The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วันแม่แห่งชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วันแม่แห่งชาติ

วันแม่แห่งชาติ

ขอพระองคท รงพระเจริญย่งิ ยนื นาน
ดว ยเกลา ดวยกระหมอ มขอเดชะ ขาพระพทุ ธเจา

บคุ ลากร กศน.อําเภอราชสาสน
และหอ งสมดุ ประชาชนอําเภอราชสาสน

ความสาํ คญั ของวนั แม

วนั แมแหง ขาติ เปน อีกหนึง่ วันสาํ คญั ที่ทาํ ใหเ ราตองหวนกลบั มาระลึกถึงพระคณุ
ของ แม ผูใหกําเนดิ แมผเู ล้ยี งดู รวมถึงแมข องแผนดนิ เพราะแมเ ปนบุคคลท่ีมี
ความสําคญั มากทส่ี ดุ ในชวี ิต คือ บุคคลผใู หชวี ิต ผูคอยคมุ ครอง ผมู อบความอบอนุ แม
เปรยี บเสมือนรม โพธ์ริ ม ไทร ที่คอยปกปอ งลกู ๆใหอ ยอู ยางรมเย็นเปน สุข ตลอดจนคอย
ผลกั ดนั ใหลกู เกดิ ความสาํ เร็จในทกุ ๆดา น

ในประเทศไทย ทางสว นราชการจะมีการจัดงานวนั แมอ ยา งย่ิงใหญใ นทกุ ๆป
เพื่อเปน การเทิดพระเกยี รติคุณของสมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระ
บรมราชชนนีพนั ปหลวง ในฐานะแมของแผน ดิน พรอมกันน้ันก็ยงั มีการจัดงานประกาศ
เกยี รตคิ ุณเพ่อื มอบรางวัล แมด ีเดน ท่ีปฏิบตั ติ นเปน แบบอยางท่ดี ีของลกู รวมถงึ แมคน
อนื่ ๆในแตละปอ ีกดว ย

ประวัติวนั แมแหงชาติ

แตเ ดิมนั้น วันท่ี 12 สงิ หาคม มิไดเ ปน วันแมแหงชาติ อยางเชน ในปจ จบุ นั แต
ไดมกี ารกําหนดเอาวนั ที่ 15 เมษายน ของทกุ ๆป เปนวนั แมแ หงชาติ โดยเปนไปตามมติ
ของคณะรฐั มนตรที ่ีไดป ระกาศรับรองเอาไว เมื่อวนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2493 ซึ่งได
พจิ ารณาเห็นวา การจดั งานวนั แมเปน สว นงานของสํานกั วฒั นธรรมฝายหญิง จงึ ได
มอบหมายให สภาวฒั นธรรมแหงชาติ เปน ผจู ดั งานวันแมมาต้ังแตว นั ท่ี 15 เมษายน
พ.ศ. 2493 เปนตนมา อกี ทัง้ การจัดงานก็เปน ไปดว ยความสาํ เรจ็ เนอื่ งดว ยประชาชน
ใหก ารสนับสนุนจนสามารถขยายขอบขายของงานใหกวา งออกไปได จงึ ทาํ ใหการจัด
งานไมเพยี งแตมกี ารจดั พธิ ที างพระพทุ ธศาสนาเทา นนั้ แตย ังจดั ใหม กี ารประกวดแมข อง
ชาติ

ประวัติวนั แมแหงชาติ

การประกวดคาํ ขวัญวันแม ท้งั นก้ี ็เพอ่ื เปนเกียรติแกแม และเปนการเพม่ิ ความสําคญั ของงานวนั แม
ใหม มี ากยง่ิ ขน้ึ ดว ยเหตนุ ้ี งานวันแมจ งึ เปน วันแมประจาํ ปข องชาติ ตามประกาศของรัฐบาล ฯพณฯ จอมพล-
ป.พบิ ลู สงคราม แตโ ดยทวั่ ไปมักเรยี กกนั วา วันแมของชาติ ตอมา ในปพ ทุ ธศกั ราช 2519 ทางราชการได
เปลย่ี นแปลงวันแมใหม โดยใหถ ือวาวันสมเด็จพระนางเจา สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชะนีพนั ป
หลวง ซง่ึ ก็คอื วนั ท่ี 12 สงิ หาคม เปน วันแมแหงชาติ โดยไดเ ร่ิมประกาศใชเปนครั้งแรกในปพทุ ธศักราช 2519
เปน ตนมา จากหนังสือของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ ชือ่ แมห ลวงของปวงชน พิมพเ ผยแพรเ ม่ือวันที่
6 กรกฎาคม พ.ศ. 2520

พระราชสมภพ

สมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ทรง
เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ วนั ศุกร ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475 ณ บานของพลเอก
เจา พระยาวงศานุประพันธ (ม.ร.ว. สทา น สนทิ วงศ) และทาววนดิ าพิจารณิ ี บดิ าและ
มารดาของหมอมหลวงบวั กิตยิ ากร ตั้งอยูที่ 1808 ถนนพระรามที่ 6 อาํ เภอปทุมวนั
จ.พระนคร ไดรับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู วั วา
“สริ ิกิต์ิ” มคี วามหมายวา “ผเู ปน ศรแี หงกติ ยิ ากร” สมเด็จพระนางเจา สิรกิ ติ ์ิ
พระบรมราชินนี าถ ทรงมีพระภาดา (พ่ชี าย) ๒ พระองค และพระขนิษฐภคนิ ี (นอ งสาว)
1 พระองค ดงั น้ี

1. หมอ มราชวงศ กลั ปยาณกิติ์ กิตยิ ากร
2. หมอมราชวงศ อดุลยกติ ์ิ กติ ยิ ากร
3. หมอ มราชวงศห ญงิ บุษบา กิตยิ ากร

พระราชสมภพ

ในระหวา งยงั ทรงพระเยาว สถานการณบานเมอื งไมส ูสงบนัก เนื่องจากเพิง่ พน
จากชว งการเปลย่ี นแปลงการปกครองไมนาน เมอื่ พ.ศ.2476 ขณะทหี่ มอ มราชวงศ
หญงิ สริ ิกติ ิ์ มีอายุเพียง 1 ขวบ ก็ตองอยไู กลจากพระบิดามารดา โดยไดต ามเสดจ็
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหวั ไปประทับอยทู ี่จังหวดั สงขลา เมอื่ หมอมเจา
นกั ขตั รมงคลทรงลาออกจากราชการ และกลับมาจากวอชิงตนั ด.ี ซี. ในป พ.ศ. 2477
หมอมราชวงศส ริ กิ ติ ์ิ ซง่ึ ขณะนนั้ อายไุ ด 2 ป 6 เดือน จงึ ไดกลบั มาอยูร วมพรอมหนา กนั
ท้งั ครอบครวั

การศึกษา

พ.ศ. 2479 เมอ่ื หมอมราชวงศหญิงสริ กิ ติ ิ์มีอายไุ ด 4 ขวบ ก็ไดเ ขารบั การศกึ ษา
ครัง้ แรกในชน้ั อนบุ าลทโ่ี รงเรยี นราชนิ ี ทวา ในขณะนั้นแมเหตุการณด า นการเมอื ง
ภายในประเทศไทยจะสงบลง แตสถานการณร ะหวางประเทศกไ็ มส งบ กลา วคอื สงคราม
มหาเอเชยี บรู พาเร่ิมแผขยายมาถงึ ประเทศไทย กรงุ เทพมหานครถูกโจมตีทางอากาศ
หลายครัง้ จนการคมนาคม ไมสะดวก พระบิดาจึงใหห มอมราชวงศส ริ กิ ติ ิ์ยายไปเรยี นที่
โรงเรยี นทน่ี ัน่ ตัง้ แตช น้ั ประถมศึกษา ปท ี่ 2 จนจบชนั้ มัธยมศกึ ษา หมอมราชวงศห ญงิ
สิรกิ ิตไ์ิ ดเ รยี นเปย โน ซง่ึ เรียนไดด ี และเรว็ เปน พเิ ศษ นอกจากนยี้ ังไดศ กึ ษาภาษาองั กฤษ
และภาษาฝรัง่ เศสดวย

ทรงหม้ัน

วนั ท่ี 3 ตุลาคม พ.ศ. 2491 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงประสบอุบัตเิ หตุ
ทางรถยนต ณ ประเทศสวติ เซอรแลนด ทรงเขา รบั การรักษาในโรงพยาบาลแหงหนึง่ โดยมี หมอมหลวงบัว
และหมอ มราชวงศหญิงสิรกิ ติ ิเ์ ขาเฝา ฯ ถวายการพยาบาลอยางใกลช ดิ ตลอดเวลา และในชว งระยะเวลาท่ี
หมอ มราชวงศสิรกิ ติ ิ์อยูเฝาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทส่ี วติ เซอรแลนดน้ัน
สมเด็จพระราชชนนีศรสี งั วาล (พระนามในเวลานั้น) ไดท รงรบั เปนธรุ ะจดั การใหห มอ มราชวงศส ริ ิกิต์ิเขา
ศกึ ษาในโรงเรียน Pensionnat – Riante Rive ซง่ึ เปนโรงเรยี นประจําแหงหน่งึ ของโลซาน ประเทศ
สวติ เซอรแลนด ครั้นเม่อื พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวทรงหายจากอาการประชวนแลวก็ไดทรงหม้นั หมอม
ราชวงศสิรกิ ิต์ิเปน การภายใน เมื่อวันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 หลังจากทรงหม้นั แลว หมอมราชวงศสิริกิต์ิ
ยงั คงศึกษาตอ กระทั่ง พ.ศ. 2493 เมื่อพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เสด็จพระราช
ดําเนินนิวัตพระนคร เพ่ือรว มพระราชพธิ ถี วายพระเพลิง พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั อานันทมหิดล
พระองคทา นโปรดฯ ใหห มอ มราชวงศสริ ิกิติ์ตามเสดจ็ พระราชดาํ เนินกลบั มาดว ย

ทรงอภิเษกสมรส

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา สิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง สะพายนพรตั นร าชวราภรณเ มื่อวันท่ี 28
เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ใหจ ัดการพระราชพธิ ี
ราชาภิเษกสมรสขึ้น ณ วังสระปทมุ และโปรดเกลาฯ สถาปนาหมอ มราชวงศส ิรกิ ติ ์ขิ ึ้นเปน
สมเดจ็ พระราชนิ ีสริ กิ ิติ์ หลงั จากครองราชยส มบัตอิ ยา งกะทันหัน พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว
ภมู ิพลอดุลยเดช ไดโปรดเกลา ฯ ใหม พี ระราชพิธี พระบรมราชาภเิ ษกข้ึนในวันท่ี 5 พฤษภาคม
2493 และโปรดฯ ใหเฉลมิ พระนามาภไิ ธย สมด็จพระราชินสี ริ กิ ิติ์ เปน สมเด็จพระนางเจาสิรกิ ิติ์
พระบรมราชนิ ี หลังจากนนั้ ท้งั สองพระองคไ ดเสดจ็ ฯ กลับไปยังสวิตเซอรแ ลนด เพอื่ รกั ษาพระองค
และทรงศกึ ษาตอ แลว เสด็จฯ กลบั มาอกี คร้งั ในป พ.ศ. 2494

กิจกรรมในวนั แม

1. นําพวงมาลยั ไปกราบแม ขอพร เพ่ือความเปน สิรมิ งคลแกชวี ิต
2. ทาํ บญุ ตกั บาตร และทาํ กิจกรรมสาธารณะประโยชน
3. รวมงาน/จดั กิจกรรมตา งๆ จดั นทิ รรศการ การประกวด เพื่อรําลึกถงึ พระคณุ

แม
4. ประดบั ไฟตามบา นเรือน ประดบั ธงชาติ และธงสญั ลักษณ เพอื่ เปนการเฉลมิ

พระเกียรติ
5. รวมจดุ เทยี นชยั ถวายพระพรชัยมงคล ทีส่ ถานทส่ี ําคัญของสวนราชการใน

คืนวันท่ี 12 สิงหาคม

คําขวญั วนั แมแหง ชาติ ป 2563

สมเดจ็ พระนางเจาสิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯพระราชทานคําขวญั วนั แมแหงชาติ ประจาํ ป 2563 ความวา

“รักเอยรกั ลูก
แมจงึ ปลกู คณุ ธรรมใหรักษา
รดความรักพรวนความดีมีเมตตา
ลกู เติบใหญแ ทนคณุ คาของแผน ดนิ ”

ดอกมะลิ

เปน ทร่ี กู นั วา “ดอกมะลิ” เปนสัญลกั ษณข องวนั แมแ หงชาติ เนื่องจาก ดอก
มะลิถือเปนดอกไมม งคลของไทย ด้ังเดิมคนไทยนิยมนาํ ไปบชู าพระในวันพระ และวนั
สาํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา เพราะมสี ีขาวบรสิ ุทธิ์ และมกี ลิน่ หอมยาวนาน ออกดอกได
ตลอดทง้ั ป รวมถึงการนําไปผลติ เปนกล่นิ ตางๆ ทม่ี ีฤทธิเ์ ปนยาหอมอยา งดีของไทยเรา

ดอกมะลิ เปรยี บเสมอื นความรักอันบริสทุ ธิ์ ที่แมมีตอ ลูก และมีอยางยาวนาน
ตลอดไป เสมือนสแี ละกลิ่นของดอกมะลทิ ่ีมสี ีขาวตลอดเวลา และหอมอบอวลตลอดทงั้
วนั ทัง้ คนื ในประเพณไี ทยการไหวมารดา จึงนิยมใชดอกมะลเิ ปน ดอกไมห ลัก และใน
บางแหง ไดม ีการนาํ ดอกมะลทิ ําเปนเขม็ กลดั ติดที่ปกเสอ้ื เพ่ือแสดงเปน สัญลกั ษณของวนั
แมแ หง ชาติ

จดั ทาํ โดย
นางสาวพรทพิ ย ตังประเสรฐิ รุจี บรรณารักษปฏบิ ัตกิ าร กศน.อาํ เภอราชสาสน

ขอบคุณขอมลู จากเพจ Facebook ส่ือการสอน ครนู เรศ เพ่ือการศึกษา


Click to View FlipBook Version