The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมร
อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้เขียน : สมบัติ ประจญศานต์
สนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยราชภักบุรีรัมย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sombat_pra, 2022-04-22 07:21:11

Revitalizing of Thai-Khmer Mudmee Fabric in Prakonchai District, Burriram Province

คู่มือถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมร
อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้เขียน : สมบัติ ประจญศานต์
สนับสนุนโดย มหาวิทยาลัยราชภักบุรีรัมย์

Keywords: Ikat,Silk,Textile,Buriram,Mudmee

คมู่ ือถา่ ยทอดความรกู้ ารฟนื้ ฟผู า้ มัดหม่ีไทยเขมร
อาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรัมย์

(Revitalizing of Thai-Khmer Mudmee Fabric in

Prakonchai District, Burriram Province)

รองศาสตราจารย์สมบตั ิ ประจญศานต์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย์

ไดร้ ับทนุ อุดหนุนจาก
โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพอ่ื การพัฒนาท้องถิ่น

ประจาปงี บประมาณ 2565

ผา้ มดั หมไ่ี ทยเขมร
อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี ัมย์

Thai-Khmer Mudmee Silk Fabric in
Prakonchai District, Burriram Province

คูม่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟผู ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

คานา

โครงการวิจัยการฟื้นฟผู า้ มดั หม่ีไทยเขมรอาเภอประโคนชัยจังหวดั บุรีรัมย์
ได้รับทุนอุดหนุนตามโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนา
ท้องถ่ิน ประจาปีงบประมาณ 2565 จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ได้
ดาเนินการสาเร็จลุล่วงด้วยดี ผู้เขียนขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ราชภัฏบุรีรัมย์ รวมถึงบุคลากรของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในการอานวย
ความสะดวกด้วยดี และขอบพระคุณกลุ่มผู้ผลิตบ้านหนองม่วง หมู่ที่ 12 ตาบล
บ้านไทรและบ้านโคกปราสาทพัฒนา หมู่ท่ี 12 ตาบลละเว้ีย อาเภอประโคนชัย
จังหวัดบุรีรัมย์ ในการให้ความอนุเคราะห์ร่วมดาเนินกิจกรรมตลอดโครงการ
รวมถึงสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
ประโคนชยั ในความอนุเคราะหใ์ ห้คาแนะนาและรว่ มกิจกรรมกบั โครงการดว้ ยดี

ผู้เขียนหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ คู่มือองคค์ วามรู้เพ่อื การใช้ประโยชน์จรงิ ฉบับนี้
จะอานวยประโยชน์แกผ่ ผู้ ลิต ผสู้ นใจศึกษา ค้นควา้ ออกแบบและนาไปสู่การฟื้นฟู
อนรุ กั ษแ์ ละต่อยอดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมมัดหมี่ทอมือของกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุไทย
เขมรให้ดารงคงอยู่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชมุ ชนท้องถนิ่ และของชาตสิ ืบไป

รองศาสตราจารย์สมบตั ิ ประจญศานต์
เมษายน 2565

1

คูม่ อื ถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟผู ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรมั ย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

สารบัญ หน้า

คานา 1
สารบัญ 2
บทคดั ย่อ 3
1. ความนา 4
2. ผ้าทอมือในวัฒนธรรมไทยเขมร 6
3. ลวดลายมดั หมบี่ ้านหนองมว่ ง 9
4. ลวดลายมดั หมบ่ี ้านโคกปราสาทพัฒนา 19
5. ผลงานการผลิตผ้าไหมมดั หมไี่ ทยเขมร 32
บรรณานกุ รม 59
ประวัตผิ เู้ ขียน 60

2

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟนื้ ฟผู า้ มัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

บทคดั ยอ่

บุรีรัมย์เปน็ จังหวดั ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนล่างทีม่ ีความหลากหลายทาง
ชาติพันธ์ุ ประชากรท่ีอาศัยในชุมชนบ้านหนองม่วง และบ้านโคกปราสาทพัฒนา อาเภอ
ประโคนชัย ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเขมรท่ยี ังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณีทีเ่ ป็นอตั ลักษณ์ไว้
อย่างเหนียวแน่น รวมถึงการผลิตผ้าทอมือด้วยภูมิปัญญาท่ีสืบทอดจากบรรพบุรุษ แต่ใน
ปัจจุบัน กลุ่มทอผ้านิยมผลิตผ้าไหมมัดหม่ีลวดลายแบบไทยลาวเพ่ือสนองความต้องการ
ของตลาด และนโยบายสง่ เสริมการใช้ผ้าเอกลกั ษณ์ประจาจังหวัด หากท้ิงไวน้ านวันอาจทา
ให้เกิดการสูญหายของภูมิปัญญาการผลิตผ้าไหมมัดหม่ีแบบไทยเขมร โครงการนี้มี
วัตถุประสงค์เพ่ือเพิ่มผู้สืบทอดภูมิปัญญาการผลิตภายในชุมชน และเพ่ือพัฒนาผ้ามัดหมี่
แบบไทยเขมรด้ังเดิมสูส่ ินค้าทางวฒั นธรรมเชงิ อนุรกั ษ์ โดยดาเนนิ การวจิ ยั ถอดองคค์ วามรู้
ลวดลาย สีสันของผ้ามัดหม่ีด้ังเดิม บันทึกลายผ้า ปฏิบัติการฟื้นฟูการผลิต ติดตามการ
ผลิตในพื้นที่ จัดเวทีสรุปบทเรียนโครงการ และประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เผยแพร่ในส่ือ
ออนไลน์ ผลการวิจัยระบุว่า ลวดลายมัดหม่ีแบบไทยเขมรด้ังเดิมมีจานวน 21 ลาย ชื่อ
ลายมีไว้เปน็ เสมือนรหสั ใช้ในการส่ือสาร จดจาและถ่ายทอดการผลติ จากผถู้ ่ายทอดโดยไม่
มีการบอกเล่าที่มาหรือความหมายของลายน้ันแก่ผู้รับการถ่ายทอด ส่วนการให้ลวดลาย
ทาหน้าที่สื่อความหมายจะเร่ิมคิดหาภายหลังตามหลักการสร้างเร่ืองราวผลิตภัณฑ์เพื่อ
สื่อสารกับผู้บริโภค โครงสร้างของผ้ามัดหม่ีแบ่งเป็นหัวซ่ิน ตัวซิ่น และตีนซ่ิน วางลาย
มัดหม่ีใช้การซ้าของลายเดียวกันหรือหลายลายจนเต็มผืนผ้าแทบจะไม่มีท่ีว่างแสดงถึง
ความวิริยะอุตสาหะของช่างมัดหม่ีสะท้อนถึงคุณสมบัติของผู้หญิงที่ควรแก่การออกเรือน
ลายสว่ นใหญเ่ กิดจากการคน้ หมี่แบบหมรี่ วด ทาให้การก่อรูปของลายมที ิศทางแบบสะทอ้ น
กลับในแต่ละซ้า โครงการนี้ทาการบันทึกลวดลายมัดหม่ี จานวน 24 ลาย และฟ้ืนฟูการ
ผลิตผ้าไหมมัดหม่ีลวดลายแบบไทยเขมรด้ังเดิม จานวน 11 ผืน และมีข้อเสนอแนะให้
ชุมชนควรเร่งพัฒนามาตรฐานและคุณภาพของผ้า เพื่อยกระดับจากผลิตผลท่ีใช้ใน
ครวั เรอื นไปสู่สนิ คา้ ทางวฒั นธรรม ทาให้เพมิ่ ความภาคภูมใิ จในภมู ิปัญญาของคนใน รวมถึง
การสร้างการยอมรับและจดจาของคนนอก
คาสาคญั : สงิ่ ทอ มดั หม่ี ไทยเขมร ฟน้ื ฟู วัฒนธรรม

3

คูม่ อื ถ่ายทอดความรู้การฟนื้ ฟูผ้ามัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

1. ความนา

จังหวัดบุรรี ัมย์ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ถอื เป็นแหล่งท่ี
ผู้คนในชุมชนท้องถ่ินยังคงสืบสาน และรักษาภูมิปัญญาการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
ผลติ เป็นผนื ผ้าทอมือที่มีคุณภาพมชี ื่อเสยี งเป็นทรี่ ู้จักดีในประเทศถือเป็นมรดกทาง
วัฒนธรรมท่ีสาคัญ โครงการน้ีตระหนักถึงความสาคัญของมรดกทางวัฒนธรรม
อันเกิดจากภูมิปัญญาของบรรพชนของแต่ละท้องถิ่นในการปรับตัวเข้ากับสภาพ
สิ่งแวดล้อมใหส้ ัมพันธ์กับมนุษย์ และสิ่งท่ีเหนือธรรมชาติ โดยถือว่างานหัตถกรรม
ผ้าไหมมัดหมี่ทอมือเป็นมรดกที่จับต้องได้ (Tangible Heritage) เป็นหลักฐานที่
บอกเลา่ เร่อื งราวในอดีต และเปน็ เคร่ืองกระตุ้นเตือนความทรงจา ใหย้ อ้ นระลึกถึง
เรื่องราวที่เคยเก่ียวข้องกับมัน ไม่เพียงเล่าถึงวิถีชีวิตของคนท่ีเคยใช้หรือวิถีชุมชน
ในอดตี แต่ผ้าทอยงั สามารถบอกเล่าปรากฏการณบ์ างอย่างของสงั คม เชน่ เดียวกบั
ชุมชนบ้านหนองม่วง และบ้านโคกปราสาทพัฒนา อาเภอประโคนชัย จังหวัด
บุรีรัมย์ซึ่งเป็นชุมชนวัฒนธรรมชาติพันธ์ุไทยเขมร ท่ีบรรพบุรุษได้มีการอพยพ
ย้ายถ่ินฐานมาจากจังหวัดสุรินทร์ ราว 70-100 กว่าปีที่ผ่านมา ยังรักษา
ภูมิปัญญาการผลิตผ้าไหมมัดหมี่ทอมือลวดลายแบบไทยเขมร แต่ในปัจจุบันนิยม
ทอผ้ามัดหม่ีลวดลายแบบไทยลาว เพื่อจาหน่ายเป็นสินค้า เน่ืองจากเห็นว่าได้รับ
การส่งเสริมให้นุ่งห่มจากหน่วยงานในระดับจังหวัด จึงเป็นท่ีต้องการของตลาด
กลุ่มข้าราชการหรือหน่วยงาน ทาให้เกิดการผลิตเลียนแบบลายมัดหมี่แบบไทย
ลาวเพื่อเป็นสินค้าและไว้ใช้เป็นเคร่ืองแต่งกายในชุมชน รวมถึงการดัดแปลงลาย
มัดหมี่ของผ้าไทยเขมรจากท่ีมีองค์ประกอบลายแบบต่อชิดไม่มีที่เว้นว่างอันแสดง
ถงึ ความวิรยิ ะอตุ สาหะซ่ึงเป็นคุณสมบัตทิ ่ดี ีของสตรีที่พร้อมจะออกเรือน ให้มที ีว่ ่าง
มากขึ้นเพ่ือให้ประหยัดระยะเวลาในการมัดหม่ีให้ส้ันลง ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าว
อาจทาให้เกิดการเว้นระยะในการผลิตผ้ามัดหม่ีลายแบบไทยเขมร อาจมองเป็น
การแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion) หรือเป็นรับวัฒนธรรมจาก
สังคมอ่ืน หากท้ิงไว้นานวันอาจทาให้การผลิตผ้ามัดหม่ีไทยเขมรดั้งเดิมอาจถูกลืม

4

คู่มอื ถ่ายทอดความรู้การฟ้นื ฟผู า้ มัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

เลือน กลายเป็นการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม (Acculturation) ไม่หลงเหลือ
ความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์แห่งชาติพันธ์ุของตน ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญ
ของปัญหาท่ีต้องฟ้ืนฟูวัฒนธรรมการผลิตมัดหม่ีไทยเขมร ตามแบบอย่างผ้ามัดหมี่
ด้ังเดิมอย่างเร่งด่วน เพ่ือบันทึกลวดลายด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ นาผ้าผืน
ดั้งเดิมท่ีชุมชนเก็บรักษาไว้เป็นแบบในการผลิตซ้าเพื่อสร้างทักษะให้กับช่างใน
ชุมชน ฟื้นวิถีการผลิต และการใช้ผ้ามัดหม่ีท่ีมีลวดลายและสีสันแบบด้ังเดิม
ถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลังในชุมชน เพ่ือเป็นการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาการ
ผลิตผ้าทอมอื ท่เี กดิ จากความหลากหลายทางวัฒนธรรมใหค้ งอยู่ในจงั หวดั บุรีรมั ย์

บา้ นบหา้ นนอโงคมก่วปงราตสาาบทลพบฒั ้านนไาทตราบลละเวยี้

ภาพที่ 1 ทต่ี ั้งของกลุม่ ทอผา้ เป้าหมาย อาเภอประโคนชัย จังหวดั บุรรี ัมย์
ท่ีมา: ดัดแปลงจากจังหวัดบรุ ีรมั ย์, 2565 http://www.buriram.go.th/

5

คูม่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟนื้ ฟูผ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

2. ผ้าทอมอื ในวฒั นธรรมไทยเขมร

ชุมชนบ้านหนองม่วง หมู่ท่ี 12 ตาบลบ้านไทร อาเภอประโคนชัย
จังหวัดบุรีรัมย์ ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเช้ือสายเขมรอพยพมาจากบ้านบุแกรง
อาเภอจอมพระ และบ้านแตล อาเภอศรีขรภูมิ จงั หวดั สรุ ินทร์ เมื่อประมาณ 100
กว่าปีโดยต้ังถิ่นฐานเป็นชุมชนจนถึงปัจจุบัน ชาวบ้านมีการไปมาหาสู่ญาติพี่น้อง
จากภูมิลาเนาเดิมและยังคงรักษาวัฒนธรรมของชาวไทยเขมรไว้อย่างเหนียวแน่น
รวมถึงภูมิปัญญาการผลิตผ้าทอมือ จานวน 9 ประเภท ได้แก่ ผ้าสมอ (ผ้าลาย
ตารางเล็ก) ผ้าสาคู หรือคอกหมู (ผ้าตารางลายตัดกันเป็นคู่) ผ้าจะบันโช (ผ้าลาย
ตั้ง) ผ้าอ็อมปรม (ผ้ามัดหมี่สองทาง) ผ้าโฮล (ผ้าลายน้าไหล) ผ้ากะนีว (หาง
กระรอก) ผ้าจองซิน (ผ้าซิ่นมัดหมี่) มีทั้งแบบไม่มีลายเชงิ และแบบมีลายเชงิ ซ่ึงไม่
ต้องนามาผ้าปะโบร์มาเย็บต่อเหมือนสมัยก่อน ผ้าโสร่งและผ้าขาวม้าเก็บขิดเป็น
ลวดลาย แต่ผ้าทอมือไทยเขมรนี้นิยมทอเก็บไว้ใช้สอยภายในครัวเรือน หรือ
พิธีกรรมในชุมชน ส่วนการผลิตเพ่ือจาหน่ายเป็นผ้าไหมมัดหม่ีรูปแบบลวดลาย
แบบไทยลาว เช่น ซิ่นมัดหมี่หัวแดงตีนแดง ย้อมด้วยสีเคมีท่ีมีน้าหนกั สีฉูดฉาด จึง
มีปริมาณสีตก สนองความต้องการของตลาดแต่ทาใหส้ ินคา้ ที่ได้ขาดอัตลกั ษณ์กลุ่ม

ในปัจจุบันกลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองม่วง มีนางทองพูน เจือจันทร์ เป็น
ประธานกลุ่ม มีสมาชิกจานวน 30 คน ยังคงสืบสานและรักษาภูมิปัญญาการผลิต
ผ้าทอมือดว้ ยเสน้ ไหมท่เี กดิ จากการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเองภายในชุมชน และผลิต
ผ้าผืนจากเส้นใยไหม และด้ายใยประดิษฐ์ ไม่มีการแปรรูปเป็นเส้ือผ้า กระเป๋า
หรือของที่ระลึก ทาให้ผลิตภัณฑ์ขาดความหลากหลายส่งผลต่อการตลาด แต่ผ้า
ไหมมัดหม่ีไทยเขมรน้ัน ชุมชนยังไม่ได้ชูเป็นจุดเด่นของสินค้าทางวัฒนธรรมแนว
อนุรกั ษ์ ทาให้คณุ คา่ ของภมู ิปญั ญายงั ไม่เปน็ ที่จดจาจากผู้บริโภค

ลายมดั หมี่ด้ังเดิมท่ีมกี ารสืบทอดในชุมชน พบจานวน 10 ลาย ไดแ้ ก่ ลาย
ปะกาตรอ๊ บ (ดอกมะเขือ) กะแอกโกร (ฝูงลูกกา) โกนฮีง (ลูกอึง่ อ่าง) ปวงกระดาม

6

คู่มือถ่ายทอดความรู้การฟ้ืนฟผู ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรรี ัมย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

ตูก (ไข่แมงดา) เนียะเดิมสรอล (นาคต้นสน) กูมปรัม (โคมห้า) กะลาสะนัน (แห)
ตะเกาะ (ตะขอ) และลายสกลนคร

ชุมชนบ้านโคกปราสาทพัฒนา หมู่ที่ 12 ตาบลละเวี้ย อาเภอประโคน
ชัย จังหวัดบุรีรัมย์นี้ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายเขมรอพยพมาจากบ้านโฮง
บ้านเพ้ียรามอาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ เม่ือก่อนปี พ.ศ. 2516 โดยตั้งถิ่นฐาน
เปน็ ชุมชนจนถึงปัจจุบนั ชาวบ้านมกี ารไปมาหาสญู่ าติพี่น้องจากภูมลิ าเนาเดิมและ
ยังคงรักษาวัฒนธรรมของชาวไทยเขมรไว้อย่างเหนียวแน่นรวมถึงภูมิปัญญาการ
ผลติ ผา้ ทอมือ จานวน 10 ประเภท ไดแ้ ก่ ผ้าสมอ (ผา้ ลายตารางเล็ก) ผา้ สาคู (ผา้
ตารางลายตัดกันเป็นคู่) ผ้าละเบิก (ผ้าทอลายตารางหมากรุก 4-12 ตะกอ)
ผ้าอ็อมปรม (ผ้ามัดหม่ีสองทาง) ผ้าโฮล (ผ้าลายน้าไหล) ผ้ากะนีว (หางกระรอก)
ผ้าจองซิน (ผ้าซิ่นมัดหม่ี) มีท้ังแบบไม่มีลายเชิง และแบบมีลายเชิงไม่ต้องนามาผา้
ปะโบร์มาเย็บต่อเหมือนสมัยก่อน ผ้าโฉนดเลอก (ผ้ายกดอก) ผ้าโสร่งและ
ผ้าขาวม้า แต่ผ้าทอมือไทยเขมรนี้นิยมทอเก็บไว้ใช้สอยภายในครัวเรือน หรือ
พิธีกรรมในชุมชน ส่วนการผลิตเพ่ือจาหน่ายเป็นผ้าไหมมัดหม่ีรูปแบบลวดลาย
แบบไทยลาว เช่น ซิ่นมัดหม่ีหัวแดงตีนแดง ย้อมด้วยสีเคมีที่มีน้าหนักสีฉูดฉาด
รับจ้างชุมชนอื่นผลิตด้วยรูปแบบผ้าเอกลักษณ์ของชุมชนอ่ืน เมื่อสินค้าออกสู่
ตลาดจึงทาให้ผู้บริโภคมิอาจจดจาแหล่งผลิตบ้านโคกปราสาทพัฒนา ทาให้สินค้า
ทไี่ ด้ขาดอตั ลักษณ์ของชมุ ชน

ในปจั จุบนั กลมุ่ ทอผา้ ไหมบา้ นโคกปราสาทพัฒนา มีนางร็อง ยนื ยง เปน็
ประธานกลุ่ม มีสมาชกิ จานวน 30 คน ยังคงสืบสานและรักษาภูมปิ ญั ญาการผลติ
ผา้ ทอมือด้วยเส้นไหมท่เี กิดจากการปลกู หม่อนเล้ยี งไหมเองภายในชมุ ชน และผลิต
ผา้ ผนื จากเส้นใยไหม และดา้ ยใยประดิษฐ์ ไม่มีการแปรรูปเป็นเส้ือผา้ กระเป๋า หรือ
ของท่รี ะลกึ ทาใหผ้ ลติ ภณั ฑ์ขาดความหลากหลายส่งผลต่อการตลาด แต่ชมุ ชนยัง
ไมไ่ ดย้ กให้ผา้ ไหมมัดหม่ไี ทยเขมรเป็นจดุ เด่นของสินคา้ ทางวัฒนธรรมแนวอนรุ ักษ์
ทาใหค้ ณุ ค่าของภมู ปิ ัญญานี้ ยังไมเ่ ป็นทจี่ ดจาจากผู้บรโิ ภค

7

คูม่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟืน้ ฟผู ้ามัดหมไี่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายมัดหม่ีดั้งเดิมทีม่ ีการสบื ทอดในชมุ ชน พบจานวน 11 ลาย ไดแ้ ก่ ลาย
ปะกาตร๊อบ (ดอกมะเขือ) ปะกาเอาะอันเดอร (ดอกกระเจียว) สรอล (ตน้ สน) โกน
กะแอก (ลกู กา) เนียะ (นาค) อันเนกิ เมยี ส (แมลงเต่าทอง) ปะกาเม๊ียะ (แหวนเพชร)
กะบาลอนั จลุ (หัวเขม็ ขัด) กมู (โคม) กะลาสะนนั (แห) และลายตะเกาะ (ตะขอ)

ผา้ สมอ ผา้ สะคู หรือสาคู ผา้ จะบันโช ผ้าอ็อมปรม

ผ้าโฮล ผ้าจองซิน ผ้ากะนีว ผ้าโสรง่

ผ้าขาวมา้ เกบ็ ขดิ ผ้าละเบิก

ภาพที่ 2 ผา้ ทอมอื ไทยเขมร อาเภอประโคนชยั จงั หวดั บรุ รี มั ย์

8

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟผู า้ มัดหม่ไี ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

3. ลวดลายมดั หม่บี ้านหนองม่วง

ลายปะกาตร๊อบ
(ดอกมะเขือ)

M1 ปะกาตรอ๊ บ ดอกมะเขอื 49/25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
9

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้ืนฟผู า้ มัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ ีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

M2 กะลาสะนนั แห (เครื่องมอื จับปลา) 25 ลา ตวงลด (หมร่ี วด)
10

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้นื ฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายโกรกะแอก
(ลกู กา)

M3 โกรกะแอก ลกู กา 25 ลา ตวงลด (หม่ีรวด)
11

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้นื ฟูผ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรัมย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

ลายสกลนคร

M4 สกลนคร สกลนคร 27 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
12

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟืน้ ฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายกูมปรมั
(โคมห้า)

M6 กูมปรัม โคมห้า 25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
13

คูม่ อื ถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายเตมิ สรอล
(ตน้ สน)

ลายเนียะ (นาค)

M7 เนียะเดิมสรอล นาคตน้ สน 25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
14

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้นื ฟผู ้ามัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรมั ย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

M8 ตะปวั๊ , ตะเกาะ ตะขอ หมายเหตุ : โครงสรา้ งแบบหมีค่ น่ั
17 ลา ตวงลด (หมีร่ วด)

15

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้นื ฟูผา้ มัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายลูกอึ่งอ่าง

M9 โกนฮีง ลูกอ่งึ อ่าง 25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
16

คู่มอื ถา่ ยทอดความรู้การฟ้ืนฟูผ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายปวงกระดามตกู
(ไข่แมงดา)

M10 ปวงกระดามตูก ไขแ่ มงดา 25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
17

คู่มอื ถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟูผา้ มัดหม่ไี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

กะบาลอนั จลุ ลายกะบาลอนั จลุ
(หัวเข็มขดั )

M11 กะบาลอันจุล หวั เข็มขดั 49/25 ลา ตวงลด (หมร่ี วด)
18

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู า้ มัดหมไี่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

4. ลวดลายมดั หมี่บา้ นโคกปราสาทพฒั นา

K1 โกรกะแอก ลกู กา 25 ลา ตวงลด (หม่รี วด)

19

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟผู า้ มัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ ีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

K2 ตะเกาะ ลายตะเกาะ
(ตะขอ)

ตะขอ 15 ลา ตวงลด (หม่รี วด)
20

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟ้ืนฟูผา้ มัดหม่ไี ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี มั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายปะกาตรอ๊ บ
(ดอกมะเขือ)

K3 ปะกาตรอ๊ บ ดอกมะเขือ 25 ลา ตวงลด (หมีร่ วด)
21

คมู่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟูผา้ มัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรมั ย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

ลายเนียะ
(นาค)

K4 เนียะ นาค 25 ลา ตวงลด (หมี่รวด)
22

คมู่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟืน้ ฟผู ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายสรอล
(ตน้ สน)

K5 สรอล ต้นสน 25 ลา ตวงลด (หมีร่ วด)
23

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟูผ้ามัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายบายสะไรย
(บายศรี)

K6 บายสะไรย บายศรี 25 ลา ตวงลด (หมร่ี วด)
24

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟผู า้ มัดหมไี่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายตะเกาะ
(ตะขอ)

K7 ตะเกาะ ตะขอ 25 ลา ตวงลด (หมีร่ วด)
25

คู่มือถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู ้ามัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรรี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายสกลนคร
ลายกูมเพชร
(โคมเพชร)

K8 - สกลนคร 25 ลา ตวงลด (หม่ีรวด)
26

คู่มอื ถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟูผา้ มัดหม่ีไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายเนยี ะเกี้ยว
(นาคเก้ยี ว)

K9 เนยี ะเกยี้ ว นาคเก้ียว 25 ลา ตวงลด (หม่ีรวด)

27

ค่มู อื ถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู ้ามัดหมไี่ ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ ีรัมย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

ลายปะกาเจาะอนั เดอร ลายสรอล (ตน้ สน)
(ดอกกระเจยี ว)

K10 ปะกาเจาะอันเดอร ดอกกระเจยี ว 19 ลา ตวงลด (หมร่ี วด)

28

ค่มู อื ถา่ ยทอดความรู้การฟื้นฟผู ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี มั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายปะกาตร๊อบ
(ดอกมะเขือ)

K11 ปะกาตร๊อบ ดอกมะเขือ 25 ลา ตวงลด (หมีร่ วด)
29

ค่มู ือถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟูผา้ มัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ลายปะกาเม๊ียะ
(แหวนเพชร)

K12 ปะกาเมยี๊ ะ แหวนเพชร 25 ลา ตวงลด (หม่รี วด)
30

ค่มู ือถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู ้ามัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรรี มั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

หมายเหตุ : โครงสร้างแบบหมค่ี ่นั

K13 โฮลกมู โฮลโคม (ทอแบบหมคี่ ั่น) 14 ลา ตวงเสมอ (หมร่ี า่ ย)

31

คูม่ อื ถ่ายทอดความรู้การฟื้นฟผู ้ามัดหม่ไี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบตั ิ ประจญศานต์ 2565

ภาพท่ี 3 ผลงานผ้าไหมมดั หมี่ของบ้านหนองม่วงท่ีได้รับการฟืน้ ฟู
(เรยี งจากบนลงลา่ ง) ลายโกนฮงี ลายปะกาตร๊อบ ลายสกลนคร ลายปะกาตรอ๊ บ

32

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู ้ามัดหม่ีไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ภาพที่ 4 ผลงานผ้าไหมมัดหมข่ี องบ้านโคกปราสาทพัฒนาท่ไี ด้รบั การฟื้นฟู
(เรยี งจากบนลงลา่ ง) ลายสกลนคร ลายบายสไรย ลายสรอล
33

คมู่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟ้นื ฟูผ้ามัดหม่ไี ทยเขมรอาเภอประโคนชยั จังหวัดบุรรี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ภาพท่ี 5 ผลงานผา้ ไหมมัดหม่ขี องบ้านโคกปราสาทพัฒนาที่ไดร้ ับการฟนื้ ฟู
(เรยี งจากบนลงลา่ ง) ลายปะกาเมยี๊ ะ ลายฉัตรกษัตรยิ ์ ลายเนยี ะ ลายปะกาตรอ๊ บ

34

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟืน้ ฟผู ้ามัดหมไ่ี ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรมั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

สรุปผล
1. การศึกษาลวดลายมัดหม่ีแบบไทยเขมรของบ้านหนองม่วง ได้แก่ ลาย
ปะกาตร๊อบ (ดอกมะเขือ) ปะกาเอาะอันเดอร (ดอกกระเจียว) สรอล (ต้นสน) โกน
กะแอก (ลกู กา) เนยี ะ (นาค) อันเนกิ เมียส (แมลงเต่าทอง) ปะกาเมี๊ยะ (แหวนเพชร)
กะบาลอนั จลุ (หวั เขม็ ขดั ) กูม (โคม) กะลาสะนนั (แห) และลายตะเกาะ (ตะขอ)
และบา้ นโคกปราสาทพฒั นา ได้แก่ ปะกาตร๊อบ (ดอกมะเขอื ) กะแอกโกร (ฝงู ลูก
กา) โกนฮีง (ลกู อง่ึ อา่ ง) ปวงกระดามตกู (ไข่แมงดา) เนียะเดิมสรอล (นาคต้นสน)
กูมปรมั (โคมหา้ ) กะลาสะนัน (แห) ตะเกาะ (ตะขอ) และลายสกลนคร รวมจานวน
21 ลาย การเรียกชอื่ ผ้ามัดหม่ีผนื หนงึ่ ว่าเป็นลายใดนั้นจะเรียกจากภาพเชงิ สัญญะ
ทมี่ องเหน็ บางผืนอาจเปน็ ลายเดียวกันวางลายซา้ กนั ตลอดทั้งผนื ผ้า บางผนื อาจมี
ลายจานวนมากวางลายซ้ากนั ตลอดทั้งผนื ผา้ แตจ่ ะเรียกชื่อเพียงลายเดียว เชน่
ผ้าลายปะกาตร๊อบ (ดอกมะเขอื ) ซึง่ ในผนื น้นั อาจมลี ายดอกมะเขอื สลบั กับลายหัว
แหวน และมลี ายประกอบอื่น ๆ ช่อื ลายมีไวเ้ ปน็ เสมอื นรหสั ใช้ในการสือ่ สาร จดจา
และถ่ายทอดการผลิตจากผูถ้ ่ายทอดโดยไมม่ ีการบอกเล่าท่ีมาหรอื ความหมายของ
ลายน้ันแกผ่ ้รู บั การถ่ายทอด สว่ นการให้ลวดลายทาหนา้ ท่ีสือ่ ความหมายจะเร่ิม
คิดหาภายหลงั ตามหลักการสร้างเรอื่ งราวผลติ ภณั ฑเ์ พือ่ สื่อสารกับผ้บู ริโภค เชน่
ลายเนียะ (นาค 2 ตวั พันกัน) สื่อความหมายของความรักสามคั คี เปน็ ตน้ ในการ
เลือกผลิตลายใด หรือใชส้ อยผา้ มดั หมลี่ วดลายใดน้นั จะพิจารณาในแง่ความงาม
ของลวดลายเป็นสาคญั มิได้มขี อ้ กาหนด ข้อหา้ มแต่อย่างใด โครงสร้างของผา้
มัดหมี่ประเภทจองซิน (ผ้าซ่ินมดั หมี่) แบ่งเป็นหัวซ่ิน ตัวซ่นิ และตนี ซิ่น ซ่งึ บริเวณ
หวั ซ่นิ จะไม่มลี ายมดั หมเ่ี ป็นผ้าสพี นื้ กว้างประมาณ 10-15 เซนตเิ มตร (ไม่มี
ขอ้ กาหนดความกว้างของหวั ซิน่ ท่แี นน่ อน ผู้ออกแบบพจิ ารณาสัดส่วนโดยใช้ความ
งามเปน็ เกณฑ์) บรเิ วณตัวซนิ่ มีพ้นื ท่ีขนาดใหญ่ท่ีสุดมีการวางลายมัดหมป่ี ระกอบ

35

คู่มอื ถา่ ยทอดความรู้การฟนื้ ฟผู ้ามัดหม่ีไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี มั ย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

กันแน่นชิดแทบจะไม่มที ่ีว่าง และบริเวณตีนซนิ่ มีท้ังแบบไม่มลี ายเชิงเปน็ สีพนื้
อาจมีเข่ือน หรอื เสน้ ตรงท่เี กิดจากการมัดเพ่ือใช้ในการเรยี งตาแหนง่ ของลายขณะ
ทอ และแบบที่มลี ายเชงิ กวา้ งประมาณ 10-20 เซนติเมตร (ไมม่ ีข้อกาหนดความ
กว้างของลายเชงิ ทแ่ี น่นอน ผู้ออกแบบพิจารณาสดั ส่วนโดยใชค้ วามงามเปน็ เกณฑ์)
การวางลายมดั หมี่แบบดงั้ เดิม นยิ มใชก้ ารซา้ ของลายเดยี วกนั หรอื หลายลวดลาย
จนเตม็ ผืนผา้ แทบจะไม่มีท่วี ่าง ซ่งึ แสดงถงึ ความวิริยะอตุ สาหะ แสดงฝีมือของชา่ ง
มดั หมีส่ ะท้อนถึงคุณสมบตั ขิ องหญงิ ท่คี วรแก่การออกเรอื น ลายสว่ นใหญ่เกิดจาก
การค้นหม่แี บบหมี่รวด (ตวงลด) ทาใหก้ ารก่อรปู ของลายมที ิศทางกลับไปกลบั มา
แบบสะท้อนกลับในแต่ละซ้า (Repeat) ขนาดลายสว่ นใหญม่ ีขนาด 25 ลา (คร่ึง
ลาย) หรือขนาด 49 ลา (เตม็ ลาย) การมดั หม่ีทเ่ี สน้ พุ่งคราวหนง่ึ เมื่อนาไปทอเปน็
ผืนผา้ ได้ความยาวประมาณ 2 เมตร นยิ มคน้ หม่ีใหม้ ีความยาวกวา่ หน้ากว้างของผา้
เม่อื ทอจะมีการสอดเสน้ ทบกลบั ทรี่ มิ ผา้ จนเป็นเอกลกั ษณ์ ไม่พบการค้นแบบหม่ี
รา่ ย หรือลายท่ีมีทิศทางเดยี วกัน

2. การบันทึกลวดลายมัดหมี่แบบไทยเขมรของบ้านหนองม่วง และบ้าน
โคกปราสาทพัฒนาในตารางดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพ่ือการเผยกระจาย รวม
จานวน 24 ลาย โดยมีการอบรมฝึกทักษะแก่เยาวชนจานวน 11 คนให้สามารถ
อ่านลายจากผ้ามัดหมตี่ ้นแบบแล้วทาการคัดลอกลายนั้นบันทกึ ลวดลายมดั หม่ีไทย
เขมรในตารางด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3. การฟืน้ ฟูการผลิตผา้ ไหมมัดหมล่ี วดลายแบบไทยเขมร โดยมีการอบรม
ฝึกทกั ษะภายในกลมุ่ ผู้ผลิตบา้ นหนองม่วง และบ้านโคกปราสาทพฒั นาให้สมาชิกมี
ส่วนรว่ มในการผลติ ในขั้นตอนการมัดหม่ี และการทอ รวมจานวน 7 คน ไดผ้ ลงาน
ผ้าไหมมดั หม่ีลวดลายแบบไทยเขมร จานวน 11 ผืน และทาการจัดทาเปน็ คมู่ ือ
ถ่ายทอดความรผู้ า้ มัดหมไ่ี ทยเขมร จานวน ๑๐๐ เล่ม และเผยแพรผ่ ลงานในส่อื
ออนไลน์เพจ Buri Craft

36

คมู่ อื ถา่ ยทอดความรู้การฟน้ื ฟผู า้ มัดหมี่ไทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบรุ รี ัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

ภาพที่ 51 กิจกรรมในโครงการวจิ ยั
37

คมู่ ือถา่ ยทอดความรู้การฟ้ืนฟูผา้ มัดหมีไ่ ทยเขมรอาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ รศ.สมบัติ ประจญศานต์ 2565

บรรณานุกรม

กรมหม่อนไหม. (2564). ผ้าโฮล. (2564, 26 พฤศจกิ ายน). https://qsds.go.th/silkcotton/k _1.php.
จงั หวัดบรุ รี ัมย์. (2565). แผนทจ่ี ังหวดั บรุ ีรมั ย์. (2565, 23 มีนาคม). https://www.buriram.go.th.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2564). ผา้ และกรรมวิธกี ารทอ: มดั หม่ี. (2564, 26 พฤศจิกายน).

https://www.bot.or.th/Thai/MuseumAndLearningCenter/BOTMuseum/Northern/Pa
ges/textile04.aspx.
ดวงเดน่ บุญปก. (2562). อัตลกั ษณ์และสญั ลกั ษณข์ องผา้ ไหมพนื้ เมอื งกลุ่มเขมรถ่ินไทย. วารสารวชิ า การ
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์, 10(1), 91-102.
นฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ. (2563). ทบทวนแนวคดิ ทฤษฎกี ารรือ้ ฟนื้ วฒั นธรรมท้องถน่ิ . วารสารมานษุ ยวิทยา,
3(1), 38-75.
ประภากร สคุ นธมณ.ี (2555). มัดหมีไ่ หม. โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยศิลปากร.
สมบัติ ประจญศานต์. (2565). โครงการวิจัยฟื้นฟูผ้าไหมมดั หม่ไี ทยเขมร อาเภอประโคนชยั จงั หวดั บรุ ีรมั ย์.
เสนอต่อ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบุรรี ัมย์.. บุรีรัมย์ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์.
สถาบนั ส่งเสริมศลิ ปหัตถกรรมไทย (องค์กรมหาชน). (2564). ผา้ โฮล : ผา้ ซ่นิ มัดหมีก่ ลมุ่ ชาติพันธ์ไุ ทยเช้อื
สายเขมรแหง่ อีสานใต้. (2564, 28 พฤศจิกายน). https://www.sacit.or.th/uploads/
items/attachments/044a23cadb567653eb51d4eb40acaa88/_aafe71f7e98a4
6eb517832a7d19e68bd.pdf.
สานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.). (2560). จัดระบบความรสู้ กู่ ารสบื ทอดวัฒนธรรมการทอผา้ ของ
ชาติพันธุ์ไทยเขมร. ประชาคมวิจยั , 18(107), 64.
อจั ฉรา ภาณุรัตน์, เครอื จติ ศรบี ุญนาค และวารุณี สวุ รรณานนท์. (2537). ผ้าไหมในวิถชี วี ิตไทยกยู และไทย
เขมร. ร่งุ ธนเกียรติออฟเซท็ การพิมพ์.

38

ประวตั ผิ ู้เขยี น

รองศาสตราจารยส์ มบตั ิ ประจญศานต์
เกดิ ทจี่ งั หวดั นครราชสมี า การศกึ ษาไดร้ ับปริญญา

ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบัณฑติ (สถาปัตยกรรม เกยี รตินิยมอนั ดับ 1)
และปรญิ ญาครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาบณั ฑติ (สถาปตั ยกรรม) จากสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั เขา้ รบั ราชการเปน็ อาจารยผ์ ู้สอนสาขาวชิ าเทคโนโลยี
สถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี มั ย์ มผี ลงานทาง
วชิ าการกว่า 50 เรอื่ ง ทั้งงานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั สถาปตั ยกรรมพื้นถ่นิ การจดั การ
สถาปัตยกรรมเพอื่ การท่องเทย่ี ว การจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ การพฒั นาชมุ ชน
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น รวมถึงการออกแบบและพฒั นาผลิตภณั ฑช์ ุมชนโดยเฉพาะผา้ ทอมอื

บันทกึ เพิ่มเติม

..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................

“...การเลย้ี งไหม นอกจากจะเปน็

การเสรมิ รายได้ให้แก่เกษตรกรแลว้
ยังเป็นวัฒนธรรมที่เกา่ แก่ และ
ดีงามของชาตไิ ทยทไ่ี ด้สบื ต่อกัน
มานานอีกด้วย
ไมว่ า่ เศรษฐกิจของประเทศ
จะเปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร
การพัฒนาการเลยี้ งไหมก็ตอ้ ง

ดาเนินต่อไป...”

พระราชดารัสสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์
พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
พระราชทานเมื่อวันท่ี 18 มกราคม พ.ศ. 2542

พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2565 จานวน 100 เลม่
บรษิ ทั โรงพิมพ์วนิ ัย 2509 จากดั จังหวดั บุรีรัมย์


Click to View FlipBook Version