วัสดุผนัง 1 4 2 3 5 วิธีการดูแลรักษา วัสดุผนัง หน้าที่ของผนัง ประเภทของผนัง การเลือกใช้งานวัสดุ ผนังให้เหมาะสมกับ บ้าน ชนิดและคุณสมบัติ ของวัสดุผนัง
ผนังบ้านจะมีทั้งภายนอกและภายใน โดยผนังภายนอกนั้นคอยปกป้องตัวบ้านจากสภาพอากาศต่างๆ ทั้งแสงแดด ความร้อน กระแสลม สายฝน ส่วนผนังภายในนั้นท าหน้าที่เป็นส่วนแบ่งพื้นที่ใช้สอยต่างๆ ภายในบ้านให้เป็นสัดส่วนตามการใช้สอย เช่น ห้องนอน ห้องนั่งเล่น ห้องครัว เป็นต้น
ผนัง คือ องค์อาคารในแนวดิ่งมีไว้ ส าหรับ ปิด ล้อม แยกหรือป้องกันพื้นที่ให้เป็น สัดส่วนสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะใหญ่ ได้แก่ ผนังภายนอกอาคาร มีหน้าที่คล้ายเกราะป้องกัน สภาวะอากาศต่างๆ ให้กับพื้นที่ภายในอาคาร โดยจะควบคุมการผ่านเข้า-ออกของความร้อน อากาศ เสียง ขณะที่ผนังภายในอาคารท าหน้าที่ แบ่งพื้นที่ใช้สอยต่างๆ โดยผนังภายในอาคาร ควรเป็นผนังที่กันเสียงและสามารถวางงานระบบ เช่น ท่อสายไฟ ท่อประปา เป็นต้น ไว้ภายในผนัง ได้ด้วย
การก่อสร้างผนังอาคาร ซึ่งทั่วไปสามารถแบ่งประเภทของผนังตามลักษณะของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างได้อยู่ด้วยกัน 3 ประเภท ประกอบด้วย 1. ผนังที่ติดตั้งบนโครงคร่าว ผนังประเภทนี้จะเป็น ผนังที่ท าการติดตั้งบนโครงคร่าว โดยโครงคร่าวมีเพื่อเป็นตัวยึดและเพิ่ม ความแข็งแรงให้กับผนัง โครงคร่าวที่ใช้ในการติดตั้งได้แก่ โครงคร่าวไม้ โครงคร่าวเหล็กชุบสังกะสี และโครงคร่าวเหล็ก ซึ่งโครงคร่าวที่กล่าว มาเป็นที่นิยมมาติดตั้งร่วมกับวัสดุต่างๆ เช่น ไม้จริง ไม้อัด ยิปซั่ม บอร์ด ไม้สังเคราะห์ เป็นต้น ผนังประเภทนี้จะมีการขึ้นโครงคร่าวไว้ด้าน ในแล้วจะกรุท าด้วยวัสดุต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นไว้ด้านนอก ลักษณะ ของผนังประเภทนี้จะมี 2 ลักษณะ คือ การติดตั้งโครงคร่าวยึดกับพื้น และคาน และการติดตั้งโครงคร่าวยึดกับผนังคอนกรีต
2. ผนังที่ไม่ติดตั้งบน โครงคร่าวหรือผนังวัสดุก่อ ผนัง ประเภทนี้ท าการก่อสร้างในพื้นที่ โดย วิธีการก่อจะประกอบไปด้วยวัสดุ ได้แก่ อิฐ คอนกรีตบล็อก น ามายึด เป็นผนังด้วยปูนซีเมนต์ ซึ่งการก่อขึ้น รูปผนังที่มีความทนทานต่อแรงอัด และสามารถทนไฟได้ วัสดุก่อส่วน ใหญ่เป็นอิฐมอญ อิฐบล็อก อิฐมวล เบา เป็นต้น
3. ผนังคอนกรีต เป็นการก่อสร้างโดยใช้คอนกรีตเป็น วัสดุหลัก มีความแข็งแรงทนทานเป็น อย่างมาก เนื่องจากมีการใช้เหล็ก เสริมอยู่ด้านในและหุ้มด้วยคอนกรีต ผนังคอนกรีตเป็นการก่อสร้างใน กรรมวิธีใหม่ แต่มีความนิยมน้อย ราคาสูง ผนังประเภทนี้สามารถแบ่ง ออกได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ ผนัง คอนกรีตหล่อในที่ กับผนังคอนกรีต ส าเร็จรูป
วัสดุที่สามารถน ามาเป็นผนังในปัจจุบันมีอยู่หลายชนิด ซึ่งการจ าแนกชนิดของวัสดุจึงต้อง มีการจ าแนกตาม ประเภทของผนัง ตามที่แบ่ง ซึ่งในแต่ละประเภทก็จะมีวัสดุที่ น าไปใช้งานที่แตกต่างกัน เพื่อเป็นแนวทางการพิจารณาใน การน าวัสดุพื้นไปใช้ในการก่อสร้างเราควรที่จะรู้ถึงชนิดและ คุณสมบัติของวัสดุผนัง ดังนั้นจะเรียงชนิดและคุณสมบัติ ตามประเภทของผนังได้ดังนี้
1. ผนังที่ติดตั้งบนโครงคร่าว ผนังประเภทนี้มีวัสดุที่ใช้งานอยู่ด้วยกันหลากหลายขึ้นอยู่การน าไปใช้งาน โครงสร้างของผนัง ประเภทนี้จะมีโครงคร่าวตั้ง(vertical stud) และโครงคร่าวนอน(horizontal stud) เพื่อความแข็งแรง โดยวัสดุที่ติดตั้งบนโครงคร่าว จะมีวัสดุ ดังนี้ 1.1 ผนังไม้จริงหรือฝาไม้ เป็นผนัง อาคารที่เราพบเห็นได้โดยทั่วไป เนื่องจากวัสดุ ไม้เป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในเมืองไทย คุณสมบัติของ ผนังไม้ ติดตั้งง่าย สวยงาม สามารถถ่ายเท อากาศได้ดี ท าสีได้ตามที่ต้องการ ในการติดตั้ง ฝาไม้ที่นิยมทั่วไปมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ แบบตีฝา แนวตั้ง และตีฝาแนวนอน
1 .2 ผนังไม้ไฟเบอร์ซีเมนต์ คือ วัสดุทดแทนไม้ที่ผสมระหว่างเส้นใย เซลลูโรส ผสมกับซิริก้าและปูนซีเมนต์ ปอร์ตแลนด์ เราจึงเรียกว่า ไฟเบอร์ ซีเมนต์ ฉะนั้นคุณสมบัติของผนังชนิด นี้ ได้แก่ไม่บิดตัว, ไม่ผุกร่อน, ปราศจากปลวกกิน, หาง่าย, ราคาถูก , ทนแดดทนฝน และสามารถท าสีได้ เหมือนไม้จริง การประกอบติดตั้ง โดยการใช้สกรูเป็นตัวยึดกับโครง คร่าว มีหลายรูปแบบ เช่น ผนังบังใบ ผนังมีขอบบัวเซาะร่อง เป็นต้น ผนังไฟเบอร์ซีเมนต์แบบเซาะร่อง ผนังไฟเบอร์ซีเมนต์แบบแผ่น
1.3 ผนังไม้สังเคราะห์กลวง Wood Plastic Composite (WPC) เป็นไม้เทียม นวัตกรรมใหม่ของงานผนัง คุณสมบัติมีความ ทนทาน ไม่ผุกร่อน ทนแดดทนฝน ปลวกไม่กิน ตอบรับกับยุคสมัยใหม่ ด้วยส่วนผสมระหว่างไม้ และพลาสติก PVC ท าให้มีผิวสัมผัสและสีที่เป็น ธรรมชาติ ไม่ซีดจาง ไม่ว่าจะเป็นงานผนังภายใน หรือผนังภายนอก ผนังชนิดนี้มีความสะดวกใน การติดตั้ง รวดเร็ว และง่าย ช่วยประหยัด ค่าใช้จ่ายในการท างาน การดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก อายุการใช้งานยาวนาน และเพิ่มความมีระดับ ให้กับการตกแต่งบ้าน ผนังไม้สังเคราะห์กลวง แบบเกล็ด ผนังไม้สังเคราะห์กลวง แบบแผ่น
1 .4 ผนังไม้อัด เกิดจากการรวมไม้หลายๆ ชนิดเข้าด้วยกัน หรือท าจากไม้ชนิดเดียวกัน โดย การตัดท่อนซุงให้มีความยาวตามที่ต้องการ แล้ว กลึงปอกท่อนซุง หรือฝานให้ได้แผ่นไม้เป็นแผ่น บางๆ แล้วน ามาอัดติดกันโดยใช้กาวเป็นตัว ประสานโดยให้แต่ละแผ่นมีแนวเสี้ยน ตั้งฉากกัน แผ่นไม้จะถูกอบแห้งในเตาอบ โดยปกติจะติดตั้งใน ส่วนของผนังภายใน คุณสมบัติติดตั้งง่าย หาซื้อ ได้สะดวก ขนาดของไม้อัดเป็นขนาดมาตรฐานจาก โรงงานคือ 4 x 8 ฟุต ความหนาที่นิยมใช้ท าผนัง คือ 8,10,15,20 มม. ผลิตจากไม้ยาง, ไม้สัก เป็นต้น แผ่นไม้อัดยาง การติดตั้งผนังไม้อัด
1 .5 ผนังยิปซั่มบอร์ด เป็นวัสดุ ผลิตจากผงแร่ยิปซั่มแล้วใช้กระดาษ เหนียวชนิดพิเศษยึดประกบผิว ความ หนาที่นิยมใช้ในการติดตั้งผนังคือ 9,12 มม. ขนาดที่ใช้งาน 1.20 x 2.40 ม. ผนังชนิดนี้มีหลายประเภทให้เลือกใช้งาน เช่น ผิวเรียบ ชนิดทนความชื้น ชนิดดูด ซับเสียง หรือชนิดทนไฟ เป็นต้น คุณสมบัติของผนังยิปซั่มบอร์ด น้ าหนัก เบา ตัด เจาะ ซ่อมแซม ติดตั้งง่าย สามารถดัดโค้งได้ดัง แผ่นยิปซั่มบอร์ด การติดตั้ง ผนังยิปซั่มบอร์ด
1 . 6 ผนังไม้อัดซีเมนต์ ผลิตจาก ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ผสมกับไม้สกัด ย่อยชิ้นเล็ก คุณสมบัติ ปลวกไม่กิน มีความแข็งแรง ทนต่อความชื้นได้ พอสมควร ผิวหน้าเรียบติดตั้ง สะดวกใช้งานได้ทั้งภายในและ ภายนอกสามารถทาสีทับผิวหน้าได้ ขนาด 1.20 x 2.40 ม. ความหนา ที่ใช้งานผนัง 8,10,12 มม. แผ่นไม้อัดซีเมนต์ ขนาดความหนาของแผ่น ไม้อัดซีเมนต์
1 . 7 ผนังกระเบื้องแผ่นเรียบ ซึ่งชื่อเต็ม ว่ากระเบื้องซีเมนต์ใยหินแผ่นเรียบ (asbestos cement sheet) เป็นวัสดุก่อสร้างพื้นฐานที่ รู้จัก และใช้กันมาเป็นเวลานาน มีคุณสมบัติ คือ แข็งแรง ไม่ติดไฟ ทนต่อน้ า และความชื้น จึงสามารถใช้งานได้ทั้งภายนอกและภายใน ใน ปัจจุบันนิยมใช้น้อยลง เนื่องจากผนังชนิดนี้มี การผสมใยหินส่งผลอันตรายต่อสุขภาพ จึงมี วัสดุที่คล้ายคลึงกันผลิตขึ้นมาทดแทน แต่ก็ยัง มีบางพื้นที่ใช้งานอยู่เนื่องจากคุณสมบัติที่เด่น คือ ทนน้ าได้ดีจึงยังเป็นที่นิยมอยู่ แผ่นกระเบื้องซีเมนต์ใย หินแผ่นเรียบ ลักษณะของกระเบื้อง ซีเมนต์ใยหินแผ่นเรียบ
1 .8 ผนังอลูมิเนียม หรือ แผ่น ผนังอลูมิเนียมชีท เป็นวัสดุผนังอีก หนึ่งชนิดที่นิยมใช้งาน ผลิตจาก อลูมิเนียมแผ่นแล้วน ามาขึ้นรูปให้เป็น ลอน ซึ่งลักษณะของวัสดุจะเป็นแผ่น ผนังลอนต่ า โดยมีลวดลายเส้นลอน ขนาดเล็ก มีความสูงของลอนต่ ากว่า ลอนหลังคามาก คุณสมบัติวัสดุมี น้ าหนักเบา ติดตั้งง่าย ราคาถูก กันสนิม มีความคงทน และสวยงาม ผนังอลูมิเนียม ลักษณะของการ ติดตั้งผนังอลูมิเนียม
1.9 ผนังกระจก ด้วยวิทยาการปัจจุบันเราสามารถพัฒนาการก่อสร้างจนสามารถน ากระจกมาใช้ผนังได้แล้ว ผนังกระจกนิยม ติดตั้งในอาคารสูง ส านักงาน ร้านค้าในห้างสรรพสินค้า เป็นต้น คุณสมบัติ มีความสวยงามโอ่โถง ดูสบายตา ซึ่งผนังชนิดนี้มีวิธีการ ติดตั้งอยู่ 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) กระจกยึดติดกับกรอบเพียง 2 ด้าน(two-side support) ซึ่งมักจะยึดที่พื้น หรือเพดานส่วนอีก 2 ด้านที่เหลือปล่อยให้ชิดกับกระจกแผ่นอื่นๆ การยึด ติดกระจกแบบนี้จะมีปัญหาเรื่องการแอ่นตัวของ กระจก ซึ่งสามารถป้องกันแก้ไขโดยเพิ่มความหนา ของกระจกหรือเปลี่ยนการยึดติดกระจกเป็น 3 ด้าน หรือ 4 ด้าน ตามความเหมาะสม
2) กระจกยึดติดกับกรอบเพียง 3 ด้าน (three-sided support)กระจกจะยึดกับกรอบ 3 ด้าน อีกด้านหนึ่งอาจจะ วางลอยๆ หรือต่อกับกระจกแผ่นอื่นๆ ซึ่งมีความแข็งแรง กว่าแบบแรก 3) กระจกยึดกับกรอบ 4 ด้าน (four-sided support)กระจกจะยึด กับกรอบ 4 ด้าน เป็นการผนังกระจกติดตั้งที่แข็งแรงที่สุด ในการ ติดตั้งผนังกระจกนั้นควรหาช่างที่มีความช านาญมาติด ส่วนผนังที่เป็น กระจกโค้งนั้น ก็สามารถท าได้ เพียงแต่มีราคาแพง และต้องอาศัย ความช านาญในการติดตั้งมากเป็นพิเศษ เมื่อเสียหายก็ยากต่อการ ซ่อมแซม
2. ผนังที่ไม่ติดตั้งบนโครงคร่าวหรือผนังวัสดุก่อ ผนังประเภทนี้มีวัสดุที่ใช้งานอยู่ด้วยกัน หลากหลายขึ้นอยู่การน าไปใช้งาน และเป็นผนังที่นิยมในการก่อสร้าง เนื่องจากมีความแข็งแรง คงทน โดยผนังประเภทจะต้องปฏิบัติในพื้นที่ก่อสร้าง วัสดุที่น ามาใช้ในผนังที่ไม่ติดตั้งบนโครงคร่าว หรือผนังวัสดุก่อ ได้แก่ 2.1 อิฐมอญ คือ อิฐที่ท าจากดินเหนียวผสมกับ แกลบหรือวัสดุอื่นผสมน้ านวดเคล้าให้เข้าเป็นเนื้อ เดียวกันแล้วใส่เข้าแม่พิมพ์ โดยโรยแกลบบนลานดิน ภายในแม่พิมพ์ก่อน เพื่อป้องกันไม่ให้ดินผสมติดกับ แม่พิมพ์ ผึ่งให้แห้งหรือพอหมาด แล้วเอาเข้าเตาเผาจน สุก อิฐมอญใช้ส าหรับงานก่อผนังมีขนาดกว้าง 5.5 ซม. ยาว 14 ซม. และหนา 3 ซม. ลักษณะของอิฐมอญ ลักษณะการก่ออิฐมอญ
2 .2 อิฐขาว ท าจากปูนขาวและทรายผสมกัน อัด ด้วยเครื่องจักรแล้วน าไปอบในความร้อนสูง อิฐขาวเป็นอิฐ ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทนอิฐมอญและอิฐบล็อกเหมาะ ส าหรับงานก่อสร้างทุกชนิด เป็นอิฐที่ใช้ในยุโรปและอเมริกา อิฐขาวเป็นอิฐที่มีความแข็งแรง เนื้ออิฐมีความหนาแน่น มาก ป้องกันความร้อนได้ดี มีน้ าหนักเบาและประหยัด โครงสร้าง ขนาดของอิฐขาว กว้าง 11 ซม. ยาว 24 ซม. และหนา 6.8 ซม. ลักษณะของ อิฐขาว ลักษณะการก่ออิฐขาว
2.3 อิฐประดับ หรือเรียกอีกชื่อว่า “อิฐโชว์”เป็นการผลิตด้วยหินเกล็ดกรวด ทรายซิลิก้าสีต่างๆ ปูนซีเมนต์ และสารเคมีหลายชนิดผสมกันแล้วอัดด้วยเครื่องอัดแรง มีคุณสมบัติแข็งแกร่ง ไม่แตกง่าย โดยปกติจะมีขนาด กว้าง 6 เซนติเมตร ยาว 16 เซนติเมตร และหนา 5เซนติเมตร ในงานก่อนิยมใช้ในการก่อสร้างผนังให้สวยงาม ซึ่งมีให้ เลือกหลายรูปแบบ
2.4 อิฐทนไฟ เป็นอิฐที่ท ามาจากดินเหนียวผสมอลูมิน่า และซิลิก้า เป็นก้อนสี่เหลี่ยมรูปทรงคล้ายอิฐมอญแต่มีขนาดที่ใหญ่กว่า มี คุณลักษณะทนความร้อนสูงตั้งแต่ 1,000 องศาเซลเซียสขึ้นไป นิยม น าไปใช้ในงาน เตาหล่อโลหะ เตาเผาอิฐ เมรุเผาศพ เตาเผาเซรามิก เป็น ต้น โดยมีขนาดที่ใช้ในท้องตลาดหลายขนาด ลักษณะรูปทรง เบอร์อิฐ ขนาด(มม.) ความหนา ความสูง ความยาว สี่เหลี่ยม ST-76 76 115 230 ST-64 64 115 230 สี่เหลี่ยมยาว SP-50 50 115 230 SP-38 38 115 230 SP-32 32 115 230 SP-25 25 115 230 กลีบส้ม SA-70 70 115 230 SA-64 64 115 230 SA-50 50 115 230 หัวขวาน EA-70 70 115 230 EA-64 64 115 230 EA-50 50 115 230 ลิ่ม KE-100 100 76 230
2.5 อิฐโปร่ง หรือโดยทั่วไปเรียกว่า “อิฐกลวง” เป็นวัสดุก่อที่มีส่วนผสมในการ ผลิตเช่นเดียวกับอิฐมอญ แต่มีการเจาะรูภายในท าให้กลวง เพื่อให้มีน้ าหนักเบาและ สามารถให้ลม และแสงผ่านได้ ประเภท ขนาด (มม.) ความหนา ความสูง ความยาว อิฐกลวงรับน ้าหนัก 90 90 290 140 90 290 90 190 290 140 190 290 อิฐกลวงไม่รับน ้าหนัก 90 90 290 140 90 290 90 190 290
2.6 อิฐแก้ว หรือเรียกว่า “บล็อกแก้ว” ผลิตมาจากแก้ว คุณสมบัติใช้ใน การก่อก าแพงโดยต้องการแสงสว่างเพียงอย่างเดียว ไม่ต้องการให้ลมหรือ เสียงเล็ดลอดเข้ามา ในการก่ออิฐแก้วท าในลักษณะเดียวกันกับการก่ออิฐ โดยทั่วไป ขนาด 190 x 190 x 80 มม. 190 x 190 x 100 มม. น้้าหนัก/ก้อน 2.20 กก. 2.60 กก. จ้านวนก้อน/ตารางเมตร 25 ก้อน / ตร.ม
2.7 ซีเมนต์บล็อก หรือที่เราเรียกกันว่า “คอนกรีตบล็อก” หรือ“อิฐบล็อก”มีคุณสมบัติใช้ในการก่อผนัง ก่อก าแพง ที่มีการ พัฒนาขึ้นมาเพื่อเสริมจุดเด่นให้ดีกว่าอิฐมอญ เช่น ก่อได้ รวดเร็วกว่า แข็งแรง ทนทาน จ านวนปริมาณต่อตาราง เมตรใช้น้อยกว่า เนื่องจากมีขนาดที่ใหญ่กว่าอิฐมอญ ซีเมนต์ บล็อกนิยมใช้กับงานก่อผนังอาคาร ก าแพงบ้าน รั้ว สามารถใช้ได้ทั้งภายในและภายนอกอาคาร นอกจากนี้ยังมี ซีเมนต์บล็อกที่ผลิตให้มีช่องแสงหรือช่องลม และมีการเพิ่ม ลวดลายต่างๆ โดยสามารถเลือกหาซื้อได้ทั่วไปตามท้องตลอด หรือร้านวัสดุก่อสร้าง ซึ่งซีเมนต์บล็อกแบบมีช่องเราเรียกว่า “ปรือ” บล็อกปรือ ซีเมนต์บล็อก
2 .8 คอนกรีตบล็อกมวลเบา หรือที่เรียกกันว่า “อิฐมวลเบา” เป็น วิวัฒนาการของการพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุอีกขั้นหนึ่ง การพัฒนาคอนกรีต บล็อกมวลเบาจนมีการผลิตออกมาใช้งาน ก็เพื่อประโยชน์ต่อการรับน้ าหนัก ของโครงสร้างอาคาร เนื่องจากโครงสร้างอาคารปัจจุบันมีทั้งขนาดใหญ่ และสูง ผนังของอาคารก็มีจ านวนมากขึ้น ซึ่งถ้าท าให้น้ าหนักของผนังเบาลง ได้ก็จะมีผลต่อการออกแบบโครงสร้างให้ประหยัดได้ คอนกรีตบล็อกมวลเบาเป็นการผลิตจากส่วนผสมได้แก่ ปูนซีเมนต์ ปูนขาว ทรายละเอียด น้ า ผงอลูมิเนียม และสารผสม เพิ่ม เช่น สารเพิ่มฟองอากาศ โดยหลังจากผสมกันแล้วจะท าให้เกิดช่อง อากาศเล็กๆ เป็นรูพรุนที่ต่อเนื่อง เป็นผลท าให้น้ าหนักเบาซีเมนต์บล็อก ชนิดนี้เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า “คอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศอบ ไอน้ า” อิฐมวลเบา ลักษณะการ ก่อผนังอิฐ มวลเบา
„ ในการน ามาใช้เป็นดินลูกรังแดงที่มีทรายปน มีสนิมเหล็กปน และมีดินเหนียวปน ดินชนิดนี้เมื่อแห้งจะร่วนและสามารถแตก เป็นก้อนเล็กๆ ได้ง่าย แต่เมื่อถูกน้ าจะจับตัวเป็นก้อน แต่ไม่ เหนียวติดมือ ดินลูกรัง „ สามารถใช้แทนดินลูกรังได้ หินชนวนผุเป็นหินชิ้นเล็กๆ สีเทา ไม่แข็งมาก หินชนิดนี้เมื่อน ามาใช้จะต้องบดให้มีขนาดคละกัน ลักษณะการดูดซึมน้ าจะมีมากกว่าบล็อกที่ใช้ดินลูกรังแดงเป็น ส่วนผสม หินชนวน „เป็นวัสดุอีกชนิดที่เหมาะส าหรับใช้ในการผสมท าดินซีเมนต์บล็อก ศิลาแลงจะมี ลักษณะเป็นสีน้ าตาลมีขนาดค่อนข้างโต เมื่อน ามาใช้งานจะต้องบด วัสดุชนิดนี้มี ปริมาณธาตุเหล็กซึ่งเป็นเหตุให้การจับตัวของปูนซีเมนต์ดังนั้นในการท าบล็อกจึง จะต้องเพิ่มส่วนของซีเมนต์ขึ้นอีกเล็กน้อยเป็น 1:7 ผิดกับวัสดุประเภทดินลูกรัง และหินชนวน ซึ่งใช้อัตราส่วน 1 : 8 ศิลาแลง บล็อกประสาน 2.9 ดินซีเมนต์บล็อกหรือบล็อกประสาน เป็นวัสดุก่อสร้างที่ท ามาจากดินลูกรัง ศิลาแลง หรือหินชนวนอย่างใดอย่างหนึ่ง น ามาผสมหินฝุ่น ทราย ปูนซีเมนต์ และน้ า โดยน ามาผสมให้เข้ากันตามอัตราส่วนที่ก าหนด เมื่อผสมเรียบร้อย ก็น าเข้าเครื่องอัด เพื่อให้เป็นก้อน และบ่มให้แข็งตัวประมาณ 10 วัน ก็จะได้ดินซีเมนต์ที่แข็งแรงมีรูปทรงเป็นก้อนสี่เหลี่ยมหรือโค้ง โดยมีลักษณะเป็นรูและมี เดือยบนตัวบล็อกเพื่อสะดวกในการใช้งาน
3. ผนังคอนกรีต เป็นวัสดุผนังที่เกิดขึ้นมาใหม่มีทั้งแบบหล่อขึ้นเองและแบบส าเร็จรูปที่เป็นที่นิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งผนังประเภทนี้ มีความแข็งแรง คงทน โดยผนังคอนกรีต มีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ 3.1 ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ เป็นผนังที่มีความ แข็งแรงมาก มีราคาสูงส าหรับใช้เพื่อจุดประสงค์ในการรับน้ าหนัก มากเป็นพิเศษ เช่น ผนังห้องใต้ดิน ผนังช่องลิฟต์โดยสาร เป็นต้น แต่ในส่วนผนังอาคารพักอาศัยไม่ค่อยนิยมใช้งานมากนัก ผนังชนิดนี้ มีหน้าที่รับน้ าหนักในแนวดิ่งและต้านน้ าหนักแรงดันทางด้านข้าง ผนังชนิดนี้ต้องมาสร้างแบบหล่อในพื้นที่หน้างาน ดังนั้น ต้อง ออกแบบผนังคอนกรีตเสริมเหล็กให้หนา เพียงพอที่จะเทคอนกรีต ลงได้ง่าย และต้องเสริมเหล็กให้แข็งแรง คุณสมบัติ มีความคงทน เป็นอย่างมาก ป้องกันน้ าได้ดี ทนต่อสภาพอากาศได้เยี่ยม เหล็กโครงสร้างของ ผนังหล่อในที่ ลักษณะของผนัง คอนกรีตหล่อในที่
3.1 ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อใน แบบหล่อของผนัง หล่อในที่ ลักษณะของผนัง คอนกรีตหล่อในที่
3.2 ผนังคอนกรีตส้าเร็จรูป หรือ ผนังPrecast เป็นระบบ การก่อสร้างผนังอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อส าเร็จ มักใช้กับ งานอาคารที่เป็นโครงการ เช่น โครงการหมู่บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม ที่มีรูปแบบอาคารเหมือนกันในจ านวนมาก เพื่อหล่อ ชิ้นส่วนของอาคารล่วงหน้า เมื่อถึงช่วงการก่อสร้างจึงท าการ ขนส่งเพื่อติดตั้งที่หน้างาน ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กส าเร็จรูป มี คุณสมบัติมีความแข็งแรงทนทานเหมือนกับผนังก่ออิฐ แต่สามารถ ติดตั้งได้เร็ว ใช้คนน้อย แต่ยากต่อการดัดแปลง ทุบ เจาะ ต่อเติม เนื่องจากผนังคอนกรีตเสริมเหล็กมีความแข็งแรงมาก แต่ก็ยัง สามารถตกแต่งผิวหน้า ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กส าเร็จรูป สามารถใช้เป็น “ผนังกั้นห้อง” ได้เช่นกัน แบบหล่อผนัง คอนกรีตส าเร็จรูป ลักษณะของผนัง คอนกรีตส าเร็จรูป
3.2 ผนังคอนกรีตส้าเร็จรูป หรือ ผนังPrecast การเคลื่อนย้ายผนัง คอนกรีตส าเร็จรูป ลักษณะการติดตั้ง ของผนังคอนกรีต ส าเร็จรูป ลักษณะการติดตั้ง ของผนังคอนกรีต ส าเร็จรูป
ผนังของบ้านพักอาศัย ดูมั่นคงและแข็งแรง เพราะเราใช้มันเป็นตัวแบ่งกั้นพื้นที่ใช้งานระหว่างภายในและ ภายนอก ท าให้ผู้ที่อาศัยในบ้านเกิดความปลอดภัย เป็นตัวบัง แดด ลมฝน นอกจากนี้ผนังยังให้ความสวยงาม ในการ ตกแต่งภายในบ้าน แต่จะเลือกให้เหมาะสมกับการใช้งาน สภาพแวดล้อมและสไตล์ของบ้าน ดังนั้นจึงต้องมีความเข้าใจ ในวัสดุผนังเพื่อการเลือกใช้งานได้อย่างเหมาะสม ดังนี้
ลักษณะของผนังไม้แนวตั้ง 1. ผนังไม้จริง การตกแต่งบ้าน ด้วยไม้จริงยังคงเป็นสิ่งที่คลาสสิค มีความ อบอุ่น ผนังไม้จริงเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยที่จะช่วย สร้างบรรยากาศในบ้านให้มีความอบอุ่น แถม ลวดลายของไม้ที่ดูมีเอกลักษณ์ สวยงาม การ ท าผนังตกแต่งด้วยการตีผนังไม้มักนิยมท าในสอง รูปแบบ คือ แนวตั้งและแนวนอน ซึ่งให้อารมณ์ ของบ้านที่แตกต่าง ลักษณะของผนังไม้แนวนอน
ลักษณะของผนังไม้ สังเคราะห์ภายนอกอาคาร 2. ผนังไม้สังเคราะห์ลักษณะผนัง ชนิดนี้เป็นผนังบ้านพักอาศัยที่นิยม สามารถติดตั้ง ได้ทั้งภายในและภายนอกอาคาร และยังช่วย เสริมสร้างบรรยากาศความอบอุ่นให้การตกแต่ง ภายในบ้านสมัยนี้ ผนังชนิดนี้มีทางเลือกใหม่คือการ ใช้ไม้เทียมหรือไม้สังเคราะห์ เช่น ผนังไฟเบอร์ ซีเมนต์ ผนังไม้สังเคราะห์กลวง Wood Plastic Composite (WPC) เป็นต้น ลักษณะของผนังไม้ สังเคราะห์ภายในอาคาร
2. ผนังไม้สังเคราะห์ รูปแบบของผนังไม้ สังเคราะห์ ลักษณะของผนัง ไม้สังเคราะห์ ลักษณะของผนัง ไม้สังเคราะห์ ลักษณะการ ติดตั้งของผนังไม้ สังเคราะห์
ลักษณะของผนังยิปซั่ม บอร์ดหรือผนังเบา 3. ผนังชนิดวัสดุแผ่น ได้แก่ ผนังไม้อัด ผนังยิปซั่มบอร์ด ผนังไม้อัดซีเมนต์ เป็นต้น ผนังชนิดนี้มีอยู่หลายชนิดแยกย่อย ตามลักษณะการน าไปใช้งาน ได้แก่ ลักษณะของผนังยิปซั่ม บอร์ดหรือผนังเบา 3.1 ผนังยิปซั่มบอร์ดหรือผนังเบา เป็นผนังที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบันเพราะมีน้ าหนักเบา ประหยัด และติดตั้งได้รวดเร็ว ในการติดตั้งผนังเบา ต้องค านึงถึงต าแหน่งสวิทซ์และปลั๊กไฟต่างๆ ให้ ครบถ้วน เพราะหากต้องการติดเพิ่มเติมที่หลังนั้น จะ มีความยุ่งยากมากและอาจท าให้เกิดความเสียหายกับ ผนังขึ้นได้ นิยมใช้กับงานกั้นห้องต่างๆ ภายในบ้าน และเป็นผนังตกแต่งที่เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ เช่น ห้องนอน
3.1 ผนังยิปซั่มบอร์ดหรือผนังเบา ลักษณะของโครง เคร่าอลูมิเนียม ผนังยิปซั่มบอร์ด การติดตั้งผนัง ภายในอาคารของ ผนังยิปซั่มบอร์ด 3. ผนังชนิดวัสดุแผ่น ลักษณะของโครง เคร่าไม้ ผนังยิปซั่ม บอร์ด
ลักษณะของกัน เสียง ลักษณะของ แผ่นอคูสติก 3.2 ผนังกันเสียงหรือแผ่นอคูสติก คือ ระบบผนังกรุทับกันเสียงรบกวนจากภายในห้องไม่ออกมาด้านนอก ห้อง เหมาะส าหรับใช้เป็น ผนังห้องดนตรี ห้องพักผ่อน เพราะจะช่วยให้เสียงไม่ไปรบกวนด้านนอก และเพิ่มความเป็นส่วนตัว ให้กับผู้อยู่อาศัย รวมถึงยังใช้ได้กับห้องเรียน โดยผนังชนิดนี้จะช่วยป้องกันเสียงดังระหว่างห้องได้อย่างดี
3.2 ผนังกันเสียงหรือแผ่นอคูสติก ลักษณะของการ ติดตั้งผนังกัน เสียง ห้องดูนั่ง ติดตั้ง ผนังกันเสียงเพื่อ ป้องกันเสียง รบกวน 3. ผนังชนิดวัสดุแผ่น ลักษณะของห้องที่ติดตั้ง ผนังกันเสียง
ลักษณะของแผ่นผนัง ฉนวนกันความร้อน ลักษณะของการ ติดตั้งผนังฉนวนกัน ความร้อน 3.3 ผนังฉนวนกันความร้อน คือ ระบบผนังตีโครงคร่าวติดฉนวนกันร้อนเหมาะส าหรับใช้กับผนังที่โดน แสงแดดประจ า หรือต้องการอยากช่วยให้ห้องมีอุณหภูมิที่ไม่สูงมาก ก็สามารถติดตั้งผนังชนิดนี้ได้ เช่น ผนังกั้นห้องนั่งเล่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องท างานในอาคาร ที่อาจต้องการผนังกันความร้อน
ลักษณะของผนังกัน ความชื้น ลักษณะของ ผนังกันความชื้น 3.4 ผนังกันความชื้น คือ แผ่นยิปซั่มบอร์ด มีระบบฉนวนกันความชื้นเหมาะส าหรับใช้งานเป็น ผนังกั้นห้องน้ า เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราบนผนังห้อง รวมถึงในห้องที่เสี่ยงต่อความชื้น อีกห้องคือห้องครัวที่ควรเลือกใช้ผนังกันชื้น เช่นกัน
ลักษณะของ ผนังกระจก ส าหรับร้านค้า ลักษณะของผนัง กระจกส าหรับ บ้านพักอาศัย 4. ผนังกระจก เป็นผนังนิยมเลือกใช้กับบ้านที่ต้องความความโปร่งโล่ง ทันสมัย หรือพื้นที่ในส่วนต้องการแสดง สินค้า เช่น ร้านค้า Showroomรถยนต์ ที่ต้องการโชว์สินค้าที่ขาย ร้านอาหารหรือร้านกาแฟ ที่ต้องการความสบายและ ทัศนวิสัยชัดเจน
สร้างบรรยากาศให้ เห็นภายนอกอย่าง ชัดเจน ลักษณะผนัง กระจกดูโปร่ง โล่งสบาย มองเห็นธรรมชาติ สบายตา 4. ผนังกระจก
ลักษณะของผนัง ก่ออิฐโชว์แนว ลักษณะของ ผนังงานลอฟท์ 5. ผนังก่ออิฐ ผนังแบบนี้สามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามบ้านพักอาศัย และอาคารต่างๆ เพราะเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ง่าย และยังมีราคาถูกอีกด้วย ผนังก่ออิฐมีทั้งแบบก่ออิฐโชว์แนวและผนังก่ออิฐฉาบปูน วัสดุที่น ามาใช้ ได้แก่ อิฐมอญ ซีเมนต์บล็อก อิฐประสาน อิฐมอญเบา อิฐประดับ เป็นต้น สามารถเป็นได้ทั้งผนังภายในและผนังภายนอกอาคาร และถ้าก่ออิฐโชว์แนวก็ดูจะ สวยงามไปอีกแบบหนึ่งด้วย หรือการตกแต่งภายในบ้านสไตล์อินดัสเทรียลลอฟท์ เป็นต้น