) สอนครั้งที่1-2 (1-14) ชื่อหน่วย/เรื่อง โครงสร้างเครื่องยนต์ดีเซล จ านวนชั่วโมง 14 ช.ม. 1. สาระส าคัญ โครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลเป็นการศึกษาเรื่องโครงสร้างและส่วนประกอบและหลักการท างานของ เครื่องยนต์ดีเซล ในแต่ละจังหวะการท างาน เช่น การเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะซึ่งจะแสดง ให้เห็นในรูปของการเปิด – ปิดลิ้น และให้ผู้เรียนแยกประเภทโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซล และค านึงถึง ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและสิ่งแวดล้อม ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้าน วิชาการและวิชาชีพ 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับ หลักการท างาน โครงสร้างส่วนประกอบและไดอะแกรมการเปิด – ปิดของ ลิ้น 2.2 วิเคราะห์การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะให้สอดคล้องกับไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้น ของเครื่องยนต์ดีเซล 2.3 จ าแนกชิ้นส่วนโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลตามหลักการ 2.4 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 2.5 แยกประเภทโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลตรงตามหลักทฤษฎี 2.6 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 2.7 ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจกี่ยวกับโครงสร้างหลักการท างาน ไดอะแกรมการเปิด – ปิด ลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์การท างานของเครื่องยนต์ดีเซลให้สอดคล้องกับ ไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 3.1.3 เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความมีวินัย และไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบ อ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกชิ้นส่วนโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.2.2 แยกประเภทโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.2.3 อธิบายหลักการท างานเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 3.2.4 อธิบายไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะได้ 3.2.5 เข้าชั้นเรียนตรงเวลาและแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ 3.2.6 มีความพร้อมในการเรียนและปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด 3.2.7 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.8 ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ


4. เนื้อหาสาระ 1.โครงสร้างเครื่องยนต์ดีเซล 2.ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล 3.การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 4.ไดอะแกรมแสดงจังหวะการเปิดและปิดลิ้นของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ 5.หลักการท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. ผู้เรียนรับฟังจุดประสงค์กลุ่มวิชา ค าอธิบายรายวิชา และกรอบมาตรฐานสมรรถนะหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แนวทางวัดผลและการประเมินผลการ เรียนรู้พร้อมทั้งซักถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียน 2. ครูและผู้เรียนร่วมสนทนาว่าความจริงมีเครื่องยนต์ดีเซลสองประเภทหรือสองระดับ หนึ่งคือระ เภทสองจังหวะหรือสองรอบ ซึ่งต้องใช้รอบการด าเนินงานที่สมบูรณ์ในทุก ๆ ลูกสูบสองจังหวะ ต้องอัดอากาศ เพื่อการสตาร์ตเครื่องเช่นเดียวกับการใช้งาน ส่วนอีกแบบคือเครื่องยนต์แบบสี่จังหวะหรือสี่รอบ จังหวะลงครั้ง แรก ของเครื่องยนต์ท าให้อากาศเข้ามาจังหวะขึ้นอากาศถูกกดลงมาประมาณ 500 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ด้านบน ของจังหวะ น้ ามันเชื้อเพลิงจะถูกอัดฉีดให้เป็นละอองผ่านเข้าไปทางหัวฉีดท าให้ติดไฟ แก๊สซึ่งเกิดจากก าลัง เชื้อเพลิงที่ถูกจุดระเบิดขยายตัวอย่างรวดเร็ว ท าให้ลูกสูบอยู่ลงมาในจังหวะที่จุดไฟหรือท างานได้จังหวะขึ้น ถัดไปจะผลักดันให้แก๊สเสียออกผ่านท่อไอเสีย ท าให้เครื่องยนต์ท างานครบวงจร จ านวนเชื้อเพลิงที่สูบฉีดเข้าไป จะควบคุมความเร็วและก าลังของเครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่เกี่ยวข้องกับจ านวนอากาศที่เข้าไป ดังที่เป็นใน เครื่องยนต์แบบใช้น้ ามัน (เครื่องยนต์เบนซิน) 3. ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักการท างานของเครื่องจักรดีเซล อากาศเมื่อถูกอัดตัวจะมี ความร้อนสูงขึ้น แต่ถ้าอากาศถูกอัดตัวอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีการสูญเสียความร้อน ทั้งแรงดันและความร้อนจะ สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อฉีดละอองน้ ามันเชื้อเพลิงเข้าไปในอากาศที่ร้อนจัดจากการอัดตัว ก็จะเกิดการเผาไหม้ ขึ้นอย่างทันทีทันใด ท าให้เกิดก าลังงานขึ้น ก าลังงานที่เกิดขึ้นจะน าไปใช้ประโยชน์ในรูปของแรงขับหรือ แรงผลักดัน ผ่านลูกสูบและก้านสูบท าให้เพลาข้อเหวี่ยงหมุน ณ ก าลังอัดเดียวกัน อากาศที่อุณหภูมิเริ่มต้นสูง กว่า เมื่อถูกอัดย่อมมีอุณหภูมิสูงกว่าหรือร้อนกว่า ครื่องยนต์ดีเซลแบ่งออกเป็นเป็น 2 แบบคือเครื่องยนต์4 จังหวะ และเครื่องยนต์2 จังหวะ


ขั้นสอน 4. ครูผู้สอนอธิบายโครงสร้างเครื่องยนต์ดีเซล .ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล การท างานของ เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ ไดอะแกรมแสดงจังหวะการเปิดและปิดลิ้นของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ .หลักการ ท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะ และขบวนการเผาไหม้พร้อมแสดงรูปภาพประกอบ เครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก โดยทั่วไปเป็นเครื่องยนต์4 จังหวะ ส าหรับเครื่องยนต์2 จังหวะ มักใช้กับ เครื่องยนต์ดีเซลขนาดใหญ่ การท างานของเครื่องยนต์4 จังหวะ 1). จังหวะดูด เมื่อลูกสูบเลื่อนลงจากจุดศูนย์ตายบนถึงจุดศูนย์ตายล่าง ลิ้นไอดีจะเปิด อากาศจะถูก ดูดเข้ามาประจุในห้องเผาไหม้แต่ในขณะนี้ลิ้นไอเสียยังคงปิดอยู่ 2). จังหวะอัด เมื่อลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้นจากศูนย์ตายล่าง ลิ้นทั้งสองจะปิด ดังนั้นอากาศในกระบอกสูบ จึงถูกอัดโดยกระบอกสูบ แรงดันและความร้อนของอากาศจึงสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว อากาศในขณะนี้เป็นอากาศที่ ร้อนแดง " Red hot Air" ถ้าอัตราส่วนการอัดเท่ากับ 20:1 อากาศจะมีแรงดัน 40-45 กก./ตารางเซนติเมตร และมีอุณหภูมิ500-600 องศาเซลเซียส 3). จังหวะระเบิด เมื่อลูกสูบเลื่อนขึ้นเกือบจุดศูนย์ตายบน ในปลายจังหวะอัด ละอองน้ ามันเชื้อเพลิง จะถูกฉีดเข้าสู่ห้องเผาไหม้ ท าให้เกิดการเผาไหม้อย่างทันทีทันใด แรงดันจากการเผาไหม้จะผลักดันให้ลูกสูบ


เลื่อนลง อุณหภูมิจะสูงขึ้นเป็นประมาณ 2000 องศาเซลเซียส และแรงดันสูงขึ้นเป็น 55-80 กก./ตาราง เซนติเมตร ในจังหวะระเบิดนี้พลังงานความร้อนจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานกล 4). จังหวะคาย ปลายจังหวะระเบิด ลิ้นไอเสียจะเปิด แก๊สไอเสียจึงขับไล่ออกจากกระบอกสูบ ด้วย การเลื่อนขึ้นของลูกสูบ 5.ครูผู้สอนกล่าวเพิ่มเติมว่า ประชาชนชาวไทยนับว่าโชคดีอย่างยิ่งที่ได้เกิดมาและอาศัยอยู่ใต้ร่มพระ บรมโพธิสมภารในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้เปี่ยมด้วยพระเมตตาและทรงปรีชาสามารถทุกด้าน พรองค์ ทรงริเริ่มพระราชทานพระราชด าริให้พัฒนาและทดลองใช้เชื้อเพลิงน้ ามันจากวัสดุการเกษตรมาเป็นเวลานาน กว่า 20 ปี โดยใช้แอลกอฮอล์ผสมในน้ ามันเบนซินและน้ ามันดีเซล รวมทั้งการใช้น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ใน เครื่องยนต์ดีเซล เพื่อแปรผลิตผลจากภาคการเกษตรให้เป็นพลังงานทดแทน อันจะช่วยประหยัดเงินตราของ ประเทศจากการน าเข้า พร้อมกับแก้ปัญหาราคาสินค้าเกษตรในขณะเดียวกัน พยายามส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ อย่างพอเพียงหรือพึ่งพาตนเอง โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาหรือน าเข้าจากต่างประเทศนับเป็นตัวอย่างความพอเพียง ในด้านพลังงาน ซึ่งจะเห็นว่าทุกโครงการมีเหตุผล ด าเนินการเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบและรอบด้าน โดยมี ภูมิคุ้มกันจากการพึ่งตนเองในด้านการเงินและวิทยาการสมัยใหม่ ซึ่งเป็นตัวอย่างที่น าผลประโยชน์แก่อนาคต ของชาวไทยต่อไป บทสรุปของหลักการท า งานเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 1 กลวัตร จะมี4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิดหรือจังหวะก าลังและจังหวะคาย เพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ( 720 องศา ) ลูกสูบจะเลื่อนขึ้น 2 ครั้ง ในจังหวะอัดและจังหวะคาย ลูกสูบจะ เลื่อนลง 2 ครั้ง ในจังหวะดูดและจังหวะระเบิด ใน 1 กลวัตร ลูกสูบจะเลื่อนขึ้น – ลง รวม 4 ครั้ง ลิ้นไอดีลิ้นไอเสีย และหัวฉีดจะท า งานอย่างละ 1 ครั้ง ไดอะแกรมเวลาเปิด –ปิด ลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ แสดงลักษณะของไดอะแกรมเวลาเปิด - ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ


จังหวะดูด ( Suction stroke ) ลิ้นไอดีจะเปิดเมื่อลูกสูบ เลื่อนขึ้นถึงจุดศูนย์ตายบน 14 องศา และ ลิ้นไอเสียยังเปิดอยู่ตลอดเวลาที่ลูกสูบเลื่อนลงจากจุดศูนย์ตายบน เมื่อเพลาข้อ เหวี่ยงหมุนผ่านจุดศูนย์ตายล่างไป 44 องศา ลิ้นไอดีจะปิด คิดเป็นมุมเพลาข้อ เหวี่ยงหมุนรวม 238 องศา จังหวะอัด ( Compression stroke ) เมื่อลูกสูบเลื่อนขึ้น ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียจะปิดสนิท ในต าแหน่งที่เพลาข้อเหวี่ยงหมุนท า มุมก่อนถึง ศูนย์ตายบน 25 องศา หัวฉีดจะเริ่มท า การฉีดน ้ามันเชื้อเพลิงเข้าไปยังห้องเผาไหม้เพลาข้อเหวี่ยงหมุนท างาน ในจังหวะอัด จังหวะคาย ( Exhaust stroke ) ลิ้นไอเสียจะเปิดที่ 52 องศา ก่อนถึงจุดศูนย์ตายล่างเพื่อระบายความดัน และเมื่อเพลาข้อเหวี่ยงหมุน ผ่านจุดศูนย์ตายล่างผลักดันให้ลูกสูบเลื่อนขึ้นสู่จุดศูนย์ตายบนเพื่อขับไล่แก๊สไอเสียให้ออกไปจากกระบอกสูบ ทางช่องลิ้นไอเสีย เพลาข้อเหวี่ยงจะหมุนเป็นมุมรวม 252 องศา ไดอะแกรมการท า งานของลูกสูบเครื่องยนต์ แสดงลักษณะไดอะแกรม ไดอะแกรมของลิ้นไอดีและลิ้นไอเสีย จะท า งานพร้อมกันเป็นมุม 34 องศา( 14 องศา+ 20 องศา ) หัวฉีดจะท า การฉีดน ้ามันเชื้อเพลิงเป็นมุม 30 องศา


ขั้นสรุปและการประยุกต์ 7. ผู้เรียนสรุปหลักการท างานของเครืองยนต์ดีเซล เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เครื่องยนต์ 2 จังหวะ เปรียบเทียบเครื่องยนต์ 2 จังหวะกับเครื่องยนต์ 4 จังหวะ การหาต าแหน่งอัดสุดของเครื่องยนต์ดีเซล 4 สูบ แนวตั้ง และการหาต าแหน่งอัดสุดของเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบแนวตั้ง 8. ผู้เรียนวางแผนน าหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันที่จ าเป็นโดยทั่วไป และ ท าแบบประเมินผลการเรียนรู้ การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความมีเหตุผล 1. วิเคราะห์การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะให้สอดคล้องกับไดอะแกรมการเปิด – ปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 2. จ าแนกชิ้นส่วนโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลตามหลักการ 2. ความพอประมาณ 1. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 2. แยกประเภทโครงสร้างของเครื่องยนต์ดีเซลตรงตามหลักทฤษฎี 3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 1. ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 2. ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเองทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 4. เงื่อนไขความรู้ 1. ส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซล 2. การท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 3. ไดอะแกรมการปิด – เปิดลิ้นของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ 5. เงื่อนไขคุณธรรม 1. ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ ประหยัด และซื่อสัตย์สุจริตในการปฏิบัติงาน การบูรณาการกับค่านิยมหลักของไทย 12 ประการ 1. ด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน - ผู้เรียนเสียสละก าลังกาย ทรัพย์ สติปัญญาในการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม 2. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักเคารพผู้ใหญ่ - ผู้เรียนมีความประพฤติตรงตามค าสั่งหรือข้อบังคับของสถานศึกษา ตรงต่อเวลา 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชางานเครื่องยนต์ดีเซล ของส านักพิมพ์เอมพันธ์ 2. สื่อแผ่นใส 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. รูปภาพประกอบ 5. เครื่องมือและอุปกรณ์ 6. เครื่องยนต์ดีเซล


7. หลักฐาน 1. บันทึกการสอน 2. ผลงาน 3. แผนจัดการเรียนรู้ 4. ใบเช็คชื่อเข้าห้องเรียน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวแบบประเมินผลการเรียนรู้ 4 ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 5 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. ท าใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้ 2. บันทึกการรับ-จ่าย 3. ให้ผู้เรียนวาดรูปภาพหรือน ารูปภาพของส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ดีเซล และเขียนบอก ชื่อส่วนประกอบให้ชัดเจน


10. บันทึกหลังการสอน (สอนครั้งที่.......................) ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่ก าหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจ าหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......คน ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............. ..................................................................................................................... ............................. ผลการสอนของครู 1. ท าการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่ก าหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่ก าหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่ก าหนด 3. เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............


ใบงาน 1 เรื่อง โครงสร้างเครื่องยนต์ดีเซล ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.บอกโครงสร้างเครื่องยนต์ดีเซลได้ 2.บอกส่วนประกอบของเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.อธิบายการท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะได้ 4.อธิบายไดอะแกรมแสดงจังหวะการเปิดและปิดลิ้นของเครื่องยนต์ 4 จังหวะได้ 5.อธิบายหลักการท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะได้ 6.อธิบายขบวนการเผาไหม้ได้ ค าชี้แจง.- ให้อธิบายหลักการท างานของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะตามรูปภาพนี้ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................


แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1. ตรวจสอบฝาสูบ เสื้อสูบ ห้องเผา ไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 2. ถอดและประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อ เหวี่ยง ตามคู่มือซ่อม พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 4. ตรวจสอบและถอดประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ได้ตรงตาม คู่มือ 7. ปฏิบัติงานโดยค านึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 8. ร่วมมือในการท างาน ด้วยความกลมเกลียว และปรองดอง ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - มีความสามัคคี ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง - หน้าที่ของฝาสูบ เสื้อสูบ - ห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล - ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง


แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่2 หน่วยที่2 รหัสวิชา 20101-2002 ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบและเพลาข้อเหวี่ยง 3(7) สอนครั้งที่4-6 (22-42) ชื่อหน่วย/เรื่อง ฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง จ านวนชั่วโมง 21 ช.ม. 1. สาระส าคัญ การถอดประกอบและตรวสอบสภาพชิ้นส่วนและฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยงจะต้อง ศึกษาวิธีการถอดและประกอบจากคู่มือซ่อมให้เข้าใจ เพื่อไม่ให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ เสียหายจากการปฏิบัติผิดวิธี และการตรวจสภาพ ค่าก าหนดต่าง ๆ จะต้องดูจากคู่มือซ่อมของเครื่องยนต์รุ่นนั้น ๆ 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยงเครื่องยนต์ดีเซล 2.2 ตรวจสอบฝาสูบ เสื้อสูบ ห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซลตามคู่มือ 2.3 ถอดและประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ตามคู่มือซ่อม 2.4 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 2.5 ตรวจสอบและถอดประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ได้ตรงตามคู่มือ 2.6 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 2.7 ร่วมมือในการท างานด้วยความกลมเกลียวและปรองดอง 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง เครื่องยนต์ดีเซล 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการตรวจสอบ ถอดและประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 3.1.3 เพื่อให้มีความสามัคคีค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติมากกว่า ผลประโยชน์ของตนเอง 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกส่วนประกอบของฝาสูบเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.2.2 บอกหน้าที่ของชิ้นส่วนประกอบฝาสูบได้ 3.2.3 อธิบายการท างานห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.2.4ตรวจสอบและถอดประกอบชิ้นส่วนฝาสูบ เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ได้ 3.2.5 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 3.2.6ความสามัคคีค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติมากกว่าผลประโยชน์ ของตนเอง 4. เนื้อหาสาระ 1.ส่วนประกอบของฝาสูบเครื่องยนต์ดีเซล 2.หน้าที่ของชิ้นส่วนประกอบฝาสูบ 3.ห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล


4.งานฝาสูบ 5.งานสายพานไทมิ่ง 6. ส่วนประกอบภายในเสื้อสูบ 7 .หน้าที่ของชิ้นส่วนในเสื้อสูบ 8. งานเสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายประสบการณ์ที่เคยได้รับมาซึ่ง เป็นเรื่องของรถโตโยต้า Dxi 1.3 ใช้ งานมาได้ 5 ปีแล้วหม้อน้ าเกิดร้อนขึ้นมา ท าให้เครื่องน็อคไป ปรากฏว่าฝาหม้อน้ าร้าว ก็ไปเปลี่ยนฝาและพัด ลมมา และที่หน้าปัดรถแสดงให้เห็นว่า ความร้อนขึ้นสูง คนขับจึงจอดรถ และรอจนเครื่องเย็น จึงเปิดหม้อน้ า ปรากฎว่า น้ าในหม้อน้ าแห้งไปครึ่งหนึ่ง ก็ได้เติมน้ าจนเต็ม และขับไปต่อ คราวนี้ความร้อนไม่ขึ้น และก็เกิด เหตุการณ์แบบนี้อีกเรื่อยมา และในที่สุดเครื่องไม่ติด ไม่ได้มีเสียงดังติ๊กๆ กว่าจะ Start ติด Startหลายครั้งมาก และต้องเร่งคันเร่งด้วยถึงติด พอขับออกไปได้ รถเกิดอาการเครื่องเดินไม่เรียบ ตั้งแต่เครื่อง Start ติด จะเป็น อาการอย่างนี้ตลอด และให้ช่างดู ช่างบอกว่าฝาสูบร้าว และสาธิตวิธีดูให้คือ Startเครื่อง และให้ดูที่พักหม้อน้ า สายยางจะมีลมออกมาที่น้ า เหมือนน้ าก าลังเดือด ช่างบอกว่า ฝาสูบร้าวแล้วท าให้เครืองท างานไม่เต็มก าลัง และกินน้ ามันเครื่องไปมาก ช่างบอกว่า ไม่อยากท าฝาสูบให้ใหม่เพราะท าไปแล้ว ไม่รับประกันว่าจะแตกอีกมั้ย และบอกให้ผมเปลี่ยนเครื่องใหม่ จากกรณีดังกล่าวนี้ ได้น ามาร่วมแสดงความคิดเห็น -จะซ่อมฝาสูบได้หรือไม่ -ค่าใช้จ่ายประมาณเท่าใด 2.ผู้เรียนช่วยกันพิจารณารูปภาพฝาสูบของรถยนต์ที่น ามาเป็นตัวอย่าง และช่วยกันแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน 3.ครูผู้สอนสาธิตและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตามในเรื่องของส่วนประกอบของฝาสูบเครื่องยนต์ดีเซล บอก หน้าที่ของชิ้นส่วนประกอบฝาสูบ ห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล งานฝาสูบ และงานสายพานไทมิ่งโดยใช้ ห้องปฏิบัติการฝึกปฏิบัติ และเน้นให้ผู้เรียนสามารถฝึกและน าไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งการ ออกไปประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว 4.ผู้เรียนศึกษาห้องเผาไหม้ช่วยของเครื่องยนต์ดีเซล ดังภาพประกอบด้านล่าง เชื้อเพลิงถูกฉีดให้เป็น ฝอยละออง เข้าสู่ห้องเผาไหม้ล่วงหน้าด้วยหัวฉีดการเผาไหม้บางส่วนจะเกิดขึ้น จากนั้นเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ลุก ไหม้หลงเหลืออยู่จะถูกขับดันผ่านท่อเล็กๆ ที่อยู่ระหว่างห้องเผาไหม้ล่วงหน้า และห้องเผาไหม้หลัก เข้าสู่ห้อง เผาไหม้หลักซึ่งเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูก แรงดันอากาศ ท าให้แตกตัวเป็นอนูเล็ก ๆ ท าให้ลุกไหม้หมดจดต่อไป


ข้อดีก.ใช้เชื้อเพลิงได้มากแบบกว่า ซึ่งใช้เชื้อเพลิงที่มีคุณภาพต่ าได้โดยเกิดควันจากการลุกไหม้น้อย ข.สะดวกและง่ายต่อการบ ารุงรักษา เพราะว่าแรงดันที่ใช้ในการฉีดเชื้อเพลิงต่ า และ เครื่องยนต์เมื่อเปรียบเทียบแล้วจะไม่มีผลต่อการเปลี่ยนจังหวะการฉีดเชื้อเพลิง ค.ใช้หัวฉีดแบบเข็ม จึงท าให้ลดอาการน๊อคของเครื่องยนต์และท าให้เครื่องยนต์ท างานเงียบ ข้อด้อย ก.ค่าใช้จ่ายในการผลิตสูงกว่า เนื่องจากการออกแบบ และกระบอกสูบซับซ้อน ข.ต้องใช้มอเตอร์สตาร์ทที่มีขนาดใหญ่ การติดเครื่องยากจ าเป็นต้องใช้หัวเผา ค.สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมาก 5.ผู้เรียนศึกษาแบบห้องเผาไหม้หมุนวน ดังภาพประกอบด้านล่าง ห้องเผาไหม้หมุนวนมีรูปร่างเป็น แบบทรงกลม อากาศที่ถูกลูกสูบอัดจะไหลเข้าไปสู่ห้องเผาไหม้หมุนวน และจะท าให้เกิดการหมุนภายในนั้น ที่ ซึ่งเชื้อเพลิงจะถูกฉีดออกมาส่วนใหญ่ของเชื้อเพลิงจะลุกไหม้ในห้องเผาไหม้หมุนวน แต่ถึงอย่างไรบางส่วนของ เชื้อเพลิงที่ลุกไหม้ ไม่หมด ก็จะเข้าสู่ห้องเผาไหม้หลักโดยผ่านท่อส่ง เพื่อการเผาไหม้ที่หมดจดต่อไป ข้ อดีก.เครื่องยนต์ท างานได้รอบสูงๆ เนื่องจากการหมุนวนของการอัดตัวของอากาศที่รุนแรง ข.มีปัญหาเทียบกับหัวฉีดน้อย เนื่องจากว่าใช้หัวฉีดแบบเข็ม ค.ช่วงระยะความเร็วของเครื่องยนต์กว้างมาก และการท างานราบเรียบ ดังนั้นท าให้ เครื่องยนต์แบบนี้มีความเหมาะสมกับรถยนต์นั่ง ข้อด้อย ก.โครงสร้างของฝาสูบและเสื้อสูบซับซ้อน ข.ประสิทธิภาพความร้อนและอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงด้อยกว่าระบบฉีดเชื้อเพลิงโดยตรง ค.จ าเป็นต้องใช้หัวฉีด แต่ถึงอย่างไรก็จะไม่เป็นผลมากนัก ส าหรับห้องเผาไหม้หมุนวนขนาด ใหญ่ เครื่องยนต์ติดเครื่องค่อนข้างยาก ง.มักเกิดอาการดีเซลน๊อค ในขณะรอบเครื่องยนต์ต่ า 6.ผู้เรียนศึกษาข้อแตกต่างระหว่างฝาสูบเครื่องยนต์เบนซินแบเครื่องยต์ดีเซล และท ารายงานส่ง ภายในก าหนดเวลา


7.ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเรื่องฝาสูบซึ่งติดตั้งอยู่เหนือเสื้อสูบ ส่วนที่ซ่อนอยู่เป็นห้องเผาไหม้รวมกับ กระบอกสูบและลิ้นฝาสูบ ต้องสามารถทนต่ออุณหภูมิ และก าลังสูงสุดที่จะเกิดขึ้น จากการท างานของ เครื่องยนต์ได้ด้วยเหตุนี้ฝาสูบ จึงท ามาจากเหล็กหล่อหรือโลหะผสมอลูมิเนี่ยม ซึ่งประสิทธิภาพหล่อเย็นได้ ดีกว่าเหล็กหล่อ ฝาสูบยังประกอบไปด้วย เสื้อน้ าหล่อเย็น ซึ่งประกบตรงกับเสื้อน้ าหล่อเย็นบนเสื้อสูบ นอกจากนี้ยังใช้หล่อเย็นฝาสูบแล้ว ยังหล่อเย็นหัวเทียนด้วย 8.ครูอธินายและสาธิตการท างานของสายพานไทมิ่ง ซึ่งเป็นกลไกขับลิ้น แบบสายพานไทมมิ่ง เพลา ลูก เบี้ยวถูกขับด้วยสายพานแบบมีฟันแทนที่การใช้โซ่ไทม์มิ่ง สายพานนั้นจะท างานได้เงียบกว่าโซ่ และไม่ต้องการ การหล่อลื่น หรือการปรับตั้งความตึงอีกทั้งสายพานยังมีน้ าหนักน้อยกว่า วิธีการขับลิ้นแบบอื่น ด้วยเหตุนี้ ปัจจุบันนิยมใช้ในเครื่องยนต์เป็นส่วนมาก 9.ครูเน้นและฝึกให้ผู้เรียนจงท างานด้วยความรอบคอบระมัดระวังไม่ให้เกิดความเสียหายต่องานที่เรา รับผิดชอบ เช่น เราท างานเกี่ยวกับเครื่องยนต์ก็ต้องท างานให้ถูกขั้นตอนและมีการตรวจสอบงานทุกขั้นตอน ไม่ให้เกิดความผิดพลาด หรือถ้าเราเป็นผู้บริหารเราก็ต้องท าหน้าที่ให้สมบูรณ์ให้สมกับที่ได้รับมอบหมายหน้าที่ และในขณะเดียวกันก็จงท างานด้วยความมานะอดทนมีความเพียรพยายามในงานที่ท า ไม่มีงานที่ไหนในโลก ง่าย ทุกคนก็ต้องท างานด้วยความเพียร มีความมุ่งมั่น มีความอดทน มีความพยายามที่จะท างานให้ประสบ ความส าเร็จครูสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่อเน้นการเรียน ของแต่ละบุคคล ให้มีความรู้ ความเข้าใจและน าทักษะการเรียนรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในเรื่องส่วนประกอบ ภายในเสื้อสูบ หน้าที่ของชิ้นส่วนในงานเสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง เสื้อสูบ เป็นโครงสร้างท าจากโลหะหรือโลหะผสม ปกติจะมีขอบสันบนผนังส่วนนอกของมันเพื่อ เพิ่มความแข็งแรงและช่วยระบายความร้อน เสื้อสูบประกอบด้วยกระบอกสูบหลาย ๆ ชุด ซึ่งมีลูกสูบเคลื่อนที่ ขึ้น และลงอยู่ภายใน ส่วนบนของกระบอกสูบถูกผนึกด้วยฝาสูบ ซึ่งผนึกแน่นด้วยปะเก็นฝาสูบซึ่งอยู่ระหว่าง เสื้อสูบและฝาสูบห้องเพลาข้อเหวี่ยงจะอยู่ส่วนล่างของเสื้อสูบ รอบ ๆ กระบอกสูบ ถูกหล่อเย็นด้วยน้ าหล่อเย็น และจะมีช่องผ่านของน้ ามันหล่อลื่นอยู่ด้วยภายในเสื้อสูบยังประกอบด้วยกระบอกสูบ ซึ่งเป็นที่ ๆลูกสูบ เคลื่อนที่ขึ้นลง ส่วนผสมน้ ามันเชื้อเพลิงกับอากาศจะต้องไม่รั่วไหล และความต้านทานของความฝืด ระหว่าง ลูกสูบกับกระบอกสูบ จะต้องต่ าที่สุดเท่าที่จะท าได้เพราะฉะนั้นกระบอกสูบจะต้องผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ


ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นและลงภายในกระบอกสูบ เพื่อด าเนินกลวัตรในจังหวะประจุไอดีอัดส่วนผสมจุด ระเบิด และคายไอเสียหน้าที่ที่ส าคัญที่สุดของลูกสูบก็คือรับแรงกดดันจากการเผาไหม้และส่งก าลังนี้ไปสู่เพลา ข้อเหวี่ยงโดยผ่านก้านสูบ ลูกสูบนั้นยังได้รับความร้อนและอุณหภูมิที่สูงที่สุดที่กระท าอยู่ตลอดเวลาและ จะต้องสามารถคงทนต่อการท างานที่รอบสูงเป็นเวลานานๆได้ลูกสูบโดยปกติท ามาจากโลหะผสมอลูมิเนียม ซึ่งมีน้ าหนักเบาและมีประสิทธิภาพในการระบายความร้อนได้ดีกว่าวัสดุชนิดอื่นชื่อของชิ้นส่วนต่างๆ ของลูกสูบ มีแสดงอยู่ในภาพประกอบด้านล่างนี้ แหวนลูกสุบจะถูกประกอบไว้ในร่องแหวนลูกสูบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกของแหวนลูกสูบ จะใหญ่กว่าลูกสูบเองเล็กน้อยเมื่อประกอบเข้ากับลูกสูบคุณสมบัติในการยืดและหดตัวของแหวนท าให้มัน ขยายตัวเพื่อที่จะแนบให้สนิทกับผนังกระบอกสูบ แหวนลูกสูบต้องท าด้วยโลหะที่ทนต่อการสึกหรอสูงจ าพวก เหล็กหล่อพิเศษชุบโครเมี่ยม เพื่อว่าแหวนลูกสูบจะไม่ขูดให้กระบอกสูบเป็นรอยจ านวนแหวนลูกสูบแปรผันไป ตามชนิดของเครื่องยนต์โดยปรกติจะมีจ านวนสามถึงสี่แหวนต่อลูกสูบหนึ่งลูก แหวนลูกสูบมีหน้าที่ที่ส าคัญสามประการคือ ท าหน้าที่ป้องกันส่วนผสมอากาศและเชื้อเพลิงรั่วออก จากช่องว่างระหว่างลูกสูบกับกระบอกสูบ กับห้องเพลาข้อเหวี่ยง ในระหว่างจังหวะอัดและจุดระเบิดหน้าที่ที่ สองคือป้องกันน้ ามันเครื่องที่หล่อลื่นด้านข้างของลูกสูบกับกระบอกสูบ มิให้เล็ดรอดเข้าไปในห้องเผาไหม้ หน้าที่สุดท้ายคือ ถ่ายเทความร้อนจากลูกสูบไปสู่ผนังกระบอกสูบ เพื่อช่วยให้ลูกสูบเย็นลง


แหวนอัดนี้ป้องกันการรั่วของส่วนผสมอากาศและเชื้อเพลิงและแก๊สที่เกิดจากห้องเผาไหม้ระหว่าง จังหวะอัด และจุดระเบิดมิให้ลงสู่ห้องเพลาข้อเหวี่ยงจ านวนของแหวนอัดนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่องยนต์ โดยทั่วไปลูกสูบหนึ่งลูกจะมีแหวนอัดสองตัว ซึ่งเรียกว่า "แหวนอัดตัวบน" และ "แหวนอัดตัวที่สอง" แหวนอัด จะมีลักษณะเป็นเทเปอร์ดังนั้นขอบล่างของมันจึงสัมผัสกับผนังกระบอกสูบ การออกแบบเช่นนี้เพื่อให้เกิดการสัมผัสที่แนบสนิทกันเป็นอย่างดีระหว่างแหวนและกระบอกสูบ นอกจากนั้นยังท าหน้าที่กวาดน้ ามันเครื่องออกจากผนังกระบอกสูบได้อย่างมีประสิทธิภาพ แหวนกวาดน้ ามันกวาด ท าให้เกิดฟิล์มของน้ ามันที่จ าเป็นต่อการหล่อลื่นผิวระหว่างลูกสูบ และ ผนังกระบอกสูบ และกวาดน้ ามันส่วนที่เกินออก เพื่อป้องกันมิให้น้ ามันหลุดเข้าไปในห้องเผาไหม้แหวนกวาด น้ ามันบางครั้ง เรียกว่า แหวนที่สาม มีอยู่ด้วยกันสองชนิดคือ แหวนกวาดน้ ามันแบบรวมกับแบบสามชิ้น ซึ่ง แบบสามชิ้นนั้นเป็นที่นิยมใช้มากกว่า แหวนกวาดน้ ามันแบบรวมนี้จัดให้มีรูน้ ามันไหลกลับ ที่มีขนาดเท่ากันอยู่โดยรอบมากมาย รวมทั้งรู น้ ามันก็ถูกจัดให้อยู่ตามร่องแหวนกวาดนี้ด้วยน้ ามันส่วนที่เกินจะถูกกวาดออก โดยแหวนกวาด โดยไหลเข้าไป ในรูเหล่านี้ และไหลกลับเข้าสู่ด้านในของลูกสูบ


แหวนกวาดน้ ามันแบบสามชิ้นนี้ประกอบด้วย แผ่นกวาดด้านข้าง เพื่อกวาดน้ ามัน ส่วนเกิน ออกและตัวทางซึ่งดันให้แผ่นกวาดด้านข้างแนบสนิทกับกระบอกสูบ และร่องแหวน แหวนกวาด น้ ามันแบบ สามชิ้นนี้ ท าหน้าที่เช่นเดียวกับแบบรวม แหวนลูกสูบจะขยายตัวเมื่อร้อนในลักษณะเดียวกับลูกสูบ ด้วยเหตุนี้แหวนลูกสูบจึงมีปากตัดที่ เดียว และเมื่อประกอบเข้าภายในกระบอกสูบจะเหลือช่องว่างที่เหมาะสม ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างปากแหวน ระยะ ช่องว่างนี้จะแปรผันไปขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง แต่ปกติจะอยู่ในช่วง 0.2ถึง 0.5มม.ที่อุณหภูมิปกติ เพลาข้อเหวี่ยง เป็นแรงขับที่ใช้ในการขับเคลื่อนล้อของรถยนต์ได้มาจากการเคลื่อนตัวขึ้นลงของ ก้านสูบและผลจากหมุนของเพลาข้อเหวี่ยงเพลาข้อเหวี่ยงได้รับแรงจากลูกสูบและก้านสูบท าให้หมุนด้วย ความเร็วสูงด้วยเหตุนี้มันจึงท าจากเหล็กไฮเกร็ดผสมคาร์บอนซึ่งมีความทนต่อการสึกหรอสูง


ข้อเจอร์นัลถูกรองรับด้วยแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยงของห้องเพลาข้อเหวี่ยงและเพลาข้อเหวี่ยงหมุนรอบข้อ เจอร์นัลนี้ข้อเจอร์นัลแต่ละข้อมีแขนเพลาข้อเหวี่ยงประกอบอยู่ ข้อเพลาข้อเหวี่ยงติดตั้งอยู่บนเพลาข้อเหวี่ยง เยื้องศูนย์กับแกนของเพลาน้ าหนักถ่วงประกอบอยู่ดังรูป เพื่อลดแรงความไม่สมดุลย์ของการหมุนของเพลาข้อ เหวี่ยง ในขณะที่เครื่องยนต์ท างานที่เพลาข้อเหวี่ยงมีรูน้ ามันเพื่อใช้ส่งน้ ามันหล่อลื่นให้กับข้อเจอร์นัล แบริ่ง ก้านสูบ และสลักก้านสูบ 5.ครูและผู้เรียนร่วมกันสาธิต การถอดประกอบและตรวจฝาสูบ การถอดประกอบและตรวจลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง พร้อมให้ผู้เรียนปฏิบัติตามเพื่อฝึกทักษะความช านาญ และสามารถน าไปปฏิบ้ติได้จริง ใน การประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวในการด ารงชีวิตต่อไปอย่างมีความสุข 6.ครูเน้นให้ผู้เรียนน้อมน าหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติในเรื่องของความ รับผิดชอบ ความอดทน ความเพียรพยายาม ความมีสติ ความมีปัญญาในการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้ยังสามารถน าความรู้ที่ได้รับกลับไปประกอบอาชีพได้อย่างพอเพียงอีกด้วย เช่น การเปิดอู่ซ่อมรถยนต์หรือเครื่องยนต์แก๊สโซลีนเป็นร้านขนาดเล็ก ๆ ในชุมชนท้องถิ่นอย่างพอเพียง ขั้นสรุปและการประยุกต์ 10.สรุปส่วนประกอบของฝาสูบเครื่องยนต์ดีเซล หน้าที่ของชิ้นส่วนประกอบฝาสูบ ห้องเผาไหม้ของ เครื่องยนต์ดีเซล งานฝาสูบ และงานสายพานไทมิ่ง โดยการถามตอบเป็นกลุ่มหรือรายบุคคลให้เป็นไปตาม สภาพที่เหมาะสม และเป็นไปได้ของผู้เรียน และประเมินผู้เรียนตามแบบฟอร์มต่อไปนี้ 11. สรุปการถอดประกอบและตรวจฝาสูบ การถอดประกอบและตรวจลูกสูบและเพลาข้อเหวี่ยงโดย ให้ผู้เรียนบอกขั้นตอนการถอด และประกอบให้ถูกต้องตามหลักการท างานที่ได้ศึกษามาแล้ว 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียน วิชางานเครื่องยนต์ดีเซล ของส านักพิมพ์เอมพันธ์ 2.รูปภาพ 3.กิจกรรมการเรียนการสอน 4.แผ่นใส 5.แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 7. หลักฐาน 1.บันทึกการสอน


2.ใบเช็ครายชื่อ 3.แผนจัดการเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8. การวัดผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3 ตรวจกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 4. ตรวจกิจกรรมใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. ตอบค าถามในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จึงจะถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1= ควร ปรับปรุง 5. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 6. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การ ประเมินตามสภาพจริง 9. กิจกรรมเสนอแนะ 1.ท าใบงานและแบบประเมินผลกาเรียนรู้ 2.บันทึกขั้นตอนการถอดประกอบและตรวจสายพานไทม์มิ่ง


ใบงาน เรื่อง ฝาสูบ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.บอกส่วนประกอบของฝาสูบเครื่องยนต์ดีเซลได้ 2.บอกหน้าที่ของชิ้นส่วนประกอบฝาสูบได้ 3.อธิบายการท างานห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซลได้ 4.ถอดประกอบและตรวจสอบฝาสูบได้ 5.ถอดประกอบสายพานไทมิ่งได้ ค าชี้แจง.- ผู้เรียนบอกขั้นตอนการถอดประกอบและตรวจสายพานไทม์มิ่ง ในห้องปฏิบัติการ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................


ใบงาน เรื่อง เสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.บอกส่วนประกอบภายในเสื้อสูบได้ 2บอก.หน้าที่ของชิ้นส่วนในเสื้อสูบได้ 3.ถอดประกอบและตรวจสภาพเสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยงได้ ค าชี้แจง.- ให้ผู้เรียนฝึกทักษะโดยการถอดประกอบและตรวจสภาพเสื้อสูบ ลูกสูบ และเพลาข้อเหวี่ยง ในห้องปฏิบัติการตามขั้นตอน แล้วบันทึกผลงานส่งครูผู้สอน ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................


10. บันทึกหลังการสอน ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่ก าหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจ าหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. . ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......คน ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการสอนของครู 1. ท าการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่ก าหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่ก าหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่ก าหนด 3. เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. ..................... ....................................................................................................................................... ....................................... ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............


แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1. วางแผนการติดตั้งอุปกรณ์ ปั๊มน้ ามัน เชื้อเพลิงและหัวฉีดตามคู่มือ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 2. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม กับงาน 3. ติดตั้งระบบ อุปกรณ์ ปั๊มน้ ามัน เชื้อเพลิงและหัวฉีดตามแผนที่วาง ไว้ 4. ปฏิบัติงานโดยค านึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 5. ไม่น าผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเอง ทั้งทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย ระบบฉีดน้ ามัน เชื้อเพลิง - ส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิง - การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิง - งานบริการหัวฉีด


แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่3 หน่วยที่ 3 รหัสวิชา 20101-2002 งานเครื่องยนต์ดีเซล 3 (7) สอนครั้งที่7-9(43-63) ชื่อหน่วย/เรื่อง ระบบฉีดเชื้อเพลิง จ านวนชั่วโมง 21 ช.ม. 1. สาระส าคัญ ระบบฉีดเชื้อเพลิงมีความส าคัญมากในเครื่องยนต์ดีเซล เช่น กรองน้ ามันเชื้อเพลิง ปั๊มแรงดันต่ า ปั๊ม ฉีดเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล และหัวฉีด ระบบเซนเซอร์ จะต้องอยู่ในสภาพที่ดีจึงจะท าให้เครื่องยนต์ท างาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีอุปกรณ์ใดบกพร่องจะต้องท าการซ่อมหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนนั้น ๆ เช่น กรอง เชื้องเพลิง ลูกปั๊มในปั๊มฉีดเชื้อเพลิงหรือหัวฉีด เป็นต้น 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับการท างานของระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล 2.2 แสดงความรู้เกี่ยวกับวิธีการท าให้น้ ามันเชื้อเพลิงเป็นฝอยละอองในเครื่องยนต์ดีเซล 2.3 ถอด – ประกอบ ปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล หัวฉีด ตามคู่มือ 2.4 ติดตั้งอุปกรณ์ ชิ้นส่วนระบบน้ ามันเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล ตามคู่มือ 2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 2.6 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความละเอียด รอบคอบ และปลอดภัย 2.7 แสดงพฤติกรรมความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ ความเป็นประชาธิปไตยและห่างไกลยาเสพติด 2.8 ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเอง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเกี่ยวกับการฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล 2. เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิธีท าให้น้ ามันเชื้อเพลิงเป็นฝอยละอองในเครื่องยนต์ดีเซล 3.เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการถอดประกอบอุปกรณ์การท างานของปั๊มฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงและการท า โครงงานสื่อระบบฉีดเชื้อเพลิง 4. เพื่อให้ประยุกต์ใช้หลักความมีเหตุผล ความพอประมาณ และหลักความมีภูมิคุ้มกันในการการ ประกอบวงจรควบคุมการฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง 5. เพื่อให้มีวินัย ความรับผิดชอบ มนุษยสัมพันธ์ ความเป็นประชาธิปไตยและห่างไกลยาเสพติด 6. . ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเอง จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ออกแบบและวางแผนโครงงานสื่อระบบฉีดเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล ได้ 2. เขียนโครงการสื่อระบบฉีดเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซลได้ตามรูปแบบการเขียนโครงการ 3. ท าสื่อระบบฉีดเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซลได้ 4. แสดงพฤติกรรมความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความคิดสร้างสรรค์ ความ มีเหตุผล ความพอประมาณ ความเป็นประชาธิปไตยและห่างไกลยาเสพติด


4. เนื้อหาสาระ 1.ระบบฉีดเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล 2.ส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล 3.การท างานของวงจรระบบเชื้อเพลิงระบบคอมมอนเรล 4.การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบเรียงสูบ 5.การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบระบบคอมมอนเรล 6.งานบริการกรองน้ ามันเชื้อเพลิง 7.งานบริการปั๊มแรงดันต่ า 8.การเตรียมความพร้อม 9. การก าหนดและเลือกหัวข้อ 10. การเขียนเค้าโครงของโครงการ 11. การปฏิบัติโครงการ 12. การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 13. การน าเสนอผลงาน กิจกรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 9 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (ขั้นที่ 1 – 3) ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.ครูและผู้เรียนสนทนาเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ ของระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง เมื่อเครื่องยนต์หมุน ก็จะส่งถ่ายก าลังให้กับเพลาลูกเบี้ยวของปั๊มเชื้อเพลิงโดยผ่านทางข้อต่อหรือเฟืองขับ ซัพพลายปั๊ม จะถูกขับ โดยเพลาลูกเบี้ยวของปั๊มท าการดูดน้ ามันจากถ้งน้ ามันและส่งเข้าไปกรองในหม้อกรองน้ ามันและผ่านออกจาก หม้อกรองน้ ามันด้วยแรงดันประมาณ 1.8-2.5 กก./ซม.2 ส่งเข้าไปบรรจุในห้องน้ ามันในเสื้อปั๊มให้เต็มอยู่ ตลอดเวลาลูกปั๊มซึ่งถูกยกขึ้นโดยการหมุนของเพลาลูกเบี้ยวก็จะท าให้น้ ามันที่ส่วนหัวของชุดลูกปั๊มมีแรงดัน เพิ่มมากขึ้น และต่อจากนั้น น้ ามันแรงดันสูงก็จะถูกส่งออกจากปั๊มฉีดเชื้อเพลิงผ่านทางท่อน้ ามัน (แป๊ปหัวฉีด) ไปเข้ายังเสื้อหัวฉีดและท าการฉีดเข้าไปยังห้องเผาใหม้ของเครื่องยนต์ในจังหวะระเบิด เพราะว่าปริมาณน้ ามันที่ ซัพพลายปั๊มส่งเข้าในห้องน้ ามันของปั๊มเชื้อเพลิงจะมีประมาณมากกว่าความต้องการใช้น้ ามันจริงๆ ของ เครื่องยนต์ในขณะที่มีโหลดและความเร็วสูงสุดจึงต้องติดวาล์วน้ ามันไหลกลับไว้ที่ตัวปั๊มเชื้อเพลิงด้วยเพื่อเวลา น้ ามันที่ส่งจากซัพพลายปั๊มมีแรงดันสูงเกินกว่าค่าที่ก าหนดไว้วาล์วน้ ามันไหลกลับก็จะเปิดให้น้ ามันส่วนเกิน ไหลกลับออกไปยังถังน้ ามันทางท่อน้ ามันไหลกลับ น้ ามันส่วนเกินจากหัวฉีด (ซึ่งท าการหล่อลื่นภายในเสื้อ หัวฉีดด้วย) ก็จะไหลผ่านออกจากเสื้อหัวฉีดไปผ่านวาล์วน้ ามันไหลกลับและกลับไปยังถังน้ ามันเหมือนกัน ปั๊ม น้ ามันเครื่อง ซึ่งมีหน้าที่ดูดน้ ามันหล่อลื่นจากอ่างน้ ามันเครื่องแล้วส่งไปหล่อลื่นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ ครูและผู้เรียนน ารูปภาพรถยนต์ที่ใช้ฉีดน้ าดับเพลิงที่ใช้แรงดันสูงและต่ า เพื่อเปรียบเทียบกับปั๊มแรงดันต่ าเพื่อ เชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหากาเรียนการสอนต่อไป


ระบบฉีดเชื้อเพลิงคอมมอนเรล 2.ผู้เรียนบอกส่วนประกอบของระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง โดยครูเป็นผู้น ารูปภาพมาประกอบการเรียน การสอน


ขั้นสอน 3.ครูอธิบายระบบฉีดเชื้อเพลิง บอกส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิง อธิบายการท างานของวงจร ระบบเชื้อเพลิง.การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบเรียงสูบ การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบจานจ่าย 4.ครูผู้สอนสาธิตและใช้เทคนิคการอธิบาย พร้อมฉายวีดีทัศน์งานบริการกรองน้ ามันเชื้อเพลิง งาน บริการปั๊มแรงดันต่ า โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ครูอธิบายเนื้อหาการเรียนรู้ และฉายวีดีทัศน์ของระบบระบายความร้อน เพื่อเป็นสื่อประกอบการ เรียนให้สัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้นเกี่ยวกับ (1) งานถอดประกอบและตรวจสภาพชิ้นส่วนของปั๊มแรงดันต่ า (2) งานบริการหัวฉีด ครูและผู้เรียนช่วยกันสาธิตงานถอดประกอบและตรวจสภาพขิ้นส่นของปั๊มแรงดันต่ า และงานบริการ หัวฉีด เพื่อฝึกทักษะประสบการณ์ผู้เรียน 4.ครูน าผู้เรียนไปศึกษางานตามอู่ซ่อมรถยนต์ หรือกิจการที่ให้บริการเกี่ยวกับงานเครื่องยนต์ดีเซล แล้วสรุปความรู้ที่ได้รับมาจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่ 5.นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม 1. ครูเตรียมความพร้อมนักเรียนในการจัดท าโครงงาน โดยอธิบายถึงหน้าที่และหลักการท างานของ ระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง 2. ครูแจกใบความรู้ที่5.1 การนเขียนโครงงาน พร้อมอธิบายการเขียนโครงงาน 3. ครูน าเสนอแนวคิดการท าสื่อเกี่ยวกับระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง 4. นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 คนศึกษาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรียนรู้ อินเตอร์เน็ต เครื่องยนต์ที่ ใช้งานได้จริง เพื่อเป็นข้อมูลในการก าหนดหัวข้อ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกหัวข้อจากที่ก าหนดไว้เพื่อจัดท าโครงงานสื่อสาธิตระบบฉีดน้ ามัน เชื้อเพลิงเพียงหัวข้อเดียวโดยใช้กระบวนการกลุ่ม 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าหัวข้อที่คัดเลือกไว้มาเขียนเค้าโครงของโครงงานตามแบบฟอร์มที่ก าหนด


7. ครูให้ค าแนะน าชี้แนะและสังเกตการณ์ปฏิบัติงานของนักเรียนทุกกลุ่มอย่างใกล้ชิด 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอโครงงานยของกลุ่มหน้าชั้นเรียนเพื่อนในห้องร่วมซักถามและอภิปราย 9. ครูร่วมอภิปราย สัปดาห์ที่ 10 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (ขั้นที่ 4) ดังนี้ 1. ครูแจกใบความรู้ที่ 5.2 เรื่องการท าสื่อชุดสาธิตพร้อมอธิบายวิธีการรูปแบบการสร้างสื่อ 2. ครูแจกใบความรู้ที่ 5.3 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน การออกแบบเครื่องมือการเก็บรวบรวม ข้อมูล และการน าเสนอผลงาน พร้อมอธิบายให้นักเรียนฟัง 3. แต่ละกลุ่มเขียนรายงานโครงงาน บทที่ 1-3 และออกแบบเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. ครูให้ค าแนะน าชี้แนะ และสังเกตการณ์ปฏิบัติงานของนักเรียนทุกกลุ่มอย่างใกล้ชิด 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอแผนการปฏิบัติงานตามโครงงาน 6. ครูให้ขอเสนอแนะ การประเมินผลงานและนัดหมายแต่ละกลุ่มปฏิบัติงานตามโครงงานการ ประเมินผลโครงงานพร้อมทั้งจัดท ารูปเล่มรายงานและน าเสนอสัปดาห์ที่ 11 สัปดาห์ที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (ขั้นที่ 5 - 6) ดังนี้ 1. ครูชี้แจงการน าเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม 3. ครูให้ขอเสนอแนะและประเมินผลงานโครงงาน กิจกรรมที่ 2 ผู้เรียนบอกขั้นตอนการท างานของวงจรระบบเชื้อเพลิง และการท างานของปั๊มฉีด เชื้อเพลิงแบบเรียงสูบ การท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบจานจ่าย และยกตัวอย่างการใช้เครื่องยนต์ดีเซล อย่างประหยัดน้ ามันในการประกอบอาชีพธุรกิจ โดยเน้นแนวทางการใช้แบบพอเพียง และมีเงื่อนไขคุณธรรม มาคนละ 1 ตัวอย่าง กิจกรรมที่ 3 ผู้เรียนเขียนระบุกิจกรรมงานเครื่องยนต์ดีเซลที่ส าคัญในการประหยัดพลังงานมาคนละ 1 ตัวอย่าง โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง ขั้นสรุปและการประยุกต์ 6.ครูและผู้เรียนสรุปโดยให้ผู้เรียนปฏิบัติการงานบริการกรองน้ ามันเชื้อเพลิง งานบริการปั๊มแรงดันต่ า ตามขั้นตอนที่ได้ศึกษาไปแล้วจากการสาธิตร่วมกับครูผู้สอน พร้อมทั้งประเมินผู้เรียนตามแบบฟอร์ม สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียน วิชางานเครื่องยนต์ดีเซล 2.ใบความรู้ที่ 5.1เรื่องการเขียนโครงงาน 3.ใบความรู้ที่ 5.2เรื่องการท าสื่อชุดสาธิต 4.ใบความรู้ที่ 5.3 เรื่องการเขียนรายงานโครงงาน 5.ใบมอบหมายงานที่ 5.1การท าโครงงานสื่อชุดสาธิตระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง 5.แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.เครื่องมือที่ใช้ในการถอดประกอบ


หลักฐาน 1.บันทึกการสอน 2.ใบเช็ครายชื่อ 3.แผนจัดการเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 5.แบบสังเกตการณ์ปฏิบัติงานการเขียนโครงงาน 6.หลักฐานการปฏิบัติงานแบบส ารวจการปฏิบัติงานและการน าเสนอผลงาน 7.แบบตรวจผลงานรายงานโครงงานสื่อชุดสาธิตระบบฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง การวัดผลและการประเมินผล สมรรถนะประจ าหน่วย/ เกณฑ์ปฏิบัติงาน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือ ผู้ประเมิน 5.1 บริการหัวฉีดและ ปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิง PC. โครงการท าสื่อสาธิต ระบบฉีดเชื้อเพลิง เครื่องยนต์ดีเซล 1.ออกแบบและวางแผน โครงงานสื่อระบบฉีด เชื้อเพลิงได้ 1.สังเกตุการปฏิบัติงาน 2.ตรวจเค้าโครงของ โครงงาน 1.แบบสังเกต 2.แบบประเมินการ เขียนโครงงาน ครู,ผู้เรียน ครู 2. เขียนโครงการสื่อระบบ ฉีดเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล ได้ตามรูปแบบการเขียน โครงการ 1.สังเกตุการปฏิบัติงาน 2.ตรวจเค้าโครงของ โครงงาน 1.แบบสังเกต 2.แบบประเมินการ เขียนโครงงาน ครู,ผู้เรียน ครู 3. ท าสื่อระบบฉีดเชื้อเพลิง เครื่องยนต์ดีเซลได้ 1.ประเมินความก้าวหน้า โครงงาน 2.ตรวจผลการปฏิบัติงาน 3.ประเมินผลโครงงาน 1.แบบสังเกต 2. 4. แสดงพฤติกรรมความมี มนุษยสัมพันธ์ความสนใจใฝ่ รู้ความรับผิดชอบความคิด สร้างสรรค์ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ ความ เป็นประชาธิปไตยและ ห่างไกลยาเสพติด สังเกตุพฤติกรรมการ ปฏิบัติงาน วิธีวัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3 ตรวจกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้


4. ตรวจกิจกรรมใบงาน 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เครื่องมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน ร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. ตอบค าถามในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จึงจะถือว่าผ่าน เกณฑ์การประเมิน มีเกณฑ์ 4 ระดับ คือ 4= ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1= ควร ปรับปรุง 5. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 6. แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ผ่าน 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง กิจกรรมเสนอแนะ 1.ท าใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้ 2.บันทึกรายรับ-รายจ่าย 3.สรุปขั้นตอนงานบริการกรองน้ ามันเชื้อเพลิง งานบริการปั๊มแรงดันต่ า


ใบงาน เรื่อง ระบบฉีดเชื้อเพลิง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.อธิบายระบบฉีดเชื้อเพลิงได้ 2.บอกส่วนประกอบของระบบฉีดเชื้อเพลิงได้ 3.อธิบายการท างานของวงจรระบบเชื้อเพลิงได้ 4.อธิบายการท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรลได้ 5.อธิบายการท างานของปั๊มฉีดเชื้อเพลิงแบบคอมมอนเรลได้ 6.บริการกรองน้ ามันเชื้อเพลิงได้ 7.บริการปั๊มแรงดันต่ าได้ ค าชี้แจง.- ให้ผู้เรียนเขียนสรุปการท าท างานของระบบฉีดเชื้อเพลิงตามรูปภาพข้างล่างนี้ ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... .................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ...................... ........................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... .................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ......................


ใบงาน เรื่อง ระบบฉีดเชื้อเพลิง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 8.ถอดประกอบและตรวจสภาพชิ้นส่วนของปั๊มแรงดันต่ าได้ 9.บริการหัวฉีดได้ 10.ถอดและประกอบปั๊มฉีดเชื้อเพลิงได้ ค าชี้แจง.- ผู้เรียนไปศึกษาดูงานตามอู่ซ่อมรถยนต์ หรือกิจการให้บริการงานเครื่องยนต์ดีเซล แล้ว สรุปสาระส าคัญความรู้ที่ได้มา ได้แก่ 1.1 ชื่อกิจการ สถานที่ 1.2 ความรู้ที่ได้รับจากการดูงานนอกสถานที่ 1.3 การน าไปประยุกต์ใช้ได้อย่างบ้าง 1.4 ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... .............................................................................


10. บันทึกหลังการสอน ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 1. เวลาที่ก าหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ประจ าหน่วยมีความความเหมาะสมเพียงพอหรือไม่ เวลามากเกินไป เวลามีความเหมาะสม เวลาไม่เพียงพอ 2. เนื้อหาสาระมีความเหมาะหรือไม่สมเพียงใด เนื้อหามากเกินไป เนื้อหามีความเหมาะสม เนื้อหาไม่เพียงพอ 3. กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องหรือไม่ กิจกรรมมากเกินไป กิจกรรมมีความเหมาะสม กิจกรรมไม่เพียงพอ 4. สื่อการสอนมีความเหมาะสมตามเนื้อหาในหน่วยการสอนมากน้อยเพียงใด สื่อการสอนดีมีการเรียนรู้ สื่อการสอนไม่มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการเรียนของผู้เรียน 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …….....คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน …......คน 2. คุณลักษณะที่พึงประสงค์(คุณธรรม จริยธรรม) ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......... คน ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน .......คน ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ผลการสอนของครู 1. ท าการสอนตรงตามแผนที่วางไว้มากน้อยเพียงใด สอนตรงตามแผนดีมาก สอนไม่ตรงตามแผน 2. เวลาที่ก าหนดไว้ในการเรียนการสอนของตัวครูผู้สอน สอนตรงตามเวลาที่ก าหนด สอนไม่ตรงตามเวลาที่ก าหนด 3. เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสมหรือไม่ เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนมีความเหมาะสม เนื้อหาที่ก าหนดไว้ในแผนไม่มีความ เหมาะสม ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ....................................................ครูผู้สอน (………………………………………………) ........./.................../...............


แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1,2,3 3,4 5,6 3 มีเหตุผล 1. เลือกใช้น้ ามันหล่อลื่นตาม คุณสมบัติและประเภทของการ หล่อลื่น 2. ตัดสินใจเปลี่ยนไส้กรอง น้ ามันเครื่องตามระยะเวลาที่ ก าหนดในคู่มือ พอประมาณ ภูมิคุ้มกัน 3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม กับงาน 4. แก้ไขข้อขัดข้องของระบบหล่อ ลื่นตรงตามคู่มือ 5.ปฏิบัติงานโดยค านึงถึง ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 6. ไม่น าผลงานของผู้อื่นมา แอบอ้างเป็นของตนเอง ทั้งทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ ความรู้+ ทักษะ คุณธรรม - ซื่อสัตย์ - มีความรับผิดชอบ - มีวินัย ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความ ร้อน - คุณสมบัติและประเภทของการหล่อลื่น - การท างานของปั๊มน้ ามันเครื่อง - การเปลี่ยนไส้กรองน้ ามันเครื่อง - การแก้ไขข้อขัดข้องของระบบหล่อลื่น


1.สาระส าคัญ ระบบหล่อลื่นมีความส าคัญต่อเครื่องยนต์มาก หากการท างานของระบบหล่อลื่นบกพร่อง จะท าให้ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์เสียหาย ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการซ่อมจ านวนมาก จึงจ าเป็นต้องศึกษาวิธีการซ่อม ระบบหล่อลื่น เพื่อให้ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์ดีเซล จะใช้แบบระบายความร้อนด้วยน้ า หากเกิดข้อขัดข้อง เช่น น้ ารั่ว จะท าให้เครื่องยนต์ร้อนจัด เกิดการช ารุดเสียหายได้ จึงควรหมั่นบ ารุงรักษา และซ่อมตามสาเหตุ เครื่องยนต์จะมีอายุการใช้งานยาวนาน 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 2.1 แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์ดีเซลและระบบระบายความร้อน 2.2 เลือกใช้น้ ามันหล่อลื่นตามคุณสมบัติและประเภทของการหล่อลื่นและระบบระบายความร้อน 2.3 ตัดสินใจเปลี่ยนไส้กรองน้ ามันเครื่องตามระยะเวลาที่ก าหนดในคู่มือ 2.4 แก้ไขข้อขัดข้องของระบบหล่อลื่นและระบบระบายความร้อนตรงตามคู่มือ 2.5 เตรียมวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสมกับงาน 2.6 ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 2.7 ไม่น าผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเอง 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1จุดประสงค์ทั่วไป 3.1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบหล่อลื่นและระบบระบายความร้อน เครื่องยนต์ดีเซล 3.1.2 เพื่อให้มีทักษะเกี่ยวกับการเลือกใช้น้ ามันหล่อลื่นตามคุณสมบัติและประเภทของการ หล่อลื่น และแก้ไขข้อขัดข้องของระบบหล่อลื่น 3.1.3 เพื่อให้มีความสามัคคี ซื่อสัตย์ ค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกหน้าที่ของระบบหล่อลื่นและระบบระบายความร้อนเครื่องยนต์ดีเซลได้ 3.2.2 บอกคุณสมบัติและประเภทของการหล่อลื่นและระบบระบายความร้อนได้ 3.2.3 อธิบายการท างานของปั๊มน้ ามันเครื่องได้ 3.2.4 เปลี่ยนไส้กรองน้ ามันเครื่องตามระยะเวลาที่ก าหนดได้ 3.2.5แก้ไขข้อขัดข้องของระบบหล่อลื่นได้ 3.2.6ปฏิบัติงานโดยค านึงถึงความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่4 หน่วยที่4 รหัสวิชา 20101-2002 งานเครื่องยนต์ดีเซล 3 (7) สอนครั้งที่10-12 (64-84) ชื่อหน่วย/เรื่อง ระบบหล่อลื่นและระบบระบายความร้อน จ านวนชั่วโมง 21 ช.ม.


3.2.7ความสามัคคีค านึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติมากกว่าผลประโยชน์ ของตนเอง เนื้อหาสาระ 1.ระบบหล่อลื่น 2.หน้าที่ของน้ ามันหล่อลื่น 3.คุณสมบัติของน้ ามันหล่อลื่น 4.ประเภทของน้ ามันหล่อลื่น 5.ประเภทของระบบน้ ามันหล่อลื่น 6.งานซ่อมและตรวจสอบระบบระบายความร้อน 7.งานซ่อมปั๊มน้ า 8.งานซ่อมปั๊มน้ าแบบถอดประกอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและผู้เรียนอภิปรายถึงระบบหล่อลื่นระบบระบายความร้อน ซึ่งระบบนี้จะปั๊ม น้ ามันหล่อลื่นเข้าไปในชิ้นส่วนทุกชิ้นของเครื่องยนต์ที่มีการเคลื่อนไหว อุปกรณ์หลักสองส่วนที่ต้องใช้ น้ ามันหล่อลื่น คือ 1. ลูกสูบ ที่ต้องเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็วภายในกระบอกสูบ 2. ลูกปืนของเพลา ข้อเหวี่ยง และเพลาลูกเบี้ยวเป็นต้น ปั๊มจะดูดน้ ามันเครื่องผ่านไส้กรองเพื่อกรองเศษโลหะก่อน และจึง อัดน้ ามันหล่อลื่นไปตามช่องว่างต่างๆของลูกปืน และไหลเวียนกลับเข้าสู่อ่างน้ ามัน ปั๊มน้ ามัน ซึ่งมี หน้าที่ดูดน้ าจาหม้อน้ าด้านล่างแล้วส่งไปหล่อเย็นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ เช่น เสื้อสูบ ฝาสูบ เป็น ต้น จากนั้นจะไหลกลับเข้าหม้อน้ าส่วนบนโดยผ่านเทอร์โมสตัต ครูและผู้เรียนสนทนาเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับเครื่องยนต์ เช่น ฝาปิดหม้อน้ า ใครคิดว่าไม่ส าคัญ เพราะระบบแก๊สมันท างานช้าลงไปทุกที น้ าในถังพักยังอยู่ในระดับ Max พอดี แต่ท าไมหม้อต้มแก๊ส ถึงท างานช้า ให้เปิดกระโปรงรถเพื่อดูถังพักน้ ามีหรือไม่ ด้วยความไม่ประมาท ควรจอดรถดับเครื่อง รอให้เครื่องเย็น จึงเปิดฝาหม้อน้ าดู พบว่าน้ าหายจากหม้อน้ า เมื่อพลิกฝาหม้อน้ ามาดูพบว่าประเก็น ยางมันร้าวขาด ท าให้น้ าที่มีแรงดันสามารถเล็ดลอดออกมาได้ การที่ซีลยางที่ฝาหม้อน้ ามันช ารุดขาด เนื่องจากมันเก่ารับใช้เรามาหลายปี ก็ท าให้ระบบหล่อเย็นไม่เป็นระบบปิดอีกต่อไป น้ าก็จะมีจุดเดือด ที่ 100 องศาทันที หลายท่านที่เคยไปกางเต็นท์ตามบนภูเขาจะเห็นว่า น้ าที่ต้มบนยอดดอยท าไมมันถึง เดือดเร็วจัง สาเหตุเกิดจากบนยอดดอยความกดอากาศต่ า ท าให้จุดเดือดของน้ าก็ต่ าไปด้วย ดังนั้น หากเราเข้าใจหลักการนี้ จะเห็นว่า มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากการเพิ่มแรงดันในระบบ เมื่อแรงดัน เพิ่มขึ้นจะท าให้จุดเดือดของน้ าสูงขึ้นด้วย ซึ่งหากเพิ่มความดันเข้าไปในระบบหล่อเย็น 1 ปอนด์ต่ออตารางนิ้ว จะท าให้น้ ามีจุดเดือดสูงขึ้น 1.8 องศาเซนเซียส ดังนั้น ถ้าความดันที่ฝาหม้อน้ าเป็น 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จะท าให้น้ าในหม้อน้ ามีจุดเดือดที่ 127 องศาเซนเซียส พอทราบข้อมูลแบบนี้ก็พยายามหาทางท าให้จุดเดือดของน้ าในหม้อน้ าของตนเองสูงขึ้น โดยเพิ่มฝาหม้อน้ าที่มีแรงดันสูงขึ้นกว่ามาตรฐาน ซึ่งจะท าให้ความดันในระบบมากเกินไปจะมีผลต่อ หม้อน้ า ท่อยาง และข้อต่อต่างๆ จะรั่วได้ง่าย


Click to View FlipBook Version