The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แหล่งเรียนรู้ ศาลเจ้าพ่อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laksameekarn, 2021-03-24 02:50:26

แหล่งเรียนรู้ ศาลเจ้าพ่อ

แหล่งเรียนรู้ ศาลเจ้าพ่อ

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด

เลขที 1 ถนนหลักเมือง ตําบลบางพระ
อําเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

โครงการส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์
ห้องสมุดประชาชนจังหวัดตราด

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองตราด
สาํ นักงาน กศน. จังหวัดตราด

ความเปนมาของศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด

เมือครังพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ยกทัพมากู้เอกราชทีเมืองตราด พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้
ก่อสร้างศาลหลักเมืองขึนตามคติความเชือแบบจีน
ลักษณะตัวอาคารก่อสร้างเปนเก๋งจีน
แต่เดิมเปนอาคารไม้มุงสังกะสี
ขนาด 6 X 4 วา เสาทําด้วยไม้กันเก
รา มีบันไดขึนลง 2 ข้างด้านหลัง
ของเสาหลักเมือง โภายในมีภาพ
จาํ ลองของเจ้าพ่อหลักเมือง มีการ
เขียนด้วยภาษาจีนกํากับและสร้าง
โดยชาวจีนในจังหวัดตราดในสมัย
นัน

อาคารศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด

ปายศาลเจ้าพ่อหลักเมืองภาษาจีน

สถาปตยกรรมของอาคาร

และต่อมาเมืออาคารเดิมชาํ รุดทรุดโทรมจึงได้มีการก่อสร้าง
อาคารหลังใหม่ขึนแทนทีอาคารไม้ทีชาํ รุดทรุดโทรม

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด หลังใหม่

........ได้มีการลงนามในหนังสือสัญญาว่าจ้าง ให้ดาํ เนินการ
ก่อสร้างเมือวันที 5 มีนาคม พศ. 2543 กําหนดแล้วเสร็จ
ภายในระยะเวลไม่เกิน 2 ป ทําพิธีวางศิลฤกษ์
เมือวันอาทิตย์ ที 9 เมษายนพ.ศ. 2548 เวลา 11.29 น.
โดยมี นายสงคราม กอสุทธิธีรกุล
ผู้ว่าราชการจังหวัดตราด
เปนประธานในพิธี

ด้านพิธีการสร้างศาล ได้อัญเชิญ
องค์เทพเจ้ากวนอู แห่งศาลเจ้า
กวงตีกง (กวนอู) ไร่ไหหลํา
จังหวัดชลบุรี ทรงชีแนะรูปแบบ
การก่อสร้าง และกําหนดฤกษ์
การประกอบพิธีกรรมต่างๆ

ภาพวาดเทพเจ้ากวนอู
บนประตูทางเข้าอาคาร

อาคารศาลเจ้าพ่อหลักเมือง

หลังใหม่นี ได้ทําการก่อสร้าง

ขึนในทีตังเดิมของศาลเจ้า สถาปตยกรรมของอาคาร

หลังเก่า ตามโฉนดทีดิน ที 209 เลขทีดิน 2

ลงวันที 30 ตุลาคม พ.ศ. 2501 จาํ นวนเนือที 2 ไร่ 2 งาน

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ความเชือและความศักดิสิทธิ

......ในสมัยทีตกอยู่ใต้อํานาจของประเทศฝรังเศสนัน
ผู้มีอํานาจชาวฝรังเศสพบว่า ชาวเมืองตราดต่างพากันเดิน
ทางมากราบไหว้หลักเมืองตราดอยู่เปนประจาํ จึงวางแผน
ให้พรรคพวกไปรือถอนเสาหลักเมืองตราดทิง แต่ไหนเลย
พยายามถอนเท่าไหร่ก็ถอนไม่ขึนพยายามขุดเท่าไหร่ก็ขุดไม่
ได้ มาดแม้นจะดึงเสาหลักเมืองด้วยแรงช้างสารก็มิสามารถ

อาจหาญดึงขึนมาได้ช่างน่าอัศจรรย์ใจยิงนัก ซึงต่อมา
ในภายหลังชาวเมืองตราดจึงได้ช่วยกันทําการบูรณะ
ศาลหลักเมืองตราดนีให้อยู่ในสภาพดี
และเปนทีสักการบูชาของชาวเมืองเสมอมา

ซุ้มประตูศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด
ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

เสาหลักเมือง

การตังเสาหลักเมือง
เปนเรืองเล่าสืบต่อกันมา
ว่าสร้างรุ่นราวคราวเดียว

กับวัดโยธานิมิต
สมัยพระเจ้าตากสิน
เดินทางจังหวัดตราดเพือ
รวบรวมไพร่พลประมาณ
พ.ศ. 2309 - 2310 ทรงต้องการสร้งสิงยึดเหนียวทางใจ
ให้กับชาวตราด จึงได้จัดพิธีตังเสาหลักเมืองขึน
โดยทางกรมการเมืองจัดให้มีงาน 7 วัน 7 คืน เริมตังแต่
เดือน 6 ขึน 3 คํา ถึง เดือน 6 ขึน 9 คํา
ใน 3 วันแรกจะตีฆ้องประกาศหาผู้ทีมีชือ อิน จัน มัน คง
โดยมอกไว้ว่า ถ้ามีคนมาเรียกชือนีอย่าขานรับ ปรากฏว่า
คืน 5 คํามีคนชือ มัน ขานรับ จึงได้เชิญมาในงานพิธี
ในเวลาเทียงตรงของวันขึน6 คํา หลังจากรับประทานอหาร
เสร็จ ให้ลงไปนังในหลุมทีเตรียมไว้พนมมือพร้อมด้วย
ดอกไม้ธูปเทียน สัญญาณ ของเวลา คือตะวันตรงศีรษะ
เสียงพิณพาทย์บรรเลงเพลงมหาฤกษ์มหาชัย
ปนใหญ่ยิงสลุตปล่อยเสาหลักเมืองให้ตรงกับนายมัน
ทีนังอยู่ในหลุม แล้วเอาดินกลบเปนเสร็จพิธี

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

เสาหลักเมือง และเสาศิวลึงค์

อาคารศาลหลักเมือง เสาต้นสูง คือ เสาหลักเมือง
เสาต้นตําคือ เสาศิวลึงค์

..มีเรืองเล่าว่า เดิมอยู่ทีบ้านหนองใหญ่
ตําบลห้วยแร้ง อําเภอเมือง จังหวัดตราด
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าจ้าอยู่หัว รัชกาลที 5
โดยพระยานรเชษฐ์วุฒิไวยจางวาง เจ้าเมืองตราดในสมัยนัน

เดินทางไปพบ มีผู้คนสร้างศรัทธากราบไหว้
เชือว่าสามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ จึงอัญเชิญมา

ประดิษฐานไว้ภายในศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
เปนของคู่บ้านคู่เมืองมาจนทุกวันนี

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

เทพเสียอึงกง (เจ้าพ่อหลักเมือง)์

บริเวณด้านหน้าอาคารในช่วงเทศกาลปใหม่)์
ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ขันตอนการสักการะเจ้าพ่อหลักเมืองตราด

ทางศาลเจ้าจะมีชุดธูปเตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว ( บริจาคตามศรัทธา )
ประกอบด้วย ธูป 25 ดอก สาํ หรับไหว้ 11 จุดดังนี

จุดไหว้ที 1 ทีตีแปปอ (เทพยดาฟาดิน)
เทพยดาฟาดินนี เปนผู้ปกปองคุ้มครอง
ให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติทังหลาย ทังปวง
ให้กับผู้ทีบูชาเปนการแสดงความกตัญ ู-
กตเวทีต่อดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ

การบวงสรวงเทพยดาฟาดิน การสักการะบูชา
เทพต่างๆ ทีเกียวกับดิน นาํ ลม ไฟ
จ ะ ส า ม า ร ถ บัน ด า ล ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์
ของพืชพันธุ์ธัญญาหาร และความร่มเย็นเปนสุข
ซึงก็เปนแนวคิดทางพุ ทธศาสนาทีสอดคล้องกัน

จุดไหว้ที 2 เทพเสียอึงกง
(เจ้าพ่อหลักเมือง) หรือ
“ศาลเจ้าขียา”

เทพเจ้าหลักเมืองของชาวจีนและคติความเชือ
ทีเกียวข้องกับความตาย นิยมนาํ ฝน
มาเปนเครืองแก้บนให้เทพบริวารของ
เทพเสียอึงกง เชือกันว่าเทพบริวารทัง ๒ องค์
มีหน้าทีช่วยรับดวงวิญญาณ จึงต้องนาํ ฝน
มาถวาย เพราะว่าฝนเปนยาทีช่วยให้
กระปรีกระเปร่าในปจจุบัน ฝนนอกจากผิดกฎหมายแล้วยังหายาก เลย
เปลียนมาเปน บุหรีและกาแฟดาํ แทน

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

จุดไหว้ที 3 ไฉ่ซิงเอีย (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ)

นิยมไหว้ในวันตรุษจีนหรือปใหม่
เนืองจากเปนเทพเจ้าในการเริมปนักษัตร
ใหม่ เปนเทพเจ้าแห่งโชคลาภ ความราํ รวย
มังคัง โดยเชือว่าเทพเจ้าไฉ่ซิงเอีย จะมา

เยือนโลกมนุษย์ปละครังคือ วันตรุษจีน
นิยมนาํ ของหวาน ของเจ อาหารทีมีสีสัน

สดใส ยกเว้นของคาวและเนือสัตว์
มักนาํ เอา กระเปาเงินสมุดบัญชีธนาคาร

เช็ค มาวางเพือเสริมโชคลาภ เงินทอง

จุดไหว้ที 4 กําเทียงไต้ตี หรือ
เทพเจ้าแห่งปฐพี

หรือ "หนาํ เทียงไต้ตี" หมายถึง
มหาราชแห่งสวรรค์แดนใต้

ถ้าภาษาไทยก็คือ ปูโสมเฝาทรัพย์
มีหน้าทีดูแลขุมทรัพย์ทีอยู่ในแผ่นดินทังหมด

จุดไหว้ที 5 เทพเจ้าประตูมึงซิงด้านซ้าย

ประตูเทพทีปองกันภูติผีปศาจปกปองข้าศึก
ศัตรูไม่ให้กลํากรายเข้ามาในบ้านของเราเปน
เหมือนปราการด่านแรกไม่ให้ภูติผีปศาจเข้ามา
ในบ้านได้ไม่ว่าจะมาดีหรือมาร้าย
เวลาไหว้บรรพบุรุษ อย่าลืมบอกเทพมึงซิง
ไม่งันวิญญาณบรรพบุรุษจะเข้าบ้านไม่ได้การไหว้
ต้องไหว้เทพเจ้าประตูมึงซิงด้านซ้ายก่อนแล้วท่องว่า
"หมิงซิงกงปอห่อ แกไหลนังนังเผ่งอัง" (ขอให้ทุกคนในครอบครัวโชคดี)

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

จุดไหว้ที 6 เทพเจ้าประตูมึงซิงด้านขวา

การปกธูป ปกฝงขวาพร้อมท่องว่า
"หมึงซิงกงปอห่อ กุ้ยนังเต้งเต้ง"
(ขอให้พบคนดี มีคนอุปถัมภ์ )ต้องมีการจุด
ธูปบอกมึงซิงก่อนด้วย

ในกรณีทีมีคนในบ้านเสียชีวิตนอกบ้าน
แล้วนาํ ศพมาในบ้าน ต้องใช้ผ้าสีแดงคลุม

องค์มึงซิงด้วย

จุดไหว้ที 7 เสาหลักเมือง

สร้างในสมัยพระเจ้าตากสินเดินทางมายัง
จังหวัดตราดเพือรวบรวมไพร่พลเพือเปน

ขวัญและกําลังใจของคนไทยและคนจีน
ทีอาศัยอยู่ในจังหวัดตราด
โดยปกธูปจุดละ 3 ดอก

จุดไหว้ที 8 เสาศิวลึงค์

เสาศิวลึงค์ เชือว่าสามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บ
ได้จึงอัญเชิญมาไว้คู่กัน เปนของสาํ คัญ
คู่บ้านคู่เมืองมาจนทุกวันนี
โดยจะปกธูปจุดละ 3 ดอก

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

จุดไหว้ที 9 ศาลปงเถ้ากง –ปงเถ้าม่า

สถานทีศักดิสิทธิคู่เมืองทียึดเหนียวจิตใจ
ทังชาวไทยและชาวจีนมานับ 100 ป
เดิมตังอยู่สีแยกวัดกลาง มีสภาพเปนเรือนสูง
พืนไม้ หลังคามุงกระเบือง กันฝาด้วยสังกะสีเก่า
ต่อมาเมือบ้านเมืองเจริญขึน ต้องการขยายถนน
บริเวณนัน จึงได้อัญเชิญท่านไปไว้ทีโรงเจ
แต่ทางโรงเจเห็นว่าไม่เหมาะสม เพราะท่านไม่ได้
กินเจ จึงได้อัญเชิญ
ไปไว้บริเวณเดียวกันกับศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด
ปงเถ้ากง –ปงเถ้าม่า เปนเทพเจ้าแห่งการค้าขาย
และปกปองชาวบ้านให้ อยู่เย็น เปนสุขปง
เถ้ากง “ปง” มาจาก “ปงจี” แปลว่า เงินทุน
คําว่า “เถ้า” มาจาก“เถ้าใช่” แปลว่า
นิมิตหมายทีดีคําว่า “กง” ใช้เรียกผู้อาวุโส ผู้ชาย
หรือหมายถึง ปู, ตา
ตรงนีต้องปกธูปด้านนอก 3 ดอก
โดยในกระถางธูปนันนอกจากจะมีผงธูปแล้ว ภายในจะบรรจุด้วยธัญพืช
5 อย่าง เรียกว่า โหง่วเจ่งจี เปนของมงคล 5 ชนิดและใส่เหรียญทีเราใช้
เช่นเหรียญ 25/50 สตางค์ เหรียญ 1-2-5-10 บาท วางหัวด้านบนของ
เหรียญขึน จากนันใส่ผงสาํ หรับใส่กระถางธูปเปนขีเถ้า เพือเอาไว้ยึดปกธูป

บรรยากาศการกราบไหว้สักการะในช่วงเทศกาลปใหม่
ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

จุดไหว้ที 10 และ 11 ประตูทางเข้าศาลปงเถ้ากง –ปงเถ้าม่า

จะอยู่ทางเข้า ศาลปงเถ้ากง –ปงเถ้าม่า ปกธูปด้านละ 1 ดอก
ให้ปกด้านขวาก่อน (หันหน้าเข้าศาล)

ปงเถ้ากง –ปงเถ้าม่า บนแท่นบูชา
ด้านข้างประดับด้วยเสามังกรทังสองข้าง
ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

การเข้าสักการะบูชา

เปดให้เข้าชมทุกวนั
ตังแต่เวลา 05.00 น. - 21.00 น.

การเดินทาง

เริมต้นตลาดสดเทศบาลเมืองตราด แผนที ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื งตราด
มุ่งหน้าสีแยกหลักเมือง ให้เลียวขวา
ไปประมาณ 100 เมตร จะพบประตู
ทางเข้าศาลหลักเมืองอยู่ทางด้าน
ซ้ายมือ ตังอยู่ใกล้กับวัดโยธานิมิต

สถานทีตัง

ตําบลบางพระ อําเภอเมือง จังหวัดตราด

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ชุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปญญาของอําเภอเมืองตราด

ขอขอบคุณข้อมูล จาก
.....ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด จังหวัดตราด....

Website : https://www.paiduaykan.com
https: //udon2laos.com
https://www.ilovekohmak.com
https://thai.tourismthailand.org

PHOTO By.. ลักษมีกานต์ เรืองศิลป และ ธนะวรรธน์ ทวีสินธนาสิร
ออกแบบปกหน้า ลักษมีกานต์ เรืองศิลป
ออกแบบปกหลัง ลักษมีกานต์ เรืองศิลป


Click to View FlipBook Version