The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มปลาแห้งท่ายาลอ ได้มีการพัฒนาและยกระดับสินค้าปลาแห้งของชุมชนให้เป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับห้าดาว ซึ่งเป็นสินค้าเชิงเกษตรและอุตสาหกรรมประสมประสานของชุมชนที่สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อุดมไปด้วยอาหารทะเล และมีปลาจำนวนมาก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ahlam.j, 2019-08-22 22:58:06

กลุ่มปลาแห้งท่ายาลอ

กลุ่มปลาแห้งท่ายาลอ ได้มีการพัฒนาและยกระดับสินค้าปลาแห้งของชุมชนให้เป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับห้าดาว ซึ่งเป็นสินค้าเชิงเกษตรและอุตสาหกรรมประสมประสานของชุมชนที่สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อุดมไปด้วยอาหารทะเล และมีปลาจำนวนมาก

Keywords: ปลาแห้ง,OTOP,สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์

สามากูน

กลุ่มปลาแหง้ ทา่ ยาลอ
240/3 ม.4 ต.ตยุ ง อ.หนองจิก จ.ปตั ตานี

กลมุ่ ปลาแห้งท่ายาลอ
240/3 ม.4 ต.ตุยง อ.หนองจกิ จ.ปัตตานี

กลุ่มปลาแห้งท่ายาลอ ได้มีการพัฒนาและยกระดับสินค้าปลาแห้งของชุมชนให้เป็นสินค้าหนึ่งตาบล
หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับห้าดาว ซึ่งเป็นสินค้าเชิงเกษตรและอุตสาหกรรมประสมประสานของชุมชนที่
สามารถยกระดับฐานะความเปน็ อยขู่ องคนในชมุ ชนใหด้ ีขน้ึ โดยการผลติ หรอื จัดการทรัพยากรท่ีมีอย่ใู นท้องถ่ิน
ให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองท่ีสอดคล้องกับวัฒนธรรมในพ้ืนที่อาเภอ
หนองจกิ จังหวดั ปัตตานี ซึ่งเปน็ พน้ื ทที่ อี่ ดุ มไปด้วยอาหารทะเล และมปี ลาจานวนมาก

ปลาแห้งท่ายาลอ ได้ผ่านการถนอมอาหารโดยวิธีตากแห้ง เป็นกระบวนการลดน้าหนักของอาหารทา
ให้อาหารมีน้าหนักเบาขึ้น โดยใช้ตัวกลางทาหน้าที่ถ่ายเท ความร้อนจากบรรยากาศไปสู่อาหารท่ีมคี วามชืน้ อยู่
โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง แล้วรับความชื้นจากอาหารระเหยไปสู่บรรยากาศภายนอกอาหาร ทาให้อาหารมีความชื้น
ลดลงไปเร่ือย ๆ จนในที่สุดแห้งเป็นอาหารแห้ง โดยทั่ว ๆ ไปอากาศจะมีบทบาทสาคัญ ทาหน้าที่เป็นตัวกลาง
ในการถ่ายเทความร้อนและความช้ืนดังกล่าว หลักเกณฑ์การถนอมอาหารตากแห้ง คือ จะต้องลด ยับย้ัง และ
ป้องกันปฏิกิริยาทางเคมีทั้งหลายและการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ทุกชนิด เพ่ือให้ได้อาหารตากแห้งที่เก็บได้
นาน ไม่บูดเน่าเพราะการเจริญเติบโตของจุลินทรยี ์ หรือไม่มีสารเคมีตกค้างเนื่องจากปฏิกิริยาทางเคมีระหวา่ ง
กรรมวิธี เตรียมการผลิตหรือระหว่างการเก็บ เพื่อหยุดปฏิกิริยาเอนไซม์และลดปริมาณแบคทีเรียที่มีอยู่ เป็น
ตน้

ปลาแห้งท่ายาลอ ตรา สามากุลศอฟฟิน มาจากภาษาอาหรับ แปลว่า ปลาสะอาด ซ่ึงผลิตภัณฑ์ของ
กลุ่มปลาแหง้ ท่ายาลอได้ผลติ จากปลาสดและสะอาดจากท้องทะเลลังกาสกุ ะ นามาแปรรปู เพื่อใหผ้ บู้ รโิ ภคได้รับ
ประทานอาหารทีส่ ดสะอาดปรงุ รสแบบเฉพาะพเิ ศษ เหมาะสาหรบั ทุกเพศทุกวัย อีกทั้งมีคุณคา่ ทางโภชนาการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาให้ความสาคัญกับการพัฒนาท้องถ่ินเป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะการพัฒนาและ
ยกระดับสินคา้ หนงึ่ ตาบลหนง่ึ ผลติ ภัณฑ์ (OTOP) ซง่ึ เป็นแนวทางประการหนง่ึ ท่ีจะสรา้ งความเจรญิ แกช่ มุ ชนให้
สามารถยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการ ทรัพยากรท่ีมีอยู่ใน
ท้องถิ่นให้กลายเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ มีจุดเด่น เป็นเอกลักษณ์ของตนเองท่ีสอดคล้องกับวัฒนธรรมในแต่ละ
ท้องถิ่น สามารถจาหน่ายในตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลาได้รวมกบั กลุม่ วสิ าหกิจ
ชุมขนเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนปลาแห้งท่ายาลอ ตาบลตุยง อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ซ่ึงเป็นหนึ่งใน
โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP เพิ่มขับเคลื่อนการพัฒนาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและยั่งยืน โดย
ผา่ นกระบวนการต่าง ๆ ทัง้ ทีข่ ับเคลื่อน โดยกระบวนการพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชนต่าง ๆ นี้ ทาใหส้ ามารถพัฒนา
ผลติ ภณั ฑ์ออกมาจานวนมาก และได้รบั การรับรองคณุ ภาพในระดับตา่ ง ๆ อกี ด้วย

1. กลมุ่ : กลมุ่ ปลาแห้งท่ายาลอ

ข้อมลู ท่ัวไป
- ประธานกลมุ่ ฮาซัน สาและ หมายเลขโทรศพั ท์ : 093-7192472
- จานวนสมาชกิ 50 คน
- ท่ตี งั้ กลมุ่ 240/8 หม่ทู ี่ 4 ตาบลตุยง อาเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี
- ประเภทผลิตภัณฑ์ : อาหาร

มผี ลิตภณั ฑ์ จานวน 3 ผลิตภณั ฑ์ ดงั นี้
1. ปลาผเี สื้อ คือ ปลาถูกแปรรูปโดยการตากแหง้ สามารถเพิม่ คณุ ภาพหรอื ระยะเวลาการ

เกบ็ ไดโ้ ดยการแปรรปู การตากแห้งเนอ้ื หรือปลาจะชว่ ยทาใหเ้ ก็บรกั ษาอาหารได้นานข้ึน

2. ปลากุเลา เปน็ ปลามีเนือ้ เยอะ เน้ือหวาน มัน อร่อย มกี า้ งตรงกลางอยา่ งเดียว สามารถกิน
ได้ตลอดทั้งตัว ในประเทศไทยพบปลากุเลามากทางทะเลภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย ทางจังหวัด สงขลา ปัตตานี และ
นราธิวาส ซึ่งที่อาเภอตากใบ จังหวัดนราธวิ าส น้ัน เป็นอีกหน่ึงแหล่งท่ีมีปลากุเลาชกุ ชุม สาหรับต้นกาเนิดของ
ปลากเุ ลาตากใบน้ัน มาจากชาวจีนโพ้นทะเล (ในอดตี ) ทอี่ พยพมาทามาหากินทตี่ ลาดเจ๊ะเห อาเภอตากใบ เห็น
ว่าท่ีน่ีมีปลากุเลาชุกชุม จึงริเร่ิมทาปลากุเลาเค็มขึ้น เมื่อได้ปลาสดใหม่มา จากน้ันก็จะนาปลามาเข้าสู่
กระบวนการผลิตที่ทาอย่างพิถีพิถันในทุกข้ันตอน ซ่ึงแม้แต่ละเจ้าจะมีสูตรเฉพาะของใครของมัน แต่ก็มี
กระบวนการหลักคล้ายๆ กัน ได้แก่ เม่ือได้ปลาสดใหม่มาแล้วก็จะมาขอดเกล็ด ควักไส้ เครื่องในท้ิง ล้างทา
ความสะอาดให้หมดจด จากน้ันนาไปหมักเกลือ ท่ีเม่ือหมักได้ที่ ก็จะนาไปตากแดด ขณะที่การนาปลาไปตาก
แดดก็ต้องห้อยหัวปลาลงอย่างเดียว เพื่อว่าเวลาโดนแดดจัดๆความร้อนจะทาให้มันปลาไหลเยิ้มออกมาทาให้
ปลามสี ีเหลืองทอง ในการตากปลาชว่ งแรก ๆ นท้ี สี่ ง่ กล่ินแรง (ฉยุ ) ลอ่ แมลงวัน จงึ มีการหอ่ กระดาษปิดป้องหัว
ปลาตัวใหญ่เพ่ือป้องกันแมลงวันมาไข่ สาหรับส่ิงสาคัญอย่างยิ่งยวดในเวลาตากปลาคือ ห้ามปลามีหนอนอย่าง
เดด็ ขาด ถา้ ปลามหี นอนแสดงว่าปลาเสียแล้ว หลายๆ ท่ีจึงนิยมสรา้ งมุ้งใหก้ บั ปลาเวลาตากเพ่อื ป้องกันแมลงวัน
มาไข่ ครั้นเม่อื ตากได้ระยะเวลากาหนดก็เสร็จส้ินนาออกขายได้ ซ่ึงปัจจบุ ันหลายๆ ร้านจะมีผลิตภัณฑ์บรรจุลง
ในกลอ่ งอย่างสวยงามเรยี บร้อย

3. ปลาหวาน คือ แปรรูปอาหารทะเลโดยการแยกเนอ้ื กับกา้ งปลาออกจากกนั หลงั จากน้นั
นาไปลา้ งใหส้ ะอาด แล้วนาไปหมกั เกลอื กบั นา้ ตาล 3-4 ชั่วโมง นาไปตากแดดใหแ้ ห้ง แล้วสามารถนาไปทอดได้
ทันที ปลาหวานจะใช้ปลาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ ปลาข้างเหลือง และปลาหลังเขียว มีคุณสมบัติ เม่ือแปรรูป
เป็นปลาหวานแล้ว เนื้อจะนุ่ม หอม อร่อย หาไม่ได้จากปลาชนิดอ่ืนๆ จุดเด่นของปลาข้างเหลือง และปลา
หลังเขียว อยู่ทีม่ คี ุณค่าทางโภชนาการสูง

มีมาตรฐานการรับรองผลิตภณั ฑ์ จานวน 3 มาตรฐาน ดงั น้ี
1. มาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
2. ฮาลาล
3. องค์อาหารและยา (อ.ย.)

การคัดสรรผลติ ภณั ฑ์
เคยสมัครเข้ารบั การคัดสรรหนง่ึ ตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ OTOP ปัจจุบันเป็นสนิ คา้ OTOP ระดับห้าดาว

ของอาเภอ อกี ทั้งยังเปน็ กลุ่มภาคีเครือข่าย เมืองตน้ แบบ
ความเปน็ มาของผลิตภัณฑ์

1. ประวตั คิ วามเป็นมา
- มีเรือ่ งราวเก่ยี วกบั ตัวผลิตภณั ฑ์ แต่ไม่มีการบันทึก

ขอ้ มูลการสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์
1. ดา้ นการพัฒนาผลติ ภัณฑ์
1.1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์
มีการพัฒนาแนวคิดของกลุ่มและความต้องการของลูกคา้

1.2 การพัฒนารูปแบบบรรจภุ ณั ฑ์
มีบรรจุภัณฑ์ทบ่ี ่งบอกถึงเอกลักษณ์ต่อผลิตภัณฑ์ และมาตรฐานสากลเชงิ การคา้

1.3 รูปแบบผลติ ภัณฑ์ ความโดดเดน่ เฉพาะตวั
มีบรรจุภัณฑ์ที่บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ต่อผลิตภัณฑ์ และมาตรฐานสากลเชิงการค้า ซึ่งได้รับ
การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จาก กรมพัฒนาชุมชน (OTOP นวตั วิถี)

2. ดา้ นการผลิต
2.1 แหล่งทมี่ าของวัตถุดบิ
ใชว้ ัตถุดิบในพน้ื ที่ท้องถ่ินเป็นเอกลกั ษณ์
2.2 อตั ราการผลิต
จะผลิตตามความต้องการของลูกค้า และจะมกี ารผลิตสนิ ค้าทกุ วัน แต่ถ้าความตอ้ งการของ
ลกู ค้าเพม่ิ ขึ้นทางกล่มุ สามารถทาผลติ ผลติ ภัณฑ์ตามความตอ้ งการของลูกคา้ ได้
2.3 ต้นทุนการผลติ
ต้นทุนการผลติ ข้นึ อยกู่ ับวัตถดุ บิ และความต้องการของกลมุ่ ลกู ค้า
2.4 ศกั ยภาพการผลิต
สามารถทาผลิตภัณฑ์ได้ตามส่งั ซ้ือท้งั คุณภาพและได้จานวนปริมาณมาก

3. ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด
3.1 แหล่งจาหนา่ ยหลักของสินค้า
- กลุ่มลูกค้าจากจังหวัดนราธิวาส สุไหงโกลก ปะนาเระ ตอนนี้กาลังจะขยายตลาดไปยัง
รา้ นอาหารในประเทศมาเลเซีย 200 ร้านคา้
3.2 รายไดใ้ นการจดั จาหนา่ ยสินค้า เมือ่ เทยี บกบั ปที ่ีผ่าน
รายได้เม่อื เทยี บกบั ปีที่ผา่ น เพิ่มขน้ึ เรอ่ื ยๆ
3.3 ความต่อเน่ืองของตลาด
มีความต่อเน่ืองของตลาด โดยมีการจาหน่ายให้กับร้านค้าในพ้ืนท่ีและนอกพื้นท่ีจานวน 30
ร้าน และมจี าหนา่ ยนอกพน้ื ท่ตี า่ งจงั หวดั ทวั่ ประเทศ

4. ด้านกระบวนการผลติ และเทคโนโลยใี นการผลิต
4.1 เทคโนโลยใี นการผลิต
มี Facebook ของทางร้าน/เพจทางรา้ น เป็นช่องทางในการคา้ ขาย

สามารถตดิ ต่อได้ทางเพจ https://www.facebook.com/Suyahwala/
4.2 ปรมิ าณการผลติ และได้คุณภาพที่คงเดมิ

สามารถผลิตในปรมิ าณมากคุณภาพคงเดมิ
4.3 ภมู ปิ ัญญา ความคิดสรา้ งสรรค์ ทักษะฝมี อื ในการผลติ

ภูมิปัญญาหลักในการผลิตจานาวัตถุดิบมากจากในพื้น 80 % แต่ปัจจุบันวัตถุดิบไม่เพียงพอ
ต่อความต้องการของลูกค้า จึงจาเป็นต้องสั่งวัตถุดิบมาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดชุมพร และท่ี
อ่ืนๆ

5. ดา้ นความเขม้ แข็งของกลุ่ม
5.1 ระยะเวลาในการจัดตั้งกลุ่ม
- จดั ตั้งกลมุ่ เม่ือปี พ.ศ. 2545
5.2 การมสี ว่ นรว่ มระหว่างกลุ่มกับชุมชน
- การมีส่วนร่วมระหวา่ งกลมุ่ กับชุมชนไดร้ ับการมีสว่ นรว่ มเป็นยา่ ง
5.3 แหล่งงบประมาณในการสนบั สนุนกลุ่ม
- แหลง่ งบประมาณสนบั สนุนจากหนว่ ยงานรฐั ไดแ้ ก่ กรมพัฒนาชมุ ชน (OTOP นวตั วิถี)

และ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา
5.4 การจดั ทาบัญชี
- มกี ารทาบญั ชรี ายรับ
– รายจ่ายแบบงา่ ย

ขอ้ มูลปัญหาและความต้องการในการพฒั นา
1. ปัญหา
- ยงั ไมม่ ตี ลาดต่างประเทศ
- เกล็ดปลาทีส่ ดอยากใหช้ ว่ ยพัฒนาการแปรรูป
- ยงั ไม่มโี รงน้าแขง็ เป็นของตนเอง
2. ความต้องการในการพฒั นา
- มีความต้องการในเร่ืองของการตลาดตา่ งประเทศ
- มคี วามตอ้ งการแปรรูปปลาสดๆ
- มคี วามตอ้ งการเพ่ิมโรงน้าแข็งเปน็ ของตนเอง

รปู ถา่ ย
1. ทางเขา้ โรงเรอื น

2. ประธานกลุ่ม

3. ผลิตภณั ฑ์

4. โรงเรอื น/กระบวนการผลติ

จัดทาโดย
นางสาวอะหล์ าม เจเตะ

ตาแหนง่ บรรณารักษ์
งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
สานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา


Click to View FlipBook Version