บันทึกข้อความ ส่วนราชการ วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ที่……......................................…............................วันที่ …1 พฤศจิกายน 2564…. เรื่อง ขออนุญาตส่งแผนการจัดการเรียนรู้ฯ ประจ าภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เรียน ผู้อ านวยการวิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ข้าพเจ้านายสิริสุข พุ่มขจร ต าแหน่ง พนักงานราชการ ได้จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้น สมรรถนะอาชีพบูรณ าการตามหลักปรัชญ าของเศรษฐกิจพอเพียงและคุณ ธรรมฯอันพึงประสงค์ วิชา.งานเครื่องล่างรถยนต์ รหัสวิชา 20101 2003 จ านวน 3 หน่วยกิต จ านวน 7 ชั่วโมง/สัปดาห์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.). สาขางาน.ยานยนต์ สาขาวิชา ช่างยนต์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 บัดนี้ข้าพเจ้าได้ด าเนินการเสร็จเรียบร้อยจึงขออนุญาตด าเนินการตามขั้นตอนและให้ คณะกรรมการผู้เกี่ยวข้องได้พิจารณาตามเอกสารที่แนบมานี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ..............................................ครูผู้สอน (นายสิริสุข พุ่มขจร.) ๑.ความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกวิชา ช่างยนต์ .............................................................................. ลงชื่อ....................................... (.นายสาธิต เสวกจันทร์) ......../........./........ ๒.ความคิดเห็นของหัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร ............................................................................... ลงชื่อ............................................ (นายมนธิชัย เผือกผ่อง.) ......../........./........ ๓.ความคิดเห็นของฝ่ายวิชาการ เห็นสมควรอนุมัติ เห็นควรปรับปรุง ลงชื่อ....................................... (..นายสาธิต เสวกจันทร์.) ......../........./........ ๔.ความคิดเห็นของผู้อ านวยการ อนุมัติ ไม่อนุมัติ ลงชื่อ......................................... (.นายประสิทธิ์ วัชรินทร์พร) ......./........./........
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ บูรณาการคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เรียนระบบปกติ ระบบออนไลน์ รหัสวิชา 20101-2003 วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชีพพุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างยนต์ สาขางาน ยานยนต์ จัดท าโดย นายสิริสุข พุ่มขจร วิทยาลัยการอาชีพหลังสวน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ค าน า แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ รหัสวิชา 20101-2003 หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562 ใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ แบ่งหน่วยการเรียน ออกเป็น 7 หน่วย เพื่อใช้ในการประกอบการเรียน การสอน ดังนั้นจึงเหมาะที่จะน าไปใช้ประกอบการเรียน การสอน ในการนี้ได้น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การมีความพอประมาณ เหตุมีผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัว ซึ่งมีเงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ความรอบคอบ ระมัดระวัง อดทน เพียร เพื่อน าไปสู่สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดี สู่ความก้าวหน้าและความมั่นคง ครูผู้จัดท าแผนการเรียนรู้ มีทั่งความรู้และความอุตสาหะที่ จะท าให้เป็นประโยชน์ส าหรับผู้สอนและนักเรียน แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ผู้สอนสามารถน าไปประกอบการ เรียน การสอน ในห้องเรียน ใช้ส าหรับทบทวน ตลอดจนใช้สรุปเนื้อหาได้ด้วยตนเอง หวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ และ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้ผู้สอนได้ใช้เป็นแนวทางในการประกอบการเรียน การ สอน วิชางานเครื่องล่างรถยนต์ ขอแสดงความขอบคุณหน่วยงานและท่านผู้อ านวยการ ที่มีส่วนร่วมให้แผนการ จัดการเรียนรู้ส าเร็จลุลวงไปด้วยดี ถ้าพบข้อผิดพลาด ประการใดและเห็นสมควรแก้ไขปรับปรุงขอได้โปรด กรุณาเสนอแนะ จักขอบคุณเป็นอย่างยิ่ง สิริสุข พุ่มขจร พ.ศ. 2564
สารบัญ หน้าที่ ค าน า ก ลักษณะรายวิชา เปลี่ยนหน่วยการเรียนเป็นสมรรถนะ 1 ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 2 ก าหนดการสอน 3 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที 2 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที 3 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 7
ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา 20101-2003 วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต (ชั่วโมง) 3 (7) เวลาเรียน 126 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการท างานของระบบเครื่องล่างรถยนต์ 2. เพื่อให้สามารถถอด ประกอบ ตรวจสภาพ ปรับตั้ง บริการและบ ารุงรักษาระบบเครื่องล่างรถยนต์ 3. เพื่อให้มีกิจนิสัยที่ดีในการท างานรับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและ รักษาสภาพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการท างานของระบบเครื่องล่างรถยนต์ 2. ถอด ประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนของระบบเครื่องล่างรถยนต์ตามคู่มือ 3. บริการล้อและยาง ปรับตั้งมุมล้อรถยนต์ตามคู่มือ 4. บ ารุงรักษาระบบเครื่องล่างรถยนต์ตามคู่มือ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการท างานของระบบเครื่องล่างรถยนต์การใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ยกรถ การถอด ประกอบ ตรวจสภาพ ระบบรองรับน้ าหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก อุปกรณ์ลดการสั่นสะเทือนและกันโคลง การบริการล้อและยาง การปรับตั้งมุมล้อการบ ารุงรักษาระบบ เครื่องล่างรถยนต์และประมาณราคาค่าบริการ
รูปแบบการสอน รหัสวิชา 20101-2003 วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ จ านวน 3 หน่วยกิต เวลาเรียน 7 ช.ม./สัปดาห์ เวลาเรียนต่อภาค 126 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย/รายการสอน รูปแบบการสอน ปกติ ออนไลน์ ปรับปรุง 1 ระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ √ 2 ระบบบังคับเลี้ยว √ 3 ระบบเบรก √ 4 ระบบเบรกดรัมและดิสเบรก √ 5 ระบบโช้คอัพ √ 6 การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ √ 7 การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ √
รายการสอน ที่ รายการสอน เวลาเรียน (ชม.) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1 ระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 2 12 14 2 ระบบบังคับเลี้ยว 3 18 21 3 ระบบเบรก 3 18 21 4 ระบบเบรกดรัมและดิสเบรก 3 18 21 5 ระบบโช้คอัพ 2 12 14 6 การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 3 18 21 7 การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2 12 14 รวม 18 108 126
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา รหัสวิชา 20101-2003 วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต (ชั่วโมง) 3 (7) เวลาเรียน 126 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา 1 ระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ ระบบบังคับเลี้ยว ระบบเบรก ระบบเบรกดรัมและดิสเบรก ระบบโช้คอัพ การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการ ท างานของระบบเครื่องล่างรถยนต์ 2. ถอด ประกอบ ตรวจสภาพชิ้นส่วนของระบบ เครื่องล่างรถยนต์ตามคู่มือ 3. บริการโช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับ ความหนืดได้ ปีกนกแบบปรับองศา 4. บริการล้อและยาง ปรับตั้งมุมล้อรถยนต์ตาม คู่มือ 5. บ ารุงรักษาระบบเครื่องล่างรถยนต์ตามคู่มือ 6. น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน การปฏิบัติงาน 7. น านโยบายสถานศึกษา 3D ไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน 8. แส ดงพ ฤติ ก รรมลั กษ ณ ะนิ สั ย คุณ ธ ร รม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อวิชา 9.. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการปฏิบัติงาน 10.. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมี ภูมิคุ้มกัน 11. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและ ความซื่อสัตย์ต่อการถอด-ประกอบชิ้นส่วนของ เครื่องยนต์ 2 3 4 5 6 7
ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัส 20101-2003 วิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3 (7) ระดับชั้น ปวช. สาขาวิชาเครื่องกล สาขางาน ยานยนต์ หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จิตพิสัย เวลา(ชม.) พุทธิพิสัย ความรู้ ความข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า รวม ทักษะพิสัย 1 ระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 1.1 หน้าที่ของระบบรองรับน้ าหนัก 1.2 ระบบรองรับแบบโช๊คอัพค้ าโช๊คอั๊พ แบบ ซับแท้ง และปรับระดับความ หนืดได้ 1.3 อุปกรณ์ระบบรองรับน้ าหนัก ปีก นกแบบปรับองศา และลดการ สั่นสะเทือน 1 1 1 3 7 2 14 2 ระบบบังคับเลี้ยว 2.1 หน้าที่ส่วนประกอบและการ ท างานของระบบบังคับเลี้ยว 2.2 หน้าที่ส่วนประกอบการท างานของ กระปุกเกียร์พวงมาลัย 2.3 งานบริการระบบบังคับเลี้ยว 1 1 1 1 4 7 3 21 3 ระบบเบรก 3.1 หน้าที่ส่วนประกอบและการ ท างานของระบบเบรก 3.2 ข้อขัดข้องของระบบเบรก 3.3 งานถอดประกอบระบบเบรก 1 1 1 1 1 5 7 3 21 4 ระบบเบรกดรัมและดิสเบรก 1. เบรกแบบดรัม 2. เบรกแบบดิสก์ 1 1 2 7 3 21
หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จิตพิสัย เวลา(ชม.) พุทธิพิสัย ความรู้ ความข้าใจ น าไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า รวม ทักษะพิสัย 5 ระบบโช้คอัพ 1.1 หน้าที่ของโช้คอัพ 1.2 ส่วนประกอบของโช้คอัพ 1.3 การตรวจโช้คอัพ 1 1 1 1 4 7 3 14 6 การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 1. การตรวจวัดและปรับตั้งมุมล้อหน้า 2. มุมล้อหน้า 3. การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 4. เครื่องมือตั้งมุมล้อหน้า 1 1 1 1 2 1 7 8 3 21 7 การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 1. การป้องกันและบ ารุงรักษาเครื่อง ล่างรถยนต์ 2. ข้อขัดข้องของระบบรองรับ 3. การตรวจชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น 1 1 1 2 5 7 3 14 รวม 21 9 30 50 20 126
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา 2101-2004 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ จ านวน 3 หน่วยกิต 5ชม./สัปดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้และรายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 1 ระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 1.1 หน้าที่ของระบบรองรับน้ าหนัก 1.2 ระบบรองรับแบบโช๊คอัพค้ า 1.3 อุปกรณ์ระบบรองรับน้ าหนักและลดการ สั่นสะเทือน 1-2 1-14 2 ระบบบังคับเลี้ยว 2.1 หน้าที่ส่วนประกอบและการ ท างานของระบบ บังคับเลี้ยว 2.3 หน้าที่ส่วนประกอบการท างานของกระปุกเกียร์ พวงมาลัย 2.3 งานบริการระบบบังคับเลี้ยว 3-5 15-35 3 ระบบเบรก 3.1 หน้าที่ส่วนประกอบและการท างานของระบบเบรก 3.2 ข้อขัดข้องของระบบเบรก 3.3 งานถอดประกอบระบบเบรก 6-8 36-56 4 ระบบเบรกดรัมและดิสเบรก 1. เบรกแบบดรัม 2. เบรกแบบดิส 9-11 57-77 5 ระบบโช้คอัพ 1.1 หน้าที่ของโช้คอัพ 1.2 ส่วนประกอบของโช้คอัพ 1.3 การตรวจโช้คอัพ 12-13 78-91
หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้และรายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่ 6 การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 1. การตรวจวัดและปรับตั้งมุมล้อหน้า 2. มุมล้อหน้า 3. การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 4. เครื่องมือตั้งมุมล้อหน้า 14-16 92-112 7 การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์3.1 1. การป้องกัน และบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2. การข้อขัดข้องของระบบรองรับ 3. การตรวจชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น 17-18 113-126
แผนผังความคิด การจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 3 3,4 1,2,4 3,4 ระบบรองรับน้ าหนัก เหตุผล พอประมาณ ความรู้+ ทกัษะ ภูมิคุ้มกนั 1. ฟัง พูด อ่าน เขียน ชื่อ ค าศัพท์เทคนิคภาษาอังกฤษ ของส่วนประกอบระบบ ส่งกา ลงัรถยนตต์ามทฤษฎี 2. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของระบบรับน้า หนกัแบบ ต่างๆ อยา่งเหมาะสมตาม หลักการ 3.จดัหาตวัอยา่งรูปภาพรถยนต์1 ภาพ พร้อมอธิบายข้อดี ข้อเสีย ของรถยนต์ ตามประเภทของระบบรองรับน้ าหนัก และเขียนในด้านหลังของกระดาษที่ใช้แล้ว 4. ปฏิบัติงานด้วยความประณีต รอบคอบ ค านึงถึงความปลอดภัยและการรักษา สิ่งแวดลอ้ม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่วนประกอบของระบบรองรับน้ าหนักรถยนต์ ชนิดของระบบรองรับน้ าหนักรถยนต์ โช๊คอั๊พ แบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ ปีก นกแบบปรับองศา ข้อเปรียบเทียบการการขับเคลื่อนล้อหน้า และล้อหลัง แสดงพฤติกรรมความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่ รู้ ความมีวินัย ความมีมนุษยสัมพันธ์ ความสะอาด การรักษาสิ่งแวดลอ้ม ความเป็นประชาธิปไตย และห่างไกลยาเสพติดมีจิตอาสา คุณธรรม
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 1-2 หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย ระบบรองรับน้ าหนัก เวลา 14 ชม. 1. สาระส าคัญ สภาพของผิวถนนย่อมจะไม่เรียบ ด้วยเหตุนี้รถยนต์โดยทั่วไปจึงต้องมีระบบรองรับน้ าหนักซึ่ง เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างตัวถังกับล้อรถยนต์ ระบบรองรับน้ าหนัก โช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความ หนืดได้ ปีกนกแบบปรับองศา จะท าหน้าที่ลดการสั้นสะเทือนด้วย จะต้องน้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ รอบรู้ถือเป็นความ เพียร จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมี ความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมีเหตุผล) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 2. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 3. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 4. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของสปริงโช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความ หนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการรองรับน้ าหนักที่ล้อหลัง 4. เพื่อให้รู้แลเข้าใจเกี่ยวกับการรองรับน้ าหนักที่ล้อหน้า 5. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 6. มีความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อความ เพียร โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงมีเหตุผล) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายเกี่ยวกับหน้าที่ของระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ ได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติของสปริงโช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ปีก นกแบบปรับองศาได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการรองรับน้ าหนักที่ล้อหลังได้ 4. อธิบายเกี่ยวกับการรองรับน้ าหนักที่ล้อหน้าได้ 5. อธิบายการถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ ได้ 6. อภิปรายความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อความ เพียร โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (อย่างมีเหตุผล)
4. เนื้อหาสาระ 1. หน้าที่ของระบบรองรับน้ าหนัก 2. คุณสมบัติของสปริง 2.1. การยืดหยุ่น 2.2. อัตราสปริง 2.3. การเต้นของสปริงโช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ 3. การรองรับน้ าหนักที่ล้อหลัง 3.1. แบบแหนบคู่ขนาน 3.2. แบบ 4 แขนต่อ 3.3. แบบสตรัตปีกนกคู่ 3.4. แบบแขนลากพร้อมคานบิด 3.5. แบบกึ่งแขนลาก 4. การรองรับน้ าหนักที่ล้อหน้า 4.1. แบบแม็กเฟอร์สันสตรัต 4.2. แบบแม็กเฟอร์สันสตรัตที่มีปีกนกล่างรูปตัวแอล 4.3. แบบปีกนกคู่ 4.4. แบบปีกนกคู่ท างานร่วมกับทอร์ชันบาร์ 4.5. แบบแหนบคู่ขนาน 4.5 ปีกนกแบบปรับองศา 5. การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ ที่มีใช้ในปัจจุบัน และให้ นักเรียนแสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆและโช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา 4. แจกใบงานการถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบ ต่างๆ 6. แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อเตรียมปฏิบัติงานตามใบ Job Sheet โช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และ ปรับระดับความหนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา 7. นักเรียนลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนในใบ Job Sheet โช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับ ระดับความหนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ รอบรู้ ถือเป็นความ เพียร จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมีเหตุผล)
ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนวิธีการถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ โช๊คอั๊พ แบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา และตอบค าถามข้อสงสัยในการปฏิบัติงานของกลุ่ม 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 1 เรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบ ต่างๆ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ โช๊คอั๊พแบบ ซับแท้ง และปรับระดับความหนืดได้ปีกนกแบบปรับองศา 4. ห้องเรียนศูนย์การเรียนรู้ ISUZU 5. ใบความรู้เรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 6. ใบงาน การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 7. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 8. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การถอดประกอบระบบรองรับน้ าหนักแบบต่างๆ (60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม เกณฑ์การวัดผลประเมินผล 1. ก าหนดค่าคะแนนตามล าดับความส าคัญของสาระการเรียนรู้ 2. เกณฑ์คะแนนที่ผ่าน 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 80 % 2.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์ผ่าน 60 % 2.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่ กับผู้ประเมินตามสภาพจริง
9. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) Youtube (งานเครื่องล่างรถยนต์)
10. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 3-5 หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย ระบบบังคับเลี้ยว เวลา 21 ชม. 1. สาระส าคัญ/ข้อสรุป ระบบบังคับเลี้ยว เป็นระบบที่จะใช้ให้ผู้ขับขี่สามารถควบคุมรถให้เลื่อนไปในทิศทางที่ต้องการ โครงสร้างของระบบบังคับเลี้ยวที่จะน ามาใช้กับรถโดยทั่วไปจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน และได้น้อมน าแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดยการใช้ความ รอบรู้ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงความพอประมาณ) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 2. ถอด – ประกอบก้านต่อบังคับเลี้ยวอย่างปลอดภัย 3. ถอด – ประกอบกระปุกพวงมาลัยแบบลูกปืนหมุนเวียนอย่างปลอดภัย 4. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์เหมาะสมกับงาน 5. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 3. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 4. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่และความส าคัญของระบบบังคับเลี้ยว 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของก้านต่อบังคับเลี้ยว 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจการถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 2. มีความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงพอประมาณ) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายเกี่ยวกับเกี่ยวกับหน้าที่และความส าคัญของระบบบังคับเลี้ยวได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับส่วนประกอบของก้านต่อบังคับเลี้ยวได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ ได้ 4. อภิปรายความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงพอประมาณ) 4. เนื้อหาสาระ 1. หน้าที่และส่วนส าคัญของระบบบังคับเลี้ยว 2. ส่วนประกอบของก้านต่อบังคับเลี้ยว 3. การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 3.1. การถอดประกอบก้านต่อบังคับเลี้ยว 3.2. การถอดประกอบกระปุกพวงมาลัยแบบลูกปืนหมุนเวียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า
1. ทบทวนเรื่อง การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ ที่ใช้ในปัจจุบัน และให้ นักเรียนแสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 4. แจกใบงานความรู้ ระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดยการใช้ความ รอบรู้ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงความพอประมาณ) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆและตอบค าถามข้อ สงสัยในการปฏิบัติงานของกลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 2 เรื่อง การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่อง ระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 6. ใบงาน การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การถอดประกอบระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่องระบบบังคับเลี้ยวแบบต่างๆ (60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม
8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์) 9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 6-8 หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย ระบบเบรก เวลา 21 ชม. 1. สาระส าคัญ เบรกที่ใช้กับรถยนต์ทั่วไปจะเป็นเบรกแบบไฮดรอลิกส์ ซึ่งจะท างานโดยอาศัยแรงดันของ น้ ามันเบรก เบรกแบบนี้จะให้ความปลอดภัยในการขับขี่ ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามและได้น้อมน าแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ ระมัดระวัง ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมีเหตุผล) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบเบรก 2. ถอด – ประกอบแม่ปั้มเบรกรถยนต์อย่างปลอดภัย 3. ถอด – ประกอบลูกปั้มเบรกรถยนต์ตามเวลาที่ก าหนด 4. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 5. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 6. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเบรกรถยนต์ 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการถอดประกอบแม่ปั้มเบรก 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการถอดประกอบลูกปั้มเบรก 4. มีความ ระมัดระวัง มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงมีเหตุผล) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายเบรกรถยนต์ได้ 2. อธิบายการถอดประกอบแม่ปั้มเบรกรถยนต์ได้ 3. อธิบายการถอดประกอบลูกปั้มเบรกรถยนต์ได้ 4. อภิปรายความ ระมัดระวัง มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงมีเหตุผล) 4. เนื้อหาสาระ 1. เบรกรถยนต์ 2. การถอดประกอบแม่ปั้มเบรกรถยนต์ 3. การถอดประกอบลูกปั้มเบรกรถยนต์ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่อง การถอดระบบเบรกรถยนต์ที่มีในปัจจุบัน และให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน
ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง ระบบเบรกรถยนต์ 4. แจกใบงาน เรื่อง การถอดระบบเบรกรถยนต์ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การถอดระบบเบรกรถยนต์ 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ ระมัดระวัง ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วง มีเหตุผล) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการถอดระบบเบรกรถยนต์ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาการถอดระบบเบรกรถยนต์และตอบค าถามข้อสงสัยในการปฏิบัติงานของ กลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 3 เรื่อง การถอดระบบเบรกรถยนต์ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการถอดระบบเบรกรถยนต์ 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่อง ระบบเบรกรถยนต์ 6. ใบงาน การถอดระบบเบรกรถยนต์ 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การถอดระบบเบรกรถยนต์ 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง ระบบเบรกรถยนต์ 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง ระบบเบรกรถยนต์ (60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์)
9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์หน่วยกิต 3(5) สอนครั้งที่ 9-11 หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย ดรัมเบรกและดิสเบรก เวลา 21 ชม. 1. สาระส าคัญ ระบบห้ามล้อรถยนต์ โดยเฉพาะรถยนต์นั่งหรือรถบรรทุกขนานเล็ก ส่วนมากจะเป็นเบรกแบ บดรัมและดิสเบรก การท างานของเบรกทั้งสองจะมีลักษณะเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่และได้น้อมน าแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีภูมิคุ้มกันในตัว โดยการใช้ความ อดทน ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ สังคม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมีภูมิคุ้มกันในตัว) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับเบรกดรัมและดิสเบรก 2. เปลี่ยนฝักเบรกและตรวจสอบจานเบรดรัมได้ถูกต้อง 3. เปลี่ยนผ้าดิสเบรกและการตรวจสอบดิสเบรกได้ถูกต้อง 4. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์เหมาะสมกับงาน 5. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 6. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 7. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเบรกแบบดรัม 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเบรกแบบดิสเบรก 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการการเปลี่ยนฝักเบรกและตรวจสอบจานเบรดรัม 4. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนผ้าดิสเบรกและการตรวจสอบดิสเบรก 5. มีความ อดทน มีจิตส านึกที่ดีต่อ สังคม โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงมีภูมิคุ้มกันในตัว) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายเบรกแบบดรัมได้ได้ 2. อธิบายเบรกแลลดิสเบรกได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนฝักเบรกและตรวจสอบจานเบรดรัมได้ 4. อธิบายการเปลี่ยนผ้าดิสเบรกและการตรวจสอบดิสเบรกได้ 5. อภิปรายความ อดทน มีจิตส านึกที่ดีต่อ สังคม โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงมีภูมิคุ้มกันในตัว) 4. เนื้อหาสาระ 1. เบรกแบบดรัม 2. เบรกแบบดิส 3. การเปลี่ยนฝักเบรกและตรวจสอบจานเบรดรัม 4. การเปลี่ยนผ้าดิสเบรกและการตรวจสอบดิสเบรก
5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่องการถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก ที่มีในปัจจุบัน และให้นักเรียน แสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 4. แจกใบงาน เรื่อง การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีภูมิคุ้มกันในตัว โดยการใช้ ความ อดทน ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ สังคม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความก้าวหน้า ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมี ภูมิคุ้มกันในตัว) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก และตอบค าถามข้อสงสัยในการปฏิบัติงานของกลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 4 เรื่อง การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 3. สื่อ Power Piont เรื่องการถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่อง ดรัมเบรกและดิสเบรก 6. ใบงาน การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การถอด-ประกอบดรัมเบรกและดิสเบรก 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ
7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง ดรัมเบรกและดิสเบรก (60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์)
9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 12-13 หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย โช้คอั๊พ เวลา 14 ชม. 1. สาระส าคัญ ระบบรองรับน้ าหนัก จะท าหน้าที่ลดการสั้นสะเทือนที่เกิดจากการขับขี่รถยนต์บนพื้นผิวถนน ที่ไม่เรียบจะท าให้เกิดการยืดหยุ่นหรือการยุบตัว โช้กอัพที่ใช้อยู่ทั่วไปมีหลายชนิดและได้น้อมน าแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ รอบคอบ ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมีเหตุผล) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโช้กอัพ 2. ถอด – ติดตั้ง โช้คอัพกับรถยนต์ได้อย่างปลอดภัย 3. ถอดตรวจชิ้นส่วนและประกอบโช้กอัพแบบแม็กเฟอร์สันสตรัตได้ 4. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 5. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 6. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความส าคัญของโช้กอัพ 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบของโช้กอัพ 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการถอดตรวจชิ้นส่วนและประกอบโช้กอัพแบบแม็กเฟอร์สันสต รัต 4. มีความ รอบคอบ มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงมีเหตุผล) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความส าคัญของโช้กอัพได้ 2. อธิบายส่วนประกอบของโช้กอัพได้ 3. อธิบายการถอดตรวจชิ้นส่วนและประกอบโช้กอัพแบบแม็กเฟอร์สันสตรัตได้ 4. อภิปรายความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ เศรษฐกิจ โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงมีเหตุผล) 4. เนื้อหาสาระ 1. ความส าคัญของโช้กอัพ 2. ส่วนประกอบของโช้กอัพ 3. การถอดตรวจชิ้นส่วนและประกอบโช้กอัพแบบแม็กเฟอร์สันสตรัต 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่องการถอดประกอบโช้กอัพ ที่มีในปัจจุบัน และให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน
ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง โช้กอัพ 4. แจกใบงาน เรื่อง การถอดประกอบโช้กอัพ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การถอดประกอบโช้กอัพ 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความมีเหตุผล โดยการใช้ความ รอบคอบ ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ เศรษฐกิจ จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงมี เหตุผล) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการการถอดประกอบโช้กอัพ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการถอดประกอบโช้กอัพ และตอบค าถามข้อสงสัยในการปฏิบัติงานของกลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 5 เรื่อง การถอดประกอบโช้กอัพ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการถอดประกอบโช้กอัพ 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่อง โช้กอัพ 6. ใบงาน การถอดประกอบโช้กอัพ 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง โช้กอัพ 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง โช้กอัพ 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การถอดประกอบโช้กอัพ(60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์)
9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 14-16 หน่วยที่ 6 ชื่อหน่วย การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ เวลา 21 ชม. 1. สาระส าคัญ การขับขี่รถยนต์ ผู้ขับขี่จะต้องบังคับรถยนต์ไปในทิศทางที่ต้องการเพียงแค่หมุนพวงมาลัยรถ เท่านั้น การบังคับทิศทางของรถ และความสะดวกสบาย ได้แก่ มุมล้อหน้า ซึ่งมีความสัมพันธ์กันระหว่างมุม ต่างๆ และได้น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดยการใช้ความ รอบรู้ ถือ เป็นความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงพอประมาณ) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 2. ปรับตั้งมุมล้อหน้าตามค่าที่ก าหนด 3. เตรียมเครื่องมือตั้งมุมล้อหน้าได้ 4. ปรับแก้ไขศูนย์ล้อหน้าและศูนย์ล้อหลังได้ตามค่าที่ก าหนด 5. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 6. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 7. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับมุมล้อหน้า 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือตั้งมุมล้อหน้า 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการปรับแก้ไขศูนย์ล้อหน้าและศูนย์ล้อหลัง 4. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวัดและวิธีการปรับตั้งมุมโท 5. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 6. เพื่อรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจวัดและปรับตั้งมุมล้อหน้า 7. มีความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ ความมั่งคง โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงพอประมาณ) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายมุมล้อหน้าได้ 2. อธิบายเครื่องมือตั้งมุมล้อหน้าได้ 3. อธิบายวิธีการปรับแก้ไขศูนย์ล้อหน้าและศูนย์ล้อหลังได้ 4. อธิบายวิธีการวัดและวิธีการปรับตั้งมุมโทได้ 5. อธิบายการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ได้ 6. อธิบายการตรวจวัดและปรับตั้งมุมล้อหน้าได้ 7. อภิปรายความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ สิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงพอประมาณ) 4. เนื้อหาสาระ 1. มุมล้อหน้า
2. เครื่องมือตั้งมุมล้อหน้า 3. วิธีการปรับแก้ไขศูนย์ล้อหน้าและศูนย์ล้อหลัง 4. วิธีการวัดและวิธีการปรับตั้งมุมโท 5. การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 6. การตรวจวัดและปรับตั้งมุมล้อหน้า 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ที่มีในปัจจุบัน และให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น 2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 4. แจกใบงาน เรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดยการใช้ความ รอบรู้ ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วง พอประมาณ) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับการบริการศูนย์ล้อรถยนต์และตอบค าถามข้อสงสัยในการ ปฏิบัติงานของกลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 6 เรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 6. ใบงานการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์ 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การบริการศูนย์ล้อรถยนต์
2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่องการบริการศูนย์ล้อรถยนต์ (60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์)
9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย รหัสวิชา 20101-2003 ชื่อวิชา งานเครื่องล่างรถยนต์ หน่วยกิต 3(7) สอนครั้งที่ 17-18 หน่วยที่ 7 ชื่อหน่วย การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ เวลา 14 ชม. 1. สาระส าคัญ รถยนต์แบบต่างๆ แม้จะได้ผ่านการออกแบบหรือทดสอบสมรรถนะเป็นอย่างดีแล้วก็ตาม เมื่อ ผ่านการใช้งานไปอีกระยะหนึ่ง ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่างๆ ย่อมช ารุดจ าเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ใช้จะต้องดูแลบ ารุงรักษา ชิ้นส่วนเหล่านั้นให้คงสภาพและได้น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดย การใช้ความ รอบรู้ ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วงพอประมาณ) 2. สมรรถนะประจ าหน่วย 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2. ป้องกันและบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์อย่างถูกต้อง 3. แก้ไขปัญหาข้อขัดข้องของระบบรองรับได้ 4. ตรวจซ่อมบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์อย่างปลอดภัย 5. น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการปฏิบัติงาน 6. มีความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน 7. แสดงพฤติกรรมการมีความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการข้อขัดข้องของระบบรองรับ 3. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น 4. มีความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ ความมั่งคง โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง (ห่วงพอประมาณ) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการป้องกันและบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ได้ 2. อธิบายการข้อขัดข้องของระบบรองรับได้ 3. อธิบายเกี่ยวกับการตรวจชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่นได้ 4. อภิปรายความ รอบรู้มีจิตส านึกที่ดีต่อ สิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (ห่วงพอประมาณ) 4. เนื้อหาสาระ 1. การป้องกันและบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2. การข้อขัดข้องของระบบรองรับ 3. การตรวจชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ทบทวนเรื่องการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ที่มีในปัจจุบัน
2. แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม 3. แจกใบความรู้เรื่องการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 4. แจกใบงาน เรื่อง การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 5. บรรยาย ประกอบ สื่อ Power Piont การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 6. แบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 5-6 คน โดยน าเอานักเรียนที่เรียนเก่ง และเรียนอ่อนเข้าคละกลุ่มในแต่ละกลุ่ม 7. ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามกลุ่มที่รับผิดชอบ 8. น้อมน าแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่อง ความพอประมาณ โดยการใช้ความ รอบรู้ ถือเป็นความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม จะมีผลท าให้ผู้เรียนนั้นมีความมั่งคง ต่อตัวผู้เรียน (ห่วง พอประมาณ) ขั้นวิเคราะห์ 9. ผู้เรียนร่วมน าเสนอขั้นตอนการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 10. ผู้เรียนร่วมสรุปปัญหาที่พบในขณะปฏิบัติงานของแต่ละกลุ่ม ขั้นสรุป 11. ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับ การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์และตอบค าถามข้อสงสัยในการ ปฏิบัติงานของกลุ่ม 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน งานเครื่องล่างรถยนต์ 2. เอกสารประกอบการเรียนหน่วยที่ 7 เรื่อง การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 3. สื่อ Power Piont เรื่องการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 4. ห้องเรียนอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชีพห้วยผึ้ง 5. ใบความรู้เรื่องการบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 6. ใบงาน การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 6. หลักฐาน 1. ชิ้นงาน/ผลงานของผู้เรียน ที่ลงมือปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม 2. แบบทดสอบ เรื่อง การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 7. วัดและประเมินผล 7.1. เครื่องมือประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์ 2. แบบสังเกตพฤติกรรม 3. แบบประเมินรายบุคคล โดยวิธีการปฏิบัติ 7.2. เกณฑ์การประเมิน 1. แบบทดสอบเรื่อง (การบ ารุงรักษาเครื่องล่างรถยนต์60%) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุ่ม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมหรือทบทวนเนื้อหาจาก เว็บไซต์ (www. google.co.th) (งานเครื่องล่างรถยนต์)
9. บันทึกหลังการสอน ข้อสรุปหลังการสอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาที่พบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ปัญหาและ/หรือพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………….. (นายสิริสุข พุ่มขจร) วันที่..................เดือน..................พ.ศ............ บันทึกการตรวจสอบและ/หรือข้อเสนอแนะของหัวหน้าแผนกวิชา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายสาธิต เสวกจันทร์) วันที่..................เดือน..................พ.ศ..........