The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1.โลกเปลี่ยน_คนปรับ ความพอเพียงในโลกหลังโควิด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ahlam.j, 2020-05-28 00:49:28

โลกเปลี่ยน_คนปรับ ความพอเพียงในโลกหลังโควิด

1.โลกเปลี่ยน_คนปรับ ความพอเพียงในโลกหลังโควิด

Keywords: โควิด

คำนำ

“When Patterns are Broken, New Worlds Emerge”
Tuli Kupferberg

“โลกหลงั โควดิ -19” จะเปน็ โลกทมี่ กี ารพลกิ โฉมครง้ั ใหญ่ เปน็ การปรบั เปล่ยี นทง้ั เชิงโครงสร้างและ
พฤตกิ รรมแบบ “ภำคบงั คบั ” ก่อให้เกิดโลกที่ผู้คนตอ้ งอิงอาศยั กันมากขึน้ การกระทาของบคุ คลหน่ึง ย่อม
ส่งผลกระทบได้ทัง้ ทางบวกและทางลบตอ่ ผู้อ่นื ไมม่ ากก็นอ้ ย จนอาจกลา่ วได้ว่า “จำกนไ้ี ป ผคู้ นในโลก สขุ กจ็ ะ
สขุ ด้วยกนั ทุกขก์ จ็ ะทุกขด์ ว้ ยกนั ”

พวกเรากาลงั ดารงชวี ติ อยใู่ น “โลกทไี่ รส้ มดลุ ” ความไรส้ มดลุ ในสภาวะท่พี วกเราตอ้ งองิ อาศัยกนั มาก
ขน้ึ เป็นปฐมบทของความไรเ้ สถยี รภาพ ความไมม่ น่ั คงปลอดภยั และความขัดแยง้ ทร่ี ุนแรง ท่ีสะทอ้ นผ่านความ
เสี่ยงและภัยคกุ คาม จนกระทงั่ ก่อเกดิ เป็นวกิ ฤตโลกในทีส่ ุด

มีผรู้ ู้กลา่ วไวว้ ่า “You can’t stop the waves but you can learn to surf.” เราหยดุ คลน่ื ไมไ่ ด้
แตเ่ ราสามารถเรยี นรู้การโตค้ ล่ืนได้ ดงั นน้ั หากต้องการใหค้ วามเปน็ ปกตสิ ุขกลบั คนื มาในโลกหลงั โควดิ -19
พวกเราต้องคืนความสมดุลใหก้ ับโลกธรรมชาติ ปรับสมดุลในปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับมนษุ ย์ พรอ้ ม ๆ กบั
ลดทอนการบริโภค การผลติ การแข่งขัน การใชท้ รพั ยากร จากน้ไี ปเวลาจะทาอะไรตอ้ งคดิ ใหล้ ่มุ ลึกและแหลม
คมมากขน้ึ มองออกไปในมติ ิท่ีกว้างขึ้นและยาวขึ้น ท่ีสาคญั คดิ เพอ่ื สว่ นรวมและคิดเผื่อคนรนุ่ หลังดว้ ย

ไมว่ ่าหลงั โควดิ -19 เราจะกลบั ไปใชช้ ีวิตอยู่ใน “โลกใบเดิม” หรอื “โลกใบใหม่” การเตรียมความ
พร้อม มีภูมคิ ุ้มกัน รู้เทา่ ทัน ใชป้ ญั ญา มเี หตุผล รู้จักความพอดี ความพอประมาณ ความลงตัว คุณลักษณะ
เหล่านี้เมอื่ ประกอบกันเพยี งพอท่ีจะนาพาพวกเรา ครอบครัวของเรา องคก์ รของเรา ประเทศของเรา และโลก
ของเราฝ่าฟนั อุปสรรค กา้ วข้ามวกิ ฤต และดารงชีวติ อยู่ได้อย่างปกติสุขอยา่ งแนน่ อน

ทสี่ าคัญ คุณลักษณะที่กล่าวมาทัง้ หมดขา้ งตน้ หาใชส่ ่งิ แปลกใหมท่ ถ่ี กู พฒั นาขนึ้ เพื่อรับมอื กบั วกิ ฤตใน
โลกปัจจบุ ัน แต่ ปัญญา ภมู ิคมุ้ กนั ความพอดี ความพอประมาณ และความลงตวั เปน็ หัวใจสาคญั ท่อี ย่ใู น
“ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทใ่ี นหลวงล้นเกลา้ รชั กาลท่ี 9 ของเราทรงคดิ คน้ ขน้ึ มากวา่ สามทศวรรษแลว้

ดังนัน้ ขอเพยี งแต่พวกเราตง้ั สติ มีความมุง่ มั่นตงั้ ใจ ใช้ปัญญาทาความเข้าใจให้ลกึ ซึ้ง และน้อมนา
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปฏิบตั ิอย่างจริงจัง ก็จะก่อเกดิ ชีวิตทีเ่ ปน็ ปกติสขุ และการพฒั นาท่ยี ่ังยนื
ท่ามกลางกระแสวกิ ฤตอนั เชยี่ วกรากในโลกทพ่ี วกเราตอ้ งเผชิญอยูเ่ ฉกเชน่ ในปัจจบุ นั

สวุ ทิ ย์ เมษนิ ทรยี ์
24 เมษำยน 2563

สำรบญั

 7 รอยปริ ปั่นป่วนโลก…………..………………………………...………………..1
 7 ขยับ ปรบั เปล่ยี นโลก……………………………………….………...…….…...7
 เหลยี วหลงั แลหนำ้ ประเทศไทยในระยะเปลยี่ นผำ่ น………………...14
 ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กับยทุ ธศำสตรก์ ำรพฒั นำทยี่ ง่ั ยนื

ในโลกหลงั โควดิ ….......................................................................... ..16
 พลวตั โลกหลังโควดิ ………………………………………………………………..24

7 รอยปริ ปนั่ ป่วนโลก
(7 Systemic Divides)

“ไม่ใช่ผู้ทแี่ ข็งแ กรง่ หรอื ฉลำดทส่ี ุดที่จะอยรู่ อด
แ ต่คอื ผ้ทู ่รี จู้ ักปรบั ตัวเขำ้ กบั ควำมเปลี่ยนแ ปลงได้ดีทสี่ ุดจึงจะรอด ”

ชำลส์ ดำรว์ นิ

หน่งึ โลก หน่งึ ชะตำกรรมร่วม (One World, One Destiny)

ควบคูไ่ ปกับกระแส “โลกาภวิ ตั น์ทางด้านเศรษฐกจิ ” ทกี่ อ่ ให้เกิดการเคล่อื นไหลอยา่ งเสรขี องทุน
สินค้า บริการ รวมถงึ ผู้คน พวกเรากาลงั เผชิญกับกระแส “โลกาภิวัตนข์ องความเสย่ี งและภยั คกุ คาม” หลาย
ความเส่ียงและภัยคกุ คามได้ยกระดับจาก Local2Local ไปสู่ Global2Global ซงึ่ ส่งผลกระทบในวงกวา้ งกบั
ประชาคมโลก ไมว่ ่าจะเป็นปญั หาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ วิกฤตเศรษฐกจิ รวมไปถงึ โรคโควดิ -19 ท่ี
พวกเราเผชญิ อยใู่ นปจั จบุ ัน อาจกล่าวไดว้ า่ โลกาภวิ ัตนท์ างเศรษฐกิจ กอ่ ให้เกดิ “หนง่ึ โลก หนงึ่ ตลำด” (One
World, One Market) พรอ้ ม ๆ กนั นัน้ โลกาภวิ ัตน์ของความเส่ยี งและภัยคุกคาม ได้ก่อให้เกิด “หนง่ึ โลก
หน่งึ ชะตำกรรมร่วม” (One World, One Destiny)

หน่งึ โลก หน่งึ ชะตำกรรมร่วม

1

พวกเรากาลังเผชิญกับ “วิกฤตซำ้ ซำก” ทเี่ กดิ ข้ึนระลอกแลว้ ระลอกเลา่ ตงั้ แต่ “วกิ ฤตตม้ ยากุ้ง” ที่
เริม่ ตน้ ท่ปี ระเทศไทย ในปี ค.ศ. 1997 มาจนถึง การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี ค.ศ. 2019 บางวิกฤต
เป็น “วิกฤตเชงิ ซอ้ น” ท่ีหลายวกิ ฤตได้กระหน่าซ้าเติมในเวลาเดยี วกัน อยา่ งในกรณีของประเทศไทยที่ประสบ
ปัญหาโรคโควดิ -19 แลว้ ยงั ตอ้ งเผชิญกบั ปญั หาภัยแลง้ และการฟื้นฟูเศรษฐกจิ หลงั วกิ ฤตโควิดที่กาลังจะเกดิ ขน้ึ
ตามมา

วกิ ฤตซำ้ ซำก

จะอยูอ่ ย่ำงไรท่ำมกลำง หน่งึ โลก หน่งึ ชะตำกรรมรว่ ม

ภายใตว้ กิ ฤตซ้าซากและวิกฤตเชงิ ซอ้ นที่เกิดขึ้น เราจะสามารถเขา้ ถงึ รากเหงา้ สาเหตุ กลไก หรือ ตวั
ขบั เคลื่อนการเปลี่ยนแปลงนไี้ ดอ้ ยา่ งไร

ในบรบิ ทของการกาหนดนโยบายและการบรหิ ารจดั การ การรับทราบเพียง “เหตกุ ำรณ์” (Events)
(อย่างเชน่ การเผชิญกบั วิกฤตในท่นี ้ี) อาจเพียงพอในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า แต่ไมเ่ พยี งพอในการ
คาดการณก์ ารเปลี่ยนแปลงท่จี ะเกดิ ขึ้นในอนาคต

เราอาจต้องการข้อมลู ทีส่ ามารถแสดง “รูปแบบ” หรือ “แ นวโน้ม” (Patterns / Trends) เพ่ือ
คาดการณก์ ารเปลยี่ นแปลงทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต แตโ่ ลกหลงั โควดิ เปน็ โลกที่เต็มไปด้วยความไมแ่ นน่ อนและ
ความซบั ซ้อนที่มากข้ึนเร่อื ย ๆ การรับทราบถึงรูปแบบหรอื แนวโน้มของเหตุการณน์ ัน้ ๆ ( อย่างเชน่ การ
เทยี บเคียงรปู แบบของโรคโควิด-19 กบั โรค SARS ในอดตี ) ก็อาจไม่เพยี งพอเช่นกนั การเปล่ยี นแปลงอย่าง
ฉบั พลนั (Disruptive Change) ไมว่ ่าจะมาจากมิตทิ างด้านเทคโนโลยี นวตั กรรม โมเดลธรุ กจิ การเปล่ียนแปลง
พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค หรอื รปู แบบการแข่งขนั ใหม่ ๆ ทาให้แบบจาลองของรปู แบบหรอื แนวโนม้ ท่พี ฒั นาขน้ึ มานน้ั
มีความคลาดเคลือ่ น มขี ้อจากัด สามารถใช้งานได้กบั บางเงื่อนไขหรือบางบรบิ ทเทา่ นัน้ หรอื อาจจะใช้งานไมไ่ ด้
เลยในบางกรณี

2

ในสถานการณ์ดังกลา่ ว เราจาเปน็ ตอ้ งหย่ังรถู้ ึง “โครงสรำ้ งเชงิ ระบบ” (Systemic Structure) ท่ี
สามารถแสดงกลไกความสมั พนั ธข์ องตวั แปรต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ มิเพยี งเท่าน้ัน ในสถานการณท์ ่ีปฏสิ มั พนั ธ์
มีความซับซ้อนและมคี วามไมแ่ น่นอนในระดับสงู (อยา่ งเช่นโลกหลงั โควิด) เราอาจจะต้องหยง่ั รู้ถงึ “ควำมคดิ
ฐำนรำก” (Mental Model) ทเ่ี ปน็ ตัวกาหนดโครงสรา้ ง กฎเกณฑ์ รูปแบบ ตวั ขับเคล่อื น และผลลพั ธ์ของ
ปฏิสมั พนั ธ์ในเร่ือง ๆ นั้น

การเข้าถึงความคดิ ฐานราก จะทาใหเ้ ราเข้าใจกระบวนทศั น์ (Paradigm) ทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ
ทาใ หเ้ ราเข้าใจกฎบญั ญตั ิ (Rule of the Game) ที่เปน็ ฐานรากกาหนดทม่ี าทไี่ ป หรือจุดเปน็ จุดตายของ
เหตุการณน์ ั้น ๆ อนั นามาสู่การขับเคล่อื นการเปลย่ี นแปลง

เข้ำใจ เข้ำถึง ภำวะปกตใิ หม่ (New Normal)

วิกฤตซำ้ ซำก และ วิกฤตเชงิ ซอ้ น ได้กลายเปน็ “ภำวะปกตใิ หม่” เพอ่ื ให้พวกเราสามารถหลดุ พน้
จากวกิ ฤตซ้าซากและวิกฤตเชิงซอ้ น เราจาเปน็ ต้องพจิ ารณาหยัง่ ลกึ ถงึ รากเหง้าของปัญหาที่เปน็ เสมอื นกน้ ของ
ภเู ขาน้าแขง็ “กระบวนทศั นก์ ำรพฒั นำทม่ี ุ่งสคู่ วำมทนั สมยั ” (Modernism) ท่ใี ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั นนั้ ต้ังอยบู่ น
ความคิดฐานรากของ “ตวั กูของกู” (Ego-Centric Mental Model) ท่ีเปน็ ปฐมบทกอ่ ใหเ้ กดิ “รอยปรใิ น
ระบบ” (Systemic Divides) รอยปริในระบบดังกล่าวไดน้ าพาไปสู่ “โลกทไ่ี รส้ มดุล” (Global Imbalance)
ทัง้ ระหว่างมนุษยก์ บั มนษุ ย์ (ซ่ึงกลายเป็นประเดน็ ปญั หาความเหลอื่ มลา้ ) และระหวา่ งมนษุ ยก์ บั ธรรมชาติ (ซง่ึ
กลายเปน็ ประเดน็ ปญั หาความไม่ยงั่ ยืน) โลกท่ีไร้สมดลุ สง่ ผลใหเ้ กดิ โลกแหง่ ควำมเสย่ี งและภยั คกุ คำม และ
นาพาไปสู่วกิ ฤตซำ้ ซำกและวกิ ฤตเชงิ ซ้อน ทไี่ ดก้ ลายมาเป็น “ภำวะปกติใหม่” ในโลกปัจจบุ นั

ในโลกท่ีมุง่ พฒั นำส่คู วำมทันสมัย

3

ถงึ เวลาต้องกลบั มาทบทวนวา่ “กระบวนทศั นก์ ำรพัฒนำทมี่ ุ่งสคู่ วำมทนั สมยั ” ยงั สามารถตอบโจทย์
โ ลกหลังโควดิ หรือไม่ เรากาลังดารงชวี ิตอยบู่ นโลกใบนด้ี ้วยสมมติฐานที่ถกู ต้องหรอื ไม่ สมมติฐานใน
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับมนษุ ยภ์ ายใต้ความคิดฐานรากของ “ตัวกขู องก”ู นั้นมองว่ามนษุ ยม์ ขี อ้ บกพรอ่ ง
ไ ม่น่าไวใ้ จ มนุษย์มีพฤติกรรมท่ีมีเหตมุ ีผลตามหลักเศรษฐศาสตร์ มนุษย์โดยปกติจะเรียกร้องปกปอ้ ง
ผลประโยชน์ของตัวเอง ดังนน้ั ทุกคนตอ้ งแขง่ ขนั กนั จงึ จะอยู่รอด

มิเพียงเท่านั้น ภายใต้ความคดิ ฐานรากของ “ตัวกูของกู” ยังมสี มมตฐิ านในความสัมพันธ์ระหวา่ ง
มนษุ ยก์ ับธรรมชาติ โดยมองธรรมชาติเปน็ เพียงทรพั ยากรที่สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ หม้ ากท่สี ดุ เชอื่ มนั่ ใน
อานาจของมนุษย์ จึงมุง่ เอาชนะธรรมชาติดว้ ยเทคโนโลยแี ละการจดั การ รวมถงึ ความคดิ ทจี่ ะตกั ตวงประโยชน์
จากสว่ นรวมใหม้ ากท่ีสดุ

สมมติฐำนภำยใตฐ้ ำนคดิ “ตัวกขู องกู”

สมมตฐิ านท่ีไมถ่ ูกตอ้ งในความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั มนษุ ย์ และมนษุ ยก์ บั ธรรมชาติ เป็นปฐมบท
ของการเกดิ “7 รอยปริในระบบ (Systemic Divides)” ท่ปี น่ั ป่วนโลกของเราอยู่ในขณะนี้

7 รอยปรใิ นระบบ ประกอบไปด้วย

1. ค วำมไรส้ มดลุ ระหว่ำง ควำมมัง่ คงั่ ทำงเศรษฐกจิ ควำมอยดู่ ีมสี ขุ ทำงสงั คม ควำมย่ังยนื ของ
ธรรมชำติแ ละภมู ิปญั ญำของมนษุ ย์ เรามงุ่ เนน้ แต่การเติบโตทางเศรษฐกจิ จนเกดิ ผลกระทบทไี่ มพ่ งึ
ประสงค์ตา่ ง ๆ ตามมามากมาย

2. เศรษฐกจิ กำรเงนิ ทค่ี รอบงำเศรษฐกจิ ทแ่ี ทจ้ รงิ เราสนใจแตต่ ัวเลขในบญั ชี ผลประกอบการ ราคาหนุ้
ในตลาด ถูกครอบงาและบิดเบือนด้วยการสร้างราคาและการเก็งกาไรของผเู้ ลน่ รายใหญใ่ นตลาดเงนิ
และตลาดทุนโลก จนมองข้ามศกั ยภาพและพลังจากภาคส่วนในระบบเศรษฐกิจท่แี ท้จริง

4

3. ควำมตอ้ งกำรอยำ่ งไมส่ นิ้ สดุ ของมนษุ ย์ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ทรพั ยำกรทม่ี ีอยจู่ ำกดั ในโลกใบน้ี เราใช้
ประโยชน์จากโลกใบนี้เพอื่ ตวั เองมากจนเกินไป จนเกดิ การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศ เกิดโรค
ระบาดและภยั คกุ คามตา่ ง ๆ ลามไปท่วั โลก

4. ผคู้ รอบครองทรพั ยำกร กับ ผตู้ ้องกำรใชท้ รพั ยำกร ไมใ่ ชค่ นกลมุ่ เดยี วกนั มีการกระจุกตัวของการ
ครอบครองและเขา้ ถงึ ทรพั ยากร ทาให้เกิดสภาวะ “รวยกระจุก จนกระจาย”

5. ควำมเหลอื่ มลำ้ ของรำยได้สินทรพั ย์ แ ละโอกำส ระหวำ่ ง “คนมแี ละคนได้” กบั “คนไรแ้ ละคน
ด้อย” เรากาลังอย่ใู นโลกท่ี “Overserved Wants” คนรา่ รวย ในขณะท่ี “Underserved Needs”
คนยากจน

6. ดำบสองคมของเทคโนโลยใี นกำรตอบโจทยค์ วำมตอ้ งกำรทแี่ ทจ้ รงิ ของมนษุ ย์ การพัฒนาเทคโนโลยี
ท่ีมงุ่ เน้นการตอบโจทย์ผลประโยชนข์ องมนุษยน์ ามาสูก่ ารทาลายธรรมชาติ จนส่งผลกระทบต่างๆ
มากมาย มิเพียงเท่าน้ัน หากไมส่ ามารถพฒั นาทุนมนษุ ย์ทเี่ พียงพอ มนุษย์อาจจะถกู เทคโนโลยี
ครอบงาหรอื ทดแทน อยา่ งในกรณกี ารขบกนั ของปญั ญามนษุ ย์กบั ปญั ญาประดษิ ฐ์

7. ควำมไมไ่ ว้วำงใจซง่ึ กนั และกนั สำมเสำ้ ระหว่ำง รัฐ เอกชน กับ ประชำสงั คม ถ้าหากรฐั กบั เอกชน
จับมือกนั กจ็ ะทาให้ภาคประชาสงั คมออ่ นแอลง ถา้ เอกชนกับสงั คมจับมือกันก็จะกอ่ ใหเ้ กิดรฐั ทไ่ี ม่
เขม้ แขง็ ดังนน้ั ความไมไ่ ว้วางใจกันแมเ้ พยี งภาคสว่ นใดภาคสว่ นหน่งึ กจ็ ะทาให้เกิดรอยปริอนั เป็น
อุปสรรคในการพฒั นาท่ยี ่งั ยืนขึ้นได้

7 รอยปริ ปนั่ ป่วนโลก

5

ทีผ่ ่านมาเราไมเ่ คยคดิ เขา้ ไปแก้ไข เชอื่ มประสานทงั้ 7 รอยปริในระบบอย่างจรงิ จัง จนทาให้เกดิ โลกท่ี
ไร้สมดุล เกดิ ความเสยี่ งและภัยคุกคาม จนกอ่ ตัวเป็นวิกฤตซา้ ซากและวกิ ฤตเชงิ ซ้อนในท่สี ดุ

7 ตรำบำปหลงั โควดิ (Post-COVID Deadly Sins)

ควบคู่ไปกับ “7 รอยปรใิ นระบบ” พวกเรากาลังเผชิญกับ “7 ตรำบำปหลงั โควดิ ” ซงึ่ หากไมส่ ามารถ
หลุดพ้นจากตราบาปเหล่านี้ โอกาสทจ่ี ะนาพาประเทศและประชาคมโลกไปส่กู ารพฒั นาทีย่ ่งั ยนื จะเป็นไปได้
ยาก

7 ตรำบำปหลังโควิด ไดแ้ ก่
1. ไมม่ ีสนั ตภิ ำพในโลกอยำ่ งถำวร หำกผคู้ นยงั ไรซ้ ่งึ ควำมมน่ั คงปลอดภัยในชีวิตแ ละทรพั ยส์ นิ
2. ไม่มที นุ นยิ มท่ยี งั่ ยืน หำกไมม่ ีกำรพัฒนำทนุ มนุษย์อยำ่ งเปน็ รปู ธรรม
3. ควำมรำ่ รวยทำงวัตถุจะไร้ประโยชน์ หำกปรำศจำกซึ่งควำมรุม่ รวยทำงจิตใจ
4. งำนทท่ี ำจะไร้ประโยชน์ หำกขำดซึ่งนยั แ ห่งควำมหมำย
5. มีผลประกอบกำรทด่ี กี ็ไรค้ ำ่ หำกไมส่ ำมำรถเป็นผูป้ ระกอบกำรท่ดี ไี ด้
6. จะเพรียกหำเจตจำนงร่วมจำกทใี่ ด หำกไม่คดิ เปดิ พื้นทีใ่ หร้ ่วมอย่ำงจรงิ ใจ
7. อยำ่ หวงั กำรมสี ่วนรว่ มอย่ำงจรงิ จงั หำกปรำศจำกกำรเปดิ หู เปิดตำ แ ละเปดิ ใจ

6

7 ขยับ ปรบั เปล่ยี นโลก
(7 Major Shifts)

หากมองวิกฤตเปน็ โอกาส โ รคโควิด-19 อาจเปน็ สิง่ นาโชคในสถานการณ์ทเ่ี ลวร้าย (Blessing in
Disguise) ท่ีเปดิ โอกาสให้โลกเกิดการเปลยี่ นแปลงคร้งั ใหญ่ จาก “โลกทไ่ี ม่พึงประสงค”์ เป็น “โลกทพี่ งึ
ประสงค”์ การเปลย่ี นแปลงดงั กล่าวจะเกิดขน้ึ ได้กด็ ว้ ย การปรับกระบวนทัศนก์ ารพฒั นา จาก “โลกทมี่ งุ่
พัฒนำส่คู วำมทนั สมัย” (Modernism) เป็น “โลกทมี่ ุ่งพัฒนำสคู่ วำมยงั่ ยนื ” (Sustainism) เริม่ จากการ
เปลี่ยนความคดิ ฐานรากเดมิ ท่ยี ดึ “ตัวกูของกู” เปน็ ความคิดฐานรากท่เี นน้ “การผนึกกาลงั รว่ ม” เมอ่ื ความคดิ
ฐานรากเปล่ยี น โครงสร้างเชงิ ระบบก็จะถูกปรบั ความคดิ ฐานรากทถี่ กู ตอ้ งภายใตก้ ารผนึกกาลงั กันจะทาให้
เกดิ “การบูรณาการในระบบ” เมอื่ ระบบต่าง ๆ ถูกบรู ณาการ “โลกทไ่ี รส้ มดุล” กจ็ ะคอ่ ย ๆ ถูกปรับเปน็ “โลก
ที่สมดุล” ในโลกท่สี มดลุ นนั้ สันตสิ ุขและความมน่ั คงจะมีมากข้นึ ในขณะทคี่ วามเส่ียงและภยั คุกคามกจ็ ะถกู
ลดทอนลง โลกทีส่ มดลุ จะนาพาพวกเราไปสู่ “พลวัตความย่งั ยืน” แทน “วิกฤตซ้าซากและวิกฤตเชิงซ้อน ”
อยา่ งทเ่ี ราเผชญิ อยู่ในปจั จุบัน

จำกโลกท่ีมงุ่ พัฒนำสู่ควำมทันสมัยไปสู่โลกท่ีมุ่งพัฒนำสูค่ วำมย่งั ยนื

ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างมนุษยก์ ับมนษุ ยแ์ ละระหว่างมนษุ ย์กบั ธรรมชาติจะเป็นอยา่ งไร ลว้ นขึ้นอยู่กับวา่
เรามองโลกและมีสมมตฐิ านกับเร่ืองต่าง ๆ เหล่านัน้ อยา่ งไร โรคโควิด-19 ทาให้ผ้คู นตอ้ งหันกลับมาทบทวน
สมมติฐานเกี่ยวกบั ความสัมพันธ์ทง้ั 2 ชดุ น้ีเสยี ใหม่

7

ในสมมติฐานความสมั พันธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ ับมนษุ ย์นนั้ แท้จรงิ แล้วมนษุ ยห์ าใชค่ นทีม่ แี ต่ข้อบกพรอ่ ง
และเป็นอันตราย หากแต่มนุษยม์ ศี ักยภาพและสามารถสรา้ งความเปน็ ไปไดท้ ห่ี ลากหลาย และมนุษยก์ ็ไมน่ า่ จะ
ใช่ “สตั วเ์ ศรษฐกจิ ” ที่มีพฤติกรรมแบบทม่ี ีเหตมุ ผี ลตามหลักเศรษฐศาสตร์ แต่มนุษย์เปน็ “สตั วส์ งั คม” ทมี่ ี
ชีวิตจิตใจ มีความปรารถนาทจี่ ะอย่รู ว่ มกับผู้อ่ืนอยา่ งเป็นปกติสุข บทเรยี นของโควิด-19 ทาใหม้ นุษย์ต้อง
คุ้มครองปกปอ้ งผลประโยชน์ของสว่ นรวม เพราะเมอื่ ส่วนรวมถูกปกปอ้ ง ตวั เราเองก็จะถกู ปกป้อง มิเพยี ง
เทา่ นัน้ บริบทของโลกได้เปล่ียนแปลงไป แนวคดิ ที่ว่า “ถำ้ ไมแ่ ขง่ ก็ไมร่ อด” อาจจะไม่ตอบโจทย์ หากมนษุ ย์
จะอยู่อยา่ งปกติสุข อาจจะตอ้ งปรบั แนวคดิ เป็น “กำรรวมกนั เรำอยู่” แทน

กำรทบทวนสมมตฐิ ำนในควำมสมั พันธ์ระหว่ำงมนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ในโลกหลังโควดิ

ใ นสมมติฐานความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ก็เช่นกัน แท้จรงิ แล้วธรรมชาติไม่ใช่เป็น
ทรัพยากร (Resources) แต่ธรรมชาติเป็นแหล่งกาเนดิ (Sources) ที่เราหยบิ ยมื มาใชช้ ่ัวคราวและสง่ คนื กลบั ไป
โดยต้องเผอ่ื แผใ่ หค้ นรุน่ หลงั ไดใ้ ชด้ ว้ ย ดงั นน้ั แทนทจี่ ะแสวงหาเทคโนโลยีและการจัดการเพอ่ื เอาชนะธรรมชาติ
และมุ่งใชป้ ระโยชนจ์ ากธรรมชาตใิ หไ้ ดม้ ากท่สี ุด มนุษยค์ วรแสวงหาความเชอ่ื มโยงเพอื่ อยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติ มงุ่
รกั ษธ์ รรมชาตบิ นฐานคิดของความยั่งยนื และที่สาคญั แทนท่จี ะคิดแตต่ กั ตวงผลประโยชนจ์ ากสว่ นรวม อาจถงึ
เวลาท่ีพวกเราต้องรว่ มกนั ฟน้ื ฟู รกั ษาผลประโยชนข์ องส่วนรวม ซึ่งถกู ทาลายไปไมน่ ้อยภายใต้กระบวนทศั น์
การพฒั นาทม่ี งุ่ สคู่ วามทนั สมัย

กำรทบทวนสมมตฐิ ำนในควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งมนษุ ยก์ บั ธรรมชำติในโลกหลงั โควิด

8

ในโลกก่อนโควิด-19 ผู้คนจากการประชุม “เวทีเศรษฐกจิ โลก” (World Economic Forum) ท่ีเมอื ง
ดาวอส บอกเราวา่ พลวัตของเทคโนโลยี (อันประกอบดว้ ย เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยีกายภาพ และ
เทคโ นโลยีดจิ ิทัล) กาลังป่วนโลก โ ดยเชื่อว่าภาวะโลกป่วนจากเทคโนโลยี (Technology Disruption)
กอ่ ใหเ้ กิดการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมคร้งั ท่ี 4 และตามมาด้วยการปรบั โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจ

แตแ่ ทท้ ่ีจริงแลว้ ภาวะโลกปว่ นไมไ่ ด้เกิดจากพลวตั ของเทคโนโลยีเพยี งอย่างเดยี ว แต่เกดิ จากพลวตั
ของความเสีย่ งและภยั คกุ คามดว้ ย (อาทิ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และโรคระบาด) ซึ่งภาวะโลกปว่ น
จากพลวัตของความเส่ียงและภัยคุกคามน้ัน ไมไ่ ด้สง่ ผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงแค่การปฏิวัติอตุ สาหกรรมและ
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเทา่ นั้น แต่ยังเปน็ ปัจจัยหลกั กอ่ ให้เกดิ การการปฎวิ ัติทางสงั คม และการ
ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมมนษุ ย์ควบคูไ่ ปด้วย นามาสู่การเปลย่ี นแปลงคร้งั ใหญ่ ภายใต้ “7 ขยบั ปรบั เปลยี่ น
โลก”

ภำวะโลกป่วน นำมำสู่ 7 ขยบั ปรับเปล่ยี นโลก

9

อาจกล่าวไดว้ ่า โควดิ -19 เปน็ ตัวเรง่ กำรปรบั เปลยี่ น (Transformative Agent) ก่อให้เกิดการขยบั
ปรบั เปลี่ยนโลก 7 ประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี

7 ขยับ ปรับเปล่ยี นโลก
ขยับท่ี 1 จาก โมเดลตลำดเสรี (Free Market Model) สู่ โมเดลรว่ มรงั สรรค์(Co-Creative

Model) แทนทจี่ ะใชก้ ลไกตลาดในการขับเคล่ือน เราต้องหนั มาใชพ้ ลังปัญญามนษุ ยใ์ นการขบั เคล่ือน เปลยี่ น
จากการแยกบทบาทท่ีชดั เจนระหว่างผูผ้ ลติ และผู้บริโภค (Producers & Consumers) เปน็ การเปดิ โอกาสให้
ทุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการผลิตและรงั สรรค์นวัตกรรม (Pro-sumers & Co-creators) ปรับแนวคดิ ม่งุ
หาทางเพมิ่ สว่ นแบง่ การตลาด ดว้ ยการพัฒนาความไดเ้ ปรยี บในการแข่งขนั เพอ่ื สรา้ งอานาจของวิสาหกจิ เหนอื
ตลาด มาส่แู นวคิดการขยายขนาดตลาดให้กว้างขนึ้ เพอ่ื ครอบคลุม “คนไรแ้ ละคนดอ้ ยโอกาส” ในสังคม ดว้ ย
การพฒั นานวตั กรรมท่ที กุ คนเขา้ ถึงได้ (Inclusive Innovation) การระดมทนุ แตเ่ ดมิ มเี พยี งการระดมทนุ จากผู้
ถือหุ้นและตลาดทนุ แต่ในปัจจุบนั นวัตกรรมหรอื ธุรกิจดี ๆ สามารถระดมทุนจากประชาชนได้โดยตรง
(Crowd Funding) โดยผทู้ ีใ่ ห้เงินไมไ่ ดม้ งุ่ หวังผลตอบแทนทเี่ ปน็ ตวั เงนิ หรอื ผลประโยชนท์ างธุรกจิ เปน็ สาคญั
โมเดลตลาดเสรจี ะขบั เคล่อื นผ่านกระแส “โลกาภิวัตน์” และ “บรรษัทภิวตั น์” ซึง่ แตกต่างจากโมเดลร่วม
รงั สรรค์ที่จะขับเคลอื่ นผา่ นกระแส “ชมุ ชนภิวตั น์” และ “ประชาภวิ ัตน์” เป็นสาคัญ

ขยบั ท่ี 2 เราเคยอยูใ่ น โหมดกำรแขง่ ขนั ในกำรผลติ และกำรบรโิ ภค (Competitive Mode of

Production & Consumption) ท่ีขับเคล่ือนผ่านโมเดลการลงทนุ แบบเอกชน (Private Investment
Model) ภายใต้แนวคดิ “การผลิตเพ่ือขาย” (Making & Selling) ก่อใหเ้ กดิ การแขง่ กันผลิต แข่งกนั บรโิ ภค

10

ความอยดู่ มี สี ุขสว่ นใหญ่ตกอยกู่ บั คนจานวนน้อย (Well-beings of the Few) โลกกาลงั ขยบั ไปสู่ โหมดกำร
ผนกึ กำลงั ในกำรผลติ และกำรบรโิ ภค (Collaborative Mode of Production & Consumption) ทีใ่ ช้
แพลตฟอรม์ แบบเปดิ ที่ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม (Open Collaborative Platform) ภายใตแ้ นวคดิ ของการเก้อื กลู และ
แบง่ ปนั (Caring & Sharing) มงุ่ สรา้ งความอยดู่ ีมีสุขให้คนหมมู่ าก (Well-beings of the Mass)

ขยบั ท่ี 3 แต่เดิมเรามุ่งเน้น กำรเตบิ โตทำงเศรษฐกจิ (Economic Growth) โดยความเชื่อทว่ี า่

ความโลภ (Greed) ทาใหเ้ กิดการเตบิ โต (Growth) และการเตบิ โตเหน่ียวนาใหเ้ กดิ ความโลภเปน็ วงจรทไ่ี มร่ จู้ บ
ความเชอ่ื “Greed2Growth” และ “Growth2Greed” ดังกล่าวทาให้เกิดการม่งุ เน้นการเพม่ิ ปรมิ าณการ
ผลิตและการบรโิ ภค โดยใหค้ วามสาคญั กับการสรา้ งความมงั่ คงั่ ทางเศรษฐกิจเปน็ สาคัญ ซงึ่ เปน็ เร่อื งท่ีไมต่ อบ
โจทย์ความยง่ั ยืน เพอื่ ความเป็นปกตสิ ุขในโลกหลงั โควิด เราจาเป็นต้องปรบั เปลี่ยนจากการมุ่งเนน้ การเตบิ โต
ทางเศรษฐกจิ ไปสู่การมงุ่ เน้น “กำรขับเคลอ่ื นทสี่ มดลุ ” (Thriving in Balance) ใน 4 มิติท่สี าคญั ไดแ้ ก่ การ
สรา้ งความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ ความอย่ดู ีมีสุขในสงั คม ควบค่ไู ปกับความยง่ั ยนื ของธรรมชาติ บนรากฐานของ
ศกั ดิ์ศรีและภมู ปิ ัญญามนษุ ย์ โดยตงั้ อยบู่ นความเชือ่ ทว่ี ่า “Good2Growth” และ “Growth2Good” แทน

ขยับ ท่ี 4 แต่เดิมเรามุ่ง สรำ้ งระบบนเิ วศทเ่ี อื้อตอ่ กำรเติบโตทำงเศรษฐกจิ ( People for

Growth) โดยมองมนุษยเ์ ปน็ เพยี งแคส่ ว่ นหนง่ึ ของปัจจัยการผลติ มุ่งเน้นการลดต้นทนุ และการเพม่ิ ผลติ ภาพ
ในตัวมนษุ ย์เปน็ สาคญั และเพือ่ ลดความร้สู กึ ผิด หลายองค์กรจงึ ทาให้ตัวเองน้นั Looking Good, Looking
Well (ผ่านการทา Pseudo-CSR) เพ่อื ความยงั่ ยนื ในโลกหลังโควดิ เราตอ้ ง สรำ้ งระบบนเิ วศทเ่ี ออ้ื ตอ่ กำร
เติบโตของมนษุ ย์(Growth for People) ทาอย่างไรให้เกดิ การปลดปล่อยพลังปัญญามนษุ ย์ พรอ้ ม ๆ กบั
การสร้างหลักประกนั ความมั่นคงและความปลอดภัยในชวี ติ ยกระดบั ทกั ษะ เติมเตม็ ศักยภาพ เปดิ พน้ื ทใ่ี หม้ ี
สว่ นรว่ ม และปกปอ้ งศักดศ์ิ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ เพราะฉะนนั้ ต่อจากน้ีไป องค์กรจะตอ้ งไมท่ า Pseudo-CSR
แต่เปน็ องคก์ รท่ี Being Good, Being Well อย่างแทจ้ ริง โดย Being Good เพื่อตอบโจทย์ผูม้ สี ่วนเกยี่ วขอ้ ง
และ Being Well เพื่อตอบโจทย์ผู้ถอื หนุ้

ขยับท่ี 5 ในโลกก่อนโควิด เราเพรยี กหา ชวี ติ ทรี่ ำ่ รวยทำงวตั ถุ (Economic Life) อันเป็นชวี ติ ที่

เต็มไปดว้ ยการเปรยี บเทยี บ การแข่งขนั การตามอยา่ งกนั การแสวงหาความต้องการอย่างไม่สน้ิ สดุ ซงึ่ ในทสี่ ดุ
จะนาพาสู่ชีวิตทีไ่ รจ้ ุดหมาย รวมถงึ การพฒั นาทกั ษะเพยี งเพอื่ ใชใ้ นการทางาน (Head & Hands) ภายใต้ความ
เช่อื ทีว่ ่า ยง่ิ มาก ย่งิ ได้ และยง่ิ ใหญ่ ยงิ่ ดี ความเช่อื ดังกลา่ วนาพาสู่ “ควำมอบั จนบนควำมม่ังคง่ั ” (น่ันคือ ดู
เหมือนจะมีชีวติ ทด่ี ดู ี แต่แทจ้ ริงแลว้ น้ันกลบั เปน็ ชวี ติ ท่ีไรค้ วามสขุ ) เพอื่ ความเป็นปกติสขุ ในโลกหลงั โควดิ เรา
ต้องปรับจากชวี ติ ทร่ี ่ารวยทางวตั ถุเปน็ ชีวติ ทร่ี มุ่ รวยควำมสขุ (Balanced Life) โดยเป็นชวี ิตทมี่ สี ขุ ภาพกาย
สุขภาพใจทีแ่ ขง็ แรง เตม็ เปย่ี มด้วยความหวัง อบอนุ่ เข้าใจโลก เขา้ ใจถึงคณุ ค่าของการมีชวี ิต การใช้ชวี ิต
ร่วมกบั ผู้อน่ื เพราะฉะนัน้ ตอ้ งพัฒนาทักษะความฉลาดรู้ในการใชช้ วี ิต (Heart & Harmony) ควบค่ไู ปกบั การ

11

พัฒนาทักษะเพอ่ื ใช้ในการทางาน (Head & Hands) รวมถึงการปรับเปล่ียนความคิดจากเดมิ ยงิ่ มาก ยิง่ ได้
เปน็ ยง่ิ ปัน ยิง่ ได้ และเปลีย่ นความคิดจากเดมิ ย่ิงใหญ่ ย่งิ ดี เป็น เมือ่ ขำดตอ้ งรจู้ กั เตมิ เมอื่ พอตอ้ งรจู้ กั หยดุ
แ ละเม่อื เกนิ ตอ้ งรจู้ กั ปนั ดว้ ยการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชป้ ฏบิ ัติอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ซง่ึ
หากทาได้ พวกเราก็จะสามารถกา้ วขา้ ม “ควำมอับจนบนควำมมัง่ คง่ั ” และนาพาไปสู่ “ควำมรมุ่ รวยบน
ควำมพอดี” แทน

ขยับท่ี 6 ในโลกก่อนโควดิ เราตดิ กับดักของ เศรษฐกิจเส้นตรง (Linear Economy) ซง่ึ เป็น

ระบบเศรษฐกจิ ทีน่ าทรัพยากรมาผลิตสนิ ค้าตาม “ห่วงโซค่ ุณค่า” (Value Chain) อย่างไมย่ ั้งคิด ไม่คานึงถึง
ผลกระทบตอ่ สงั คมและส่งิ แวดล้อมโดยมงุ่ สกู่ ารสรา้ งกาไรสูงสุดเป็นสาคญั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ในโลกหลงั
โควดิ เราต้องเรง่ ปรับเปล่ียนระบบเศรษฐกิจเส้นตรงมาเปน็ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular Economy) ซง่ึ
เปน็ ระบบเศรษฐกจิ ที่อดุ ชอ่ งวา่ งการผลิตแบบเกา่ ดว้ ย “วงรอบคณุ ค่า” (Value Circle) โดยนาส่งิ เหลอื ใชแ้ ละ
ทรพั ยากรทีม่ ีอยอู่ ย่างจากดั กลบั มาหมนุ เวยี นทาประโยชน์ใหม่ พร้อมกันนน้ั ก็ม่งุ เน้นความประหยดั ในปัจจยั
นาเข้า ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต และประโยชนส์ งู สุดท่ไี ด้รับจากผลผลิต

ขยบั ท่ี 7 การท่ีเราตอ้ งอยู่ดว้ ยกนั บนโลกใบเดียวกัน สขุ ดว้ ยกนั ทุกข์ด้วยกัน เราต้องปรบั เปลยี่ น

จาก กำรตักตวงผลประโยชนจ์ ำกสว่ นรวม (Exploitation of the Commons) ท่ีแตล่ ะคนคิดถึงแต่การ
เอาดีใสต่ ัว เอาช่ัวใสค่ นอ่ืน (Internalizing the Goods & Externalizing the Bads) และคิดเผอ่ื สิง่ ดี ๆ ไว้
ใหก้ ับลูกหลานและพวกพอ้ งของตัวเองเท่านั้น เพอื่ ความอยูร่ อดของมนษุ ยชาติ ในโลกหลังโควิด กำรฟน้ื ฟู
เ ยียวยำ รักษำผลประโยชนข์ องส่วนรวม (Remedy of the Commons) เป็นเร่ืองสาคัญ ด้วยการ
ไตรต่ รองถึงสว่ นเสยี ทอี่ าจเกดิ ขึน้ ในส่งิ ดี ๆ (Negative Side of the Goods) ขณะเดยี วกนั กต็ ้องมองหาสว่ นดี
ที่ซ่อนอยใู่ นสงิ่ ทเี่ ลวร้าย (Positive Side of the Bads) (อย่างเช่น ปัญหาสังคมสูงวัย ก่อเกิดการคิดค้น
นวตั กรรมเพือ่ ตอบโจทย์คนกลมุ่ นี้ หรอื วิกฤตโควิดก่อเกดิ การจัดระเบยี บในระบบสาธารณสขุ ใหม่ เปน็ ตน้ )
ความคดิ ไดเ้ ปลย่ี นไปจากการคิดเผ่ือสง่ิ ดี ๆ ใหก้ บั ลกู หลานและพวกพ้องของตวั เอง มาสกู่ ารคิดเผอ่ื ส่งิ ดี ๆ
ให้กับคนส่วนใหญแ่ ละคนรนุ่ หลงั

โดยสรุปแลว้ โรคโควดิ -19 อาจนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงคร้ังสาคัญอกี คร้งั ของมนุษยชาติ อันทีจ่ รงิ แลว้
“7 ขยับ ปรับเปลยี่ นโลก” ไม่ใชเ่ ร่อื งใหม่ ทุกขยับล้วนแล้วแต่ต้ังอยู่บนหลักคิด ปรัชญำของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ปัญหาคอื พวกเราเพียงแค่ตระหนกั รู้ แต่ไมไ่ ดล้ งมอื ทา ในโลกหลังโควดิ มนษุ ยจ์ ะอย่รู อดได้ เราตอ้ ง
ลงมือปฏบิ ตั ิเพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครงั้ ใหญ่ ใ นโลกกอ่ นโควดิ เรามองตัวเองเปน็ เพยี งพลเมอื งของ
ประเทศ มงุ่ เน้นสร้างความสามารถในการแข่งขนั ให้กบั องค์กร ให้กบั ประเทศ แต่ ณ วันนี้ ในโลกหลังโควดิ
เราต้องร่วมกนั ฟน้ื ฟูโลกใหด้ ีขน้ึ เราตอ้ งเป็นท้งั พลเมอื งของประเทศและเป็นพลเมอื งของโลกในเวลาเดยี วกนั

12

เราไม่ไดอ้ ยู่ในภมู ริ ัฐศาสตร์โลก ท่หี ลายประเทศสรา้ งความยิ่งใหญ่และอทิ ธพิ ลเหนือประเทศอืน่ แต่อยใู่ นโลก
ชวี ภาพทพ่ี ลเมอื งโลกอยู่รว่ มกันอยา่ งมีสนั ติภาพและเป็นปกติสขุ

กำรเปล่ียนแปลงครง้ั สำคญั ของมนุษยชำติหลังโรคโควิด-19

13

เหลยี วหลงั แลหน้ำ ประเทศไทยในระยะเปล่ียนผ่ำน
(Thailand in Transition)

ประเทศไทยกาลังอยใู่ นระยะเปลยี่ นผา่ น ในชว่ งหลายทศวรรษทผี่ า่ นมา ประเทศไทยต้องทาสงคราม
ตอ่ สู้กับลทั ธิคอมมิวนสิ ต์ ทาสงครามต่อสกู้ บั ปญั หาความยากจน ตลอดจนทาสงครามต่อส้กู บั ความไมส่ งบ
ภายในประเทศ จากนี้ไป ประเทศไทยตอ้ งเผชญิ กับความท้าทายใหม่ ๆ จนทาใหป้ ัญหาทีม่ อี ยู่เดิมมคี วาม
ซับซอ้ นและทวีความรุนแรงเพม่ิ มากข้นึ อันไดแ้ ก่ สงครำมตอ่ สกู้ บั ควำมเหลอื่ มลำ้ ในหลำกรปู แบบ (ไมว่ ่าจะ
เปน็ ความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษาและการเรียนรู้ ความเหลอื่ มลา้ ของโอกาส หรือความเหลือ่ มลา้ ของรายได้
และทรัพยส์ นิ ) และ สงครำมตอ่ สกู้ บั ภยั คกุ คำมไมต่ ำมแบบในปจั จบุ นั (อาทิ โรคระบาด เครือขา่ ยยาเสพตดิ
ข้ามชาติ เครอื ขา่ ยการกอ่ การรา้ ยขา้ มชาติ และสงครามไซเบอร์ เป็นตน้ )

ป ร ะเ ทศ ไ ทยใ น ร ะยะเ ป ล่ียน ผ่ำน

กำรปฏิรปู เชิงโครงสรำ้ งคร้ังท่ี 2 ของประเทศไทย (The 2nd Great Reform)

หากย้อนดูประวตั ิศาสตร์รว่ มสมยั อาจกลา่ วไดว้ ่าประเทศไทยมกี ารปฏริ ูปเชงิ โครงสร้างที่นาไปสกู่ าร
พัฒนาใ หเ้ จรญิ ก้าวหน้าทดั เทียมนานาอารยะประเทศ เพียงครั้งเดียว น่ันคือการปฏิรูปประเทศในสมยั
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั มหาราช รัชกาลที่ 5 ซ่ึงเปน็ ผลมาจากภยั คุกคามจากลทั ธิลา่ อาณา
นิคมของชาติตะวันตก ประกอบกบั วิสยั ทัศนแ์ ละพระปรชี าสามารถของพระองค์ ทาใหบ้ ้านเมอื งเกิดความเปน็
ปึกแผน่ เกิดการสรา้ งรฐั ชาติไทยที่เข้มแขง็ มีการเลกิ ทาส การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ตลอดจนการนา

14

เทคโนโลยี วทิ ยาการ และการบริหารจัดการทนี่ าสมยั จากต่างประเทศมาประยุกตใ์ ห้เหมาะกบั บรบิ ทของ
ประเทศไทย

ผิดกนั กับในยุคปจั จุบัน ประเทศไทยต้องเผชิญกบั แรงปะทะสองแนว ทง้ั แรงกดดนั จากภายนอก (อาทิ
ระบอบทุนนยิ มโลกหรอื การลา่ อาณานคิ มสมยั ใหมด่ ้วยการเงนิ การจัดระเบยี บโลกใหมซ่ ่ีงมชี าติมหาอานาจ
แสวงหาแนวร่วมและผลประโยชนจ์ ากนานาชาติ และภัยคุกคามไมต่ ามแบบทเี่ กดิ ขน้ึ อยู่ตลอดเวลา) และแรง
ปะทุจากภายใน (อาทิ ปัญหาความเหล่อื มล้าและความไมเ่ ป็นธรรมในการจดั สรรทรพั ยากร ปัญหาชุมชนและ
การมสี ่วนรว่ มในการบริหารจัดการ ตลอดจนปัญหาคณุ ค่าและวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่นที่ถกู กลืนโดยสงั คมเมอื ง)
การจะพฒั นาประเทศให้กา้ วขา้ มปญั หาวิกฤตและภัยคุกคามตา่ ง ๆ เหล่านี้ จาเปน็ ตอ้ งอาศยั “กำรปฏริ ปู
ประเทศเชิงโครงสร้ำง” อย่างเป็นระบบและจรงิ จงั

กำรปฏิรปู เชิงโครงสรำ้ งของประเทศไทย

การปฏริ ปู ประเทศเชิงโครงสร้างในโลกหลงั โควดิ ต้ังอย่บู นหลกั คดิ สาคญั 3 ประการ ดังต่อไปนี้
 สร้ำงควำมเข้มแขง็ จำกภำยใน เชอื่ มไทยสปู่ ระชำคมโลก
 เดินหนำ้ ไปดว้ ยกนั ไม่ทง้ิ ใครไวข้ ำ้ งหลงั
 หลกั คดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง มุ่งสกู่ ำรพฒั นำทยี่ ง่ั ยนื

15

ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง กบั ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำที่ย่งั ยืน
ในโลกหลงั โควดิ

(SEP & Post-COVID Sustainable Development Strategy)

ในโลกหลังโควดิ กำรขบั เคลอ่ื นทส่ี มดลุ (Thriving in Balance) ตามหลกั คดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง จะทาใหพ้ วกเราสามารถบรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ใหก้ บั ประเทศและประชาคมโลก สะทอ้ น
ผ่านการรักษ์โลก การเติบโตทยี่ งั่ ยนื ความมั่งคั่งที่แบ่งปัน และสันติภาพท่ีถาวร

กำรขบั เคล่ือนท่ีสมดลุ ตำมหลักคดิ ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง

หลกั คิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มุ่งเนน้ การขบั เคลื่อนที่สมดลุ ใน 4 มติ ิ ประกอบดว้ ย
 ควำมมัง่ คงั่ ทำงเศรษฐกจิ (Economic Wealth) เป็นเร่ืองท่เี กย่ี วกบั ความสามารถในการทากาไร

ผลตอบแทนจากการลงทนุ อัตราการเตบิ โต และความพึงพอใจของผู้บรโิ ภค
 ควำมอยดู่ ีมสี ขุ ของผคู้ นในสงั คม (Social Well-beings) ครอบคลมุ ประเด็นในเรอื่ งการปฏิบตั ติ อ่

ผู้ใช้แรงงาน สิทธิมนษุ ยชน ผลกระทบต่อชมุ ชน และความรบั ผิดชอบต่อสังคม
 ก ำรรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อม (Environmental Wellness) สะท้อนผา่ นประเด็นในเรื่องทรัพยากรและ

พลังงานทใี่ ช้ การบรหิ ารจัดการของเสียจากกระบวนการผลิต คณุ ภาพนา้ และอากาศ ความน่าเชอ่ื ถอื
ของห่วงโซ่อุปทาน และการดาเนนิ ตามมาตรฐานทกี่ าหนด

16

 ศักยภำพและคณุ คำ่ ของมนษุ ย์ (Human Wisdom) เน้นในเรือ่ งการตระหนกั ในคณุ ค่ามนุษย์
ศักยภาพและการลงทนุ ในมนุษย์ ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสรา้ งมูลคา่ การเคารพในความเป็น
ปัจเจก และการมอี สิ ระทางความคดิ

ที่สาคัญ การขบั เคลอื่ นทส่ี มดุลทงั้ 4 มิติตามหลักคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงขา้ งต้นนั้น มคี วาม
สอดคล้องกบั เป้าหมายการพฒั นาอย่างยงั่ ยืนของสหประชาชาติเป็นอยา่ งดี ดงั รูป

ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ กำรพฒั นำท่ีย่งั ยนื

การน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตอบโจทยก์ ารพฒั นาท่ียงั่ ยนื ถือเป็นการเปลยี่ นแปลงกา้ ว
สาคัญในการปรบั เปล่ยี นกระบวนทศั นก์ ารพัฒนา “โลกทมี่ ่งุ พัฒนำสคู่ วำมทนั สมยั ” (Modernism) มาสู่
“โลกที่มงุ่ พฒั นำสู่ควำมย่งั ยนื ” (Sustainism) กอ่ ให้เกดิ การขยบั ปรับเปลย่ี นทศั นคติความเชื่อ อาทิ

โลกทมี่ ุง่ พฒั นำส่คู วำมทนั สมยั โลกที่มุ่งพฒั นำสู่ควำมยง่ั ยืน
 ยง่ิ ใหญ่ ยิ่งดี (The Bigger, The Better) มาสู่  ยิ่งดี ย่งิ ใหญ่ (The Better, The Bigger)
 ยงิ่ มาก ย่งิ ดี (The More, The Better) มาสู่  ย่ิงดี ยง่ิ มาก (The Better, The More)
 ยิ่งเร็ว ยิง่ ดี (The Faster, The Better) มาสู่  ยง่ิ ดี ยง่ิ เรว็ (The Better, The Faster)

17

กำรขบั เคล่อื นควำมสมดลุ ในตำ่ งระดบั

ความพอประมาณ การใชค้ วามรเู้ หตผุ ลในการตัดสินใจ และการมภี มู คิ นุ้ กนั ทด่ี กี อ่ ใหเ้ กดิ ความสมดลุ
ในบริบทของการบรหิ ารจัดการความสมดลุ สามารถจาแนกได้เปน็ 3 ระดับด้วยกัน

กำรขบั เคลอื่ นควำมสมดลุ ในระดบั ประเทศ
 ทุนนิยมอิงตลาด กับ ทุนนิยมอิงสงั คม
 การคา้ ภายในประเทศและการค้าระหวา่ งประเทศ
 การทอ่ งเท่ียวในประเทศและการท่องเทย่ี วจากต่างประเทศ
 การลงทุนจากต่างประเทศ การลงทุนในประเทศ และการลงทนุ ในต่างประเทศ
 การใช้แรงงานในประเทศและการใชแ้ รงงานตา่ งดา้ ว
 ตลาดเงนิ กบั อุตสาหกรรมภาคตา่ งๆ
 การใช้กับการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
 การเตบิ โตและการกระจายความมง่ั คงั่ ทางเศรษฐกจิ
 ความสามารถในการแข่งขนั กับสมานฉนั ทข์ องคนในชาติ
 การเปิดเสรกี ับความพรอ้ มของผ้ปู ระกอบการในประเทศ

กำรขบั เคลอื่ นควำมสมดลุ ในระดบั องคก์ ร
 ความเสีย่ ง กบั ผลตอบแทน
 ความฉลาดหลกั แหลมทางธรุ กจิ กบั จริยธรรมและความชอบธรรม
 ความม่งุ มน่ั ต้ังใจ กับการปรบั ตวั ตามเงอ่ื นไขสภาพแวดลอ้ ม
 ขีดความสามารถจากภายในกบั เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื จากภายนอก
 การออม กบั การลงทุน
 ปริมาณ และ คุณภาพ
 หลักการ และ หลกั ปฏบิ ัติ
 ผลตอบแทนระยะสัน้ กบั ความสามารถในการทากาไรในระยะยาว
 ผู้ถือหนุ้ กับผู้มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง
 การรงั สรรคน์ วตั กรรมกบั การลอกเลยี นแบบ

18

กำรขบั เคลอื่ นควำมสมดลุ ในระดบั ครอบครวั
 ความร้กู บั คุณธรรม
 ความสขุ กบั ความสาเรจ็
 การออมกบั การใชจ้ ่าย
 ปจั จบุ นั กบั อนาคต
 เวลางานกบั เวลาครอบครวั
 การมีสว่ นรว่ มกบั ความเปน็ อสิ ระ
 ส่วนตวั กบั ส่วนรวม
 วัตถกุ ับจติ ใจ
 การแขง่ ขนั กับความรว่ มมอื
 ความตอ้ งการการเปลี่ยนแปลงกับความแนน่ อน

โมเดลกำรขับเคล่อื นประเทศไทยในโลกหลังโควดิ (New Growth Engine)

หลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งข้างต้น นามาสู่การพฒั นาโมเดลการขับเคลื่อนประเทศไทยท่ี
เป็นรูปธรรม ภายใต้ “BCG Economy Model” ซ่ึงเป็นการผนกึ 3 เศรษฐกิจเขา้ ดว้ ยกนั คือ เศรษฐกจิ
ชีวภำพ (Bioeconomy) เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น (Circular Economy) แ ละเศรษฐกิจสเี ขียว (Green
Economy) ซ่ึงมุ่งสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยนื โ ดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวตั กรรม เป็นตวั ขับเคล่ือนสาคัญ

โมเดลกำรขับเคล่อื นประเทศไทยในโลกหลงั โควดิ

19

BCG Economy Model เปน็ การสรา้ งความเขม้ แข็งจากภายใน โดยนาจดุ แขง็ ของประเทศไทยอนั
ประกอบด้วย “ควำมหลำกหลำยทำงชวี ภำพ” (Bio-Diversity) และ “ควำมหลำกหลำยทำงวฒั นธรรม”
(Cultural Diversity) มาตอ่ ยอดและยกระดบั มลู คา่ ในหว่ งโซก่ ารผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ครอบคลมุ 4 กลมุ่
อตุ สาหกรรมสาคัญ ประกอบไปด้วย 1) เกษตรและอำหำร 2) สุขภำพและกำรแพทย์ 3) พลังงำน วสั ดุ และ
เคมชี วี ภำพ และ 4) กำรทอ่ งเทย่ี วและเศรษฐกจิ สรำ้ งสรรค์ กลุ่มอุตสาหกรรมเหลา่ นี้ครอบคลุม 5 ใน 10
อตุ สาหกรรม S-Curve โดยมีมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมกนั กวา่ 3.4 ลา้ นลา้ นบาท และมีกาลังแรงงานอยู่ใน
ระบบกว่า 16.5 ลา้ นคน ซ่ึงหากมีนโยบายและการบรหิ ารจดั การท่ีเหมาะสมประมาณการว่าในอกี 5 ปขี า้ งหนา้
กลมุ่ อุตสาหกรรมภายใต้ BCG Economy Model นี้ จะสามารถสรา้ งมูลค่าทางเศรษฐกิจไปได้ถึง 4.4 ลา้ น
ล้านบาท และจ้างงานได้กว่า 20 ลา้ นคน

4 สำขำยทุ ธศำสตรใ์ น BCG

BCG Economy Model นั้น นอกจากจะมีบทบาทในการสรา้ งความเข้มแขง็ จากภายในผา่ นการ
กระจายโอกาสและความม่ังคัง่ แลว้ ยงั เช่ือมโยงเศรษฐกจิ ฐานราก เศรษฐกจิ ภมู ภิ าค เข้ากับเศรษฐกจิ โลกดว้ ย
ท่ีสาคัญ BCG ยังเป็นโมเดลที่สามารถตอบโจทย์เปา้ หมายการพฒั นาอยา่ งย่ังยนื ของสหประชาชาติ โดย
ครอบคลุม 10 ใน 17 เป้าหมายของ SDGs มเิ พียงเทา่ นั้น BCG ยงั เป็นโมเดลทสี่ นบั สนนุ หลักคดิ “เดนิ หนำ้ ไป
ดว้ ยกัน ไมท่ งิ้ ใครไว้ขำ้ งหลงั ” โดยเปน็ การสานพลงั ทางานร่วมกันอยา่ งใกลช้ ดิ ของภาคสว่ นท่เี กยี่ วข้องใน
ลักษณะ “จตุรภาคี” (Quadruple Helix) ระหว่าง ชุมชน ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย / สถาบันวิจยั /
หน่วยงานภาครัฐ และเครือข่ายตา่ งประเทศ

20

BCG ตอบโจทย์ 6 มติ ิ

ใ นการผลักดันสู่การปฏิบัติ BCG Economy Model จะประกอบด้วย 4 ตัวขับ เคล่ือน (BCG
Drivers) และ 4 ตัวส่งเสรมิ (BCG Enablers) โ ดย 4 ตัวขับเคลอื่ นประกอบไปด้วย 1) การพัฒนาสาขา
ยทุ ธศาสตร์ 2) การพฒั นาเชงิ พืน้ ท่ี 3) การพฒั นาธุรกจิ และผู้ประกอบการ และ 4) การพัฒนาเทคโนโลยแี ละ
องค์ความรขู้ ้นั แนวหนา้ ส่วน 4 ตัวส่งเสริมประกอบไปด้วย 1) การปลดล๊อคข้อจากัดทางกฎหมายและ
กฎระเบยี บตา่ ง ๆ 2) การสรา้ งความสามารถของกาลงั คน 3) การพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานสาคัญและสง่ิ อานวย
ความสะดวก และ 4) การยกระดบั เครอื ข่ายพันธมติ รระหวา่ งประเทศ โดยการขบั เคล่อื นทัง้ หมดน้ี ตัง้ อยบู่ น
ดจิ ทิ ลั แพลตฟอรม์ เพอ่ื เชือ่ มโยงและยกระดับหว่ งโซ่มูลคา่ ของ BCG

กำรสรำ้ งมูลคำ่ ใน 4 สำขำยทุ ธศำสตร์ BCG

BCG Economy Model ก่อให้เกดิ การเตบิ โตอยา่ งมสี ว่ นรว่ มให้กบั ทุกภาคส่วน (Inclusive Growth)
โดยมงุ่ เนน้ การยกระดบั ผลิตภาพในระดับฐานรากของพีระมดิ ไปจนถงึ การสร้างนวัตกรรมในระดับยอดของ
พีระมดิ อาทิ

 เกษตรแ ละอำหำร: การบรหิ ารจัดการนา้ การพฒั นาพนั ธุ์ เกษตรแม่นยา ไปจนถึงอาหารสขุ ภาพ
มูลค่าสงู

 สขุ ภำพแ ละกำรแพทย:์ การพฒั นาสารออกฤทธ์ทิ างชีวภาพ ยา ชีววตั ถุ สมนุ ไพร ไปจนถงึ โอมกิ ส์
(OMICs) การแพทย์สมยั ใหม่ และการแพทยแ์ ม่นยา

 พลังงำน แ ละวัสดชุ วี ภำพ: การพัฒนาชวี มวล วสั ดทุ างการเกษตร เชื้อเพลิงชวี ภาพ ไปจนถึง วสั ดุ
ชีวภาพ หรือสารมูลค่าสงู

21

 ท่อ งเทยี่ วและเศรษฐกจิ สรำ้ งสรรค:์ การท่องเทย่ี วเชิงอนุรกั ษ์ การท่องเท่ียวชุมชน การพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์ที่มีอตั ลกั ษณ์ ไปจนถึงการทอ่ งเท่ยี วเชงิ สุขภาพ

กำรสร้ำงมูลค่ำใน 4 สำขำยุทธศำสตร์

กำรขบั เคล่อื น BCG เชงิ พืน้ ท่ี

นอกจากการขับเคลอ่ื นในเชิงสาขายุทธศาสตรแ์ ล้ว BCG Economy Model ยังครอบคลุมแนว
ทางการขบั เคล่ือนเชงิ พน้ื ที่ (Area-based BCG) ซง่ึ อาศัยความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลาย
ของวัฒนธรรมที่มีในแต่ละภมู ภิ าคของประเทศมาเป็นจุดแข็งในการขับเคลื่อน เปิดโอกาสให้แตล่ ะพ้ืนท่ี
สามารถพงึ่ พาตนเอง พ่งึ พากันเองและรวมกนั เป็นกลมุ่ อยา่ งมพี ลงั ตามหลักคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การขับเคลื่อน BCG ในแต่ละพน้ื ท่ขี องประเทศไทย ประกอบด้วย
 ภำคเหนอื : มุ่งเนน้ ในเรอ่ื งของการยกระดบั ขา้ วดว้ ยนวัตกรรม ระบบเกษตรปลอดภัยมาตรฐานสง่ ออก

ท่องเทย่ี วสุขภาพเช่ือมโยงวฒั นธรรม หรอื การนาวฒั นธรรมเชงิ พืน้ ที่ เช่นวัฒนธรรมลา้ นนา มาสร้าง
พน้ื ทีส่ ร้างสรรค์ พัฒนาสินคา้ และบรกิ าร
 ภำคอีสำน: มุง่ เน้นในเรอื่ งการพัฒนาโปรตนี ทางเลือกจากแมลง ระบบแก้ไขปัญหาและป้องกนั โรค
พยาธิใบไม้ในตบั การพัฒนาระบบบริหารจัดการแหลง่ นา้ ขนาดเล็ก และการส่งเสรมิ การท่องเทีย่ ว
ตามวิถีชวี ิตวัฒนธรรม และความเชอื่ รมิ ฝ่ังโขง

22

 ภำคตะวนั ออก: มงุ่ เน้นในเรอื่ งการพัฒนาผลผลติ ทางดา้ นการเกษตรโดยเฉพาะกลุ่มไมผ้ ล การพัฒนา
ต่อยอดอุตสาหกรรมแหง่ อนาคต รวมถงึ การสร้างกิจกรรมการท่องเท่ียวรปู แบบใหม่

 ภำคกลำง: ม่งุ เนน้ การพฒั นาในเรือ่ งการจดั การขยะ นวัตกรรมเพอ่ื สงั คมสงู วยั หรอื พฒั นานวัตกรรม
ตอ่ ยอดกิจกรรมการทอ่ งเทยี่ วรปู แบบใหม่

 ภำคใต้: มงุ่ เนน้ การพฒั นาในเร่ืองนวัตกรรมอาหารฮาลาล ทอ่ งเทย่ี วมูลคา่ สูงใน 3 จังหวัดภาคใ ต้
นวัตกรรมเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้า และกิจกรรมสร้างสรรคเ์ ชิงพหุวัฒนธรรม

23

พลวัตโลกหลงั โควดิ

ดว้ ยการปรบั เปลี่ยนกระบวนทศั นก์ ารพัฒนาจากการมุ่งส่คู วามทันสมยั เปน็ การมงุ่ สคู่ วามยง่ั ยืน โดย
การนอ้ มนาหลกั คดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้เชอื่ มโยงกับการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื โลกท่ีเราอยกู่ จ็ ะเปลย่ี นไป
จาก “โลกก่อนโควดิ -19 ทไ่ี มพ่ ึงประสงค์” สู่ “โลกหลังโควิด-19 ทพ่ี ึงประสงค์”

“โ ลกหลงั โควิด-19 ที่พึงประสงค”์ จะเป็นโลกท่ีสมั พันธภาพของผู้คนได้แผ่ขยายออกไปจาก
“Many2Many” สู่ “Mind2Mind” เปน็ โลกท่ีเน้น “กัลยำณมติ ร” มใิ ชเ่ พียงแค่ “พันธมิตร” เป็นโลกท่ี
ปรบั เปลี่ยนรปู แบบปฏสิ ัมพนั ธข์ องผคู้ นจาก “ต่ำงคนตำ่ งปดิ ” ไปสู่ “ตำ่ งคนตำ่ งเปดิ ” เป็นโลกทก่ี ้าวผ่าน
ความคดิ ของ “กำรแขง่ ขนั ” ไปสู่ “กำรรว่ มรงั สรรค”์ ที่สาคญั เป็น “การร่วมรงั สรรค์ทางสงั คม” ควบคู่ไปกบั
“การร่วมรงั สรรคใ์ นเศรษฐกิจ” เปน็ โลกทภ่ี มู ปิ ญั ญามนษุ ย์ไดพ้ ฒั นากา้ วข้ามปริมณฑลของ “ทรพั ยส์ นิ ทำง
ปัญญำ” สู่ “ภมู ิปญั ญำมหำชน” เป็นโลกทเ่ี ปลย่ี นวิถีชีวติ มนษุ ย์จาก “กำรพ่งึ พงิ ” ไปสู่ “ควำมเปน็ อสิ ระ”
และ “กำรพงึ่ พำอำศยั กัน”

เช่ือเป็นอย่างย่ิงวา่ ณ ขณะน้ี ผคู้ นกาลังช่วยกันทบทวน แกไ้ ข ปรบั ปรงุ ขอ้ บกพรอ่ งของโลกในอดตี
เพือ่ นาพาไปสู่โลกใหมท่ ี่ดกี ว่าเดมิ เป็นโลกใหมท่ ี่ไมไ่ ด้เพยี งอดุ มไปดว้ ยความรเู้ ทา่ นน้ั แตอ่ ุดมไปดว้ ยปญั ญา
อย่างแทจ้ รงิ

คาตอบมีอยู่แล้วใน “ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง”

24

กระทรวงแห่งโอกำส
กระทรวงแห่งปัญญำ
กระทรวงแหง่ อนำคต


Click to View FlipBook Version