The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด จัดทำคู่มือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 เพื่อสร้างความชัดเจนในระบบการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 ภายในโรงเรียน พร้อมทั้งประกาศให้ทราบถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบถึงนโยบายดังกล่าว ให้มีความเข้าใจ และสามารถปฎิบัติงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gingnai, 2021-10-31 18:41:33

คู่มือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี 2564

โรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด จัดทำคู่มือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 เพื่อสร้างความชัดเจนในระบบการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 ภายในโรงเรียน พร้อมทั้งประกาศให้ทราบถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบถึงนโยบายดังกล่าว ให้มีความเข้าใจ และสามารถปฎิบัติงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Keywords: คู่มือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการป้องกันในสถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

คำนำ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) ได้มีการระบาดในวงกว้าง
โดยเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.2563 องค์การอนามัยโลกได้ประเมินสถานการณ์และประกาศให้ โรค COVID-19
เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern)
โดยแนะนําให้ทุกประเทศเร่งรัดการเฝ้าระวังและป้องกันความเสี่ยงจากเชื้อ COVID-19 และสำหรับใน
ประเทศไทยนั้น ได้มีการพบผู้ป่วยติดเชื้อจำนวนหนึ่ง ซึ่งถึงแม้ว่าตัวเลขผู้ป่วยติดเชื้อในแต่ละวันจะมีจำนวน
ลดน้อยลง แต่ก็ยังคงอยู่ในสภาวการณ์ที่ไม่อาจวางใจได้ ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยง ของประชาชนทุกคนต่อการ
สัมผัสเชื้อโรค และป้องกันไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญตั้งแต่การรักษา
สุขวิทยาส่วนบุคคล โดยเฉพาะในประชาชน กลุ่มเสี่ยง ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุและผู้ที่มีโรคประจําตัว รวมถึงการจัดการ
ดา้ นอนามยั ส่งิ แวดล้อม อยา่ งถกู สขุ ลักษณะและเหมาะสมในทุกพื้นท่ี โดยเฉพาะพนื้ ท่สี าธารณะ

สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการตระหนกั ถึงความสำคัญในการดแู ล
นักเรียน ผปู้ กครอง ครู และบุคลากรทางการศึกษา จึงไดใ้ หโ้ รงเรยี นสังกัดสำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษา
เอกชน จดั ทำแนวทางการจดั การเรียนการสอนและมาตรการปอ้ งกนั ในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 เนื่องจากสถานศึกษาเป็นสถานที่รวมของบุคคลเป็นจำนวนมาก
อันประกอบด้วยผู้บริหาร คณะครู บุคลากรสนับสนุนการศึกษา เจ้าหน้าที่ นักเรียน และผู้ปกครอง จึงทำให้
มภี าวะเสยี่ งต่อการแพรร่ ะบาดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 คอ่ นขา้ งสูง โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรยี นซง่ึ มีกิจกรรมการเรียน
ร่วมกันในชัน้ เรยี น อาจส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายเช้ือ COVID-19 ไปยังสมาชิกในครอบครัวและชุมชน จึงจำเปน็
อย่างยิ่งที่โรงเรียนต้องทำระบบการจัดการให้ดำเนินไปตามระเบียบปฏิบัติการควบคุมการแพร่ระบาดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 อยา่ งรอบคอบและรดั กมุ

ด้วยเหตุนี้ ทางโรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด จึงได้จัดทำคู่มือการจัดการเรียนการสอนและมาตรการ
ปอ้ งกันในสถานการณ์ การระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปกี ารศึกษา 2564 เพือ่ สรา้ งความ
ชัดเจนในระบบการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดเชื้อ COVID-19 ภายในโรงเรียน พร้อมทั้งประกาศให้ทราบ
ถึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบถึงนโยบายดังกล่าว ให้มีความเข้าใจ และ
สามารถปฎบิ ัติงานรว่ มกันได้อย่างมปี ระสิทธภาพ

นางสาววภิ าดา สัณฐิติ
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟแม่ระมาด

สำนกั งานศกึ ษาธิการ จงั หวดั ตาก

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า
ข้อมูลพน้ื ฐานของโรงเรยี น …………………………………………………………………………………………………..
คู่มือการจดั การเรยี นการสอนและมาตรการปอ้ งกนั ของสถานศึกษา ในสถานการณ์การระบาดของ

โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรียนเซนตโ์ ยเซฟแมร่ ะมาด ……….............
1. การเตรยี มความพรอ้ มการจัดการเรยี นการสอนในวันเปดิ ภาคเรยี น..............................................
2. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของโรงเรยี น...............................................................................
3. บทบาทครแู ละนกั เรียน.................................................................................................................
4. มาตรการและแนวทางในการดูแลนกั เรยี นของผู้ปกครอง..............................................................
5. บทบาทของผปู้ กครอง...................................................................................................................
6. มาตรการและแนวทางในการดแู ลดา้ นอนามยั และสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรยี น..................................

การจดั การด้านสขุ ภาพจิต ในสถานการณ์โควดิ -19………………………………………………………...........................
การปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรค COVID-19 ในสถานศกึ ษา.......................................................................

ความรเู้ ก่ยี วกบั โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) เป็นตระกูล ของไวรัสท่ี
ก่อให้เกิดอาการป่วยตั้งแต่โรคไข้หวัดธรรมดา ไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เช่น โรคระบบทางเดินหายใจใน
ตะวันออกกลาง (MERS - CoV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS - CoV) เป็นต้น ซึ่งเป็นสายพันธุ์
ใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์ ก่อให้เกิดอาการปว่ ยระบบทางเดนิ หายใจในคน และสามารถแพร่เชือ้ จากคนสู่คน
ได้ โดยเชื้อไวรัสนี้พบการระบาดครั้งแรกในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019
หลังจากนั้น ได้มีการระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งชื่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่นี้ว่า โรค
COVID-19

อาการของผปู้ ่วยโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

อาการทั่วไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหนื่อยหอบ จมูก
ไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส ในกรณีที่อาการรุนแรงมาก อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย
หรืออาจเสียชวี ติ ได้

โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แพร่กระจายเชือ้ ไดอ้ ย่างไร

โรคชนิดนี้มีความเปน็ ไปได้ที่มีสัตว์เป็นแหล่งเช้ือโรค ส่วนใหญ่แพร่กระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเช้ือผ่าน
ทางละอองเสมหะจากการไอ น้ำมูก น้ำลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐาน สนับสนุนการแพร่กระจาย เชื้อผ่านทางพ้ืน
ผวิ สมั ผสั ทีม่ ีไวรัส แล้วมาสัมผสั ปาก จมูก และตา สามารถแพร่เชอ้ื ผา่ นทางเชอ้ื ที่ถูกขับถ่าย ออกมากับอุจจาระเข้า
สู่อีกคนหนงึ่ โดยผ่านเข้าทางปากไดด้ ้วย

โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รกั ษาไดอ้ ย่างไร

ยงั ไม่มียาสำหรบั ป้องกนั หรือรักษาโรคโควดิ -19 ผ้ทู ี่ติดเชอื้ อาจต้องได้รับการรกั ษาแบบประคับประคองตาม
อาการ โดยอาการที่แสดงแตกต่างกัน บางคนรนุ แรงไม่มาก ลักษณะเหมือน ไข้หวัดทั่วไป บางคนรุนแรงมาก ทำให้
เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดร่วมกับการรักษาด้วยการประคับประคองอาการ จนกว่าจะพ้น
อาการชว่ งน้นั และยงั ไม่มยี าตัวใดท่ีมหี ลักฐานชดั เจนว่ารักษาโรคโควดิ -19 ได้โดยตรง

ข้อมลู พื้นฐานของโรงเรียน

1. ที่ตง้ั โรงเรียน
เลขที่ 217 หมู่ 4 ถนนแม่ระมาด - ทา่ สองยาง ตำบลแมร่ ะมาด อำเภอแม่ระมาด จงั หวัดตาก 63140
โทรศพั ท์ : 055-581133
โทรสาร : 055-581158
Website : www.sjm.ac.th
E-mail : [email protected], [email protected]
สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน, สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั ตาก

2. วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ปรชั ญาของคณะ ปรัชญาของโรงเรียน อัตลักษณ์ เอกลักษณ์

วิสยั ทศั น์ (Vision)
โรงเรียนเซนต์โยเซฟแมร่ ะมาดจัดการศกึ ษามุ่งส่คู ุณภาพชวี ติ ทีด่ ี ตามจิตตารมณ์นักบญุ เปาโล

สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดับส่ศู ตวรรษท่ี 21

พนั ธกจิ (Mission)
1. พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีใหผ้ เู้ รยี นครบทุกมติ ติ ามจติ ตารมณน์ ักบญุ เปาโลสอดคลอ้ งตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดบั สศู่ ตวรรษท่ี 21
2. สง่ เสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ีตามจิตตารมณ์นกั บญุ เปาโลสอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษท่ี 21
3. สง่ เสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพชวี ติ ท่ีดตี ามจิตตารมณ์นกั บญุ เปาโล

สอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดบั สู่ศตวรรษที่ 21
4. สรา้ งและขยายภาคเี ครือขา่ ยความร่วมมอื ในการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นตามจิตตา-

รมณน์ ักบญุ เปาโลสอดคล้องตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและยกระดบั สู่ศตวรรษท่ี 21

เปา้ ประสงค์(Goals)

ดา้ นคณุ ภาพผ้เู รยี น

1. ผูเ้ รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ตามจิตตารมณน์ ักบุญเปาโลสอดคล้องตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและยกระดับสศู่ ตวรรษท่ี 21

2. ผเู้ รยี นมีความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย สอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ
ยกระดับสู่ศตวรรษท่ี 21

3. ผเู้ รยี นยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลายตามจติ ตารมณ์นักบุญเปาโลสอดคลอ้ งตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและยกระดับส่ศู ตวรรษที่ 21

4. ผเู้ รียนมสี ขุ ภาวะทีด่ ี จติ สังคมและมสี ุนทรียภาพตามจิตตารมณ์นกั บุญเปาโลสอดคลอ้ งตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสู่ศตวรรษที่ 21

5. ผู้เรียนมที ักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รกั การเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนอย่างต่อเนอื่ งตามจติ ตารมณ์
นกั บุญเปาโลสอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษที่ 21

6. ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณแตล่ ะระดบั ชั้น เพอ่ื ยกระดบั สู่
ศตวรรษที่ 21

7. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการคิดเปน็ ระบบ คิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ อภปิ ราย
แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ แกป้ ญั หาอย่างมีเหตผุ ลตามจิตตารมณน์ กั บุญเปาโลสอดคล้องตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษที่ 21

8. ผู้เรียนมกี ารสร้างผลงาน/ชนิ้ งาน/นวัตกรรมแตล่ ะระดับชน้ั อย่างนอ้ ย 2 ชิน้ ตอ่ ปีการศกึ ษา สอดคลอ้ งตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดับส่ศู ตวรรษที่ 21

9. ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื ยกระดับสศู่ ตวรรษที่ 21
10. ผู้เรยี นมเี กรดเฉลยี่ ไมน่ อ้ ยกวา่ 2.5 และมีความก้าวหนา้ ในการสอบระดบั ชาติ เพอ่ื ยกระดบั สู่ศตวรรษท่ี 21
11. ผู้เรียนมสี มรรถนะสำคัญ เพือ่ ยกระดับส่ศู ตวรรษที่ 21
12. ผเู้ รียนมที กั ษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผูอ้ ่นื ไดแ้ ละมีเจตคติทด่ี ตี อ่ อาชพี สุจริต

สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษท่ี 21
13. ผเู้ รียนสามารถสอ่ื สารด้วยภาษาไทยได้เหมาะสมตามบรบิ ทและสือ่ สารภาษาต่างประเทศได้อย่างน้อย 2

ภาษา (ภาษาองั กฤษและภาษาจนี หรือภาษาพม่า) เพือ่ ยกระดับสศู่ ตวรรษที่ 21

เปา้ ประสงค์(Goals)

ดา้ นกระบวนการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั

14. บุคลากรปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหน้าทอี่ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผลตามจติ ตารมณน์ กั บุญเปาโล
สอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดบั สู่ศตวรรษท่ี 21

15. ครจู ัดกระบวนการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ตามจติ ตารมณ์นักบุญเปาโลสอดคล้องตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสูศ่ ตวรรษที่ 21

16. โรงเรยี นมีหลักสูตรของโรงเรยี นตามหลักสตู รแกนกลาง พ.ศ. 2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามจิตตารมณ์นกั บญุ เปาโลสอดคลอ้ งตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสูศ่ ตวรรษท่ี 21

17. โรงเรียนมีการบรหิ ารจัดการที่มีคณุ ภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าลตามจติ ตารมณน์ กั บญุ เปาโลสอดคลอ้ งตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษท่ี 21

ด้านระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่ีมปี ระสทิ ธิผล

18. โรงเรียนมรี ะบบประกันคณุ ภาพภายในของโรงเรยี นตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง พ.ศ. 2561 และยกระดับ
สูศ่ ตวรรษท่ี 21

19. ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผูบ้ ริหารสถานศึกษา
20. โรงเรยี นมีแผนงานและการบริหารจดั การความเสย่ี งของโรงเรียนสอดคลอ้ งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งและยกระดับสศู่ ตวรรษท่ี 21
21. โรงเรียนมีการจดั บรรยากาศ อาคาร สถานที่ ส่ิงแวดลอ้ ม แหล่งเรยี นรู้ทส่ี ะอาด ปลอดภัย มีระบบ

เทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี ออ้ื ตอ่ การจัดการเรียนรตู้ ามจติ ตารมณน์ กั บุญเปาโลสอดคล้องตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดบั สูศ่ ตวรรษที่ 21
ด้านมาตรการสง่ เสรมิ
22. โรงเรียนมีโครงการหรอื ผลงานหรอื นวตั กรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดบั สู่
ศตวรรษที่ 21
23. โรงเรยี นมกี ารสร้างและขยายภาคเี ครือขา่ ยในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนตาม
จติ ตารมณ์นกั บญุ เปาโลสอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและยกระดับสู่ศตวรรษที่ 21

ปรัชญาของคณะภคนิ ีเซนตป์ อลเดอชารต์ ร(Philosophy)

“มนุษยท์ ม่ี ีคุณภาพ คอื มนุษย์ที่มีคุณธรรมและความรู”้

นโยบายโรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟแม่ระมาด (Policy)

“ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนเป็นผู้มจี ติ ใจงาม รจู้ ักรกั และรบั ใช้ ”

คติพจน์โรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟแมร่ ะมาด (Motto)

“ศึกษาดี มีวนิ ัย ใจเมตตา ใฝห่ าคณุ ธรรมเลิศลำ้ การงาน”

อตั ลักษณข์ องโรงเรียน (IDENTITY)
“ แตง่ กายสะอาด มารยาทดี ”

เอกลักษณ์ของโรงเรยี น(UNIQUENESS)
“ การงานเดน่ เนน้ พอเพียง ”

เครอื่ งหมาย/ตราของโรงเรยี นเปน็
อักษรยอ่ ภาษาไทยวา่ ซ.ย. มีตัวอารม์ ลอ้ มรอบ
อกั ษรย่อภาษาองั กฤษ S.J.M.
ประกอบด้วยปริมณฑลภายในวงกลมมีเส้นขอบและมีเส้นโค้งขึ้นโค้งลง
บังเกิดเป็นกลีบเจด็ กลีบ กลางปรมิ ณฑล มโี ลป่ อ้ งกันศัสตราวุธ
ภายในมีโล่ แบ่งออกเป็นสามสว่ น สว่ นบนมีอกั ษร ซ.ย.อยูห่ นา้ เส้นตรงตั้ง
ส่วนกลางเว้นวา่ ง ส่วนล่างมีตะเกียงเปล่งประทีป วางอยู่บนหนังสือสองเลม่ ซ้อน
กัน มีเส้นนอนเป็นฐานมีดาบขัดอยู่หลังโล่ ปลายดาบปรากฏที่ด้านบนขวา ด้ามดาบปรากฏทีด่ ้านล่างซ้าย มองเห็น
ใบไมท้ อดปลายด้านบนซา้ ยและด้านลา่ งขวา

สปี ระจำของโรงเรยี น

คือ สนี ้ำเงินและสเี หลอื ง มีความหมายเตอื นใจใหค้ ำนงึ ถงึ คณุ ธรรมสำคัญหลายประการ
สนี ้ำเงิน มคี วามหมาย เป็นสีแสดงความดีงาม ความสงบ ความมีกฎเกณฑ์ ความเปน็ เลศิ
สีเหลอื ง มีความหมาย เปน็ สีของวฒุ ภิ าวะหรอื ความเจรญิ เตม็ ท่ี เป็นสขี องความสว่าง เปน็ สัญลักษณ์ของ
ธรรมะถอื ได้ว่าเป็นสขี องชีวติ ใหม่ อนั หมายถงึ การเริม่ ต้น

3. แผนการเรียน จำนวน (หอ้ ง)
ตารางแสดงการจัดกลมุ่ แผนการเรยี น
แผนการเรยี น 5
ระดับชัน้ อนบุ าล 1
แผนการเรียนปกติ 6
แผนการเรียน IP
รวมหอ้ งเรยี นระดบั ชัน้ อนบุ าล 6
ระดับชัน้ ประถมศึกษา 6
แผนการเรยี นปกติ 12
แผนการเรียน IP
รวมหอ้ งเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษา 8
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 8
แผนการเรียนปกติ
รวมหอ้ งเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น 3
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3
แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ 6
แผนการเรยี นศลิ ป์-ภาษา 32
รวมหอ้ งเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รวมทงั้ สิน้

4. ลักษณะโดยรวมของบคุ ลากร
4.1 ขอ้ มูลครใู นโรงเรียน

ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพศ รวม ตำ่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวม
ชาย หญงิ 121
6- - 4
ผู้บรหิ าร - 44 - 7- - 6
9- - 7
คณติ ศาสตร์ 156 - 6- - 9
8- - 6
ภาษาไทย 167 - 3- - 8
2- - 3
ภาษาตา่ งประเทศ 279 - 2- - 2
6- - 2
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - 6 6 - --- 6
--- 1
สังคม ศาสนาและวฒั นธรรม 1 7 8 - 2- - 2
52 2 1 3
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 213 - 59

ศิลปะ-ดนตรี 112 -

การงานอาชีพ 2-2 -

ครปู ฐมวัย - 66 -

ครตู า่ งชาติ - 11 1

ครพู เ่ี ล้ยี ง - 22 2

บคุ ลากรทางการศกึ ษา 123 1

รวมทัง้ ส้นิ 11 48 59 4

5. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรียน

โรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด จัดระบบการบริหารจัดการ โดยใช้หลักธรรมาภิบาล มีการกระจายอำนาจ
ในการบริหารจัดการด้านวชิ าการ งานกิจการนักเรียน งานอภิบาลและแพร่ธรรม งานบริหารจดั การ งานทรัพยากร
เพื่อการเรียนการสอน งานบุคลากร และงานมาตรฐาน โดยทุกฝ่ายมสี ่วนร่วมในการตัดสนิ ใจ มีการตรวจสอบความ
โปร่งใส มีระบบการกำกับติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานตา่ งๆ มีวัฒนธรรมในองค์กร ในการเคารพผู้อาวโุ ส
มจี ิตอาสา มีความเออ้ื อาทรตอ่ เพอ่ื นรว่ มงาน มีความสามคั คแี ละการทำงานเป็นทีม

ค่มู อื การจดั การเรียนสอนและมาตรการป้องกนั ของสถานศกึ ษา
ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรยี นเซนต์โยเซฟแม่ระมาด สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ตาก

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงสาธารณสุขและ
กระทรวงศึกษาธิการร่วมกันจัดแนวทางเตรียมความพร้อมการเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ซึ่งครูและบุคลากร
ทางการศึกษาและนกั เรยี นโรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด อาจมีความเส่ียงติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในกลุ่มเพื่อน
และเมือ่ นกั เรยี นกลับบ้านอาจแพรเ่ ชอื้ ไปสูค่ นในครอบครัวได้ ดังนั้นทางโรงเรยี นฯ จึงได้กำหนดรูปแบบแนวทางและ
มาตรการป้องกันเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อให้พร้อมที่จะเปิดภาคเรียนและเป็นคู่มือในการปฏิบัติ
สำหรับสถานศึกษาในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเน้นบริบทของ
สถานศึกษาและเอื้ออำนวยให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
สามารถดำรงชีวติ อยไู่ ดอ้ ย่างปลอดภยั

ตามที่สถานศกึ ษาดำเนนิ การประเมินตนเอง
โดยการมสี ่วนร่วมของคณะกรรมการสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดตาก

ตามแบบประเมินสำหรับสถานศกึ ษา
ในการเตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรียน เพื่อเฝ้าระวงั และปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19

โดยโรงเรยี นเซนตโ์ ยเซฟแม่ระมาด อยใู่ นระดบั
“สีเขียว” หมายถงึ “ โรงเรยี นสามารถเปดิ ได้ ”

1. การเตรยี มความพรอ้ มการจัดการเรียนการสอนในวันเปิดภาคเรยี น (Preparation before reopening)

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ส่งผลกระทบอย่างมาก
ต่อทุกภาคส่วน เมื่อสถานการณ์เป็นไปในทางที่ดีขึ้น การเปิดเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา (COVID-19) มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมความพร้อมของโรงเรียน การปฏิบัติตนของนักเรียน
และบุคลากรในโรงเรียนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)และให้เกิดความปลอดภัย
แก่ทุกคน จึงควรมีการประเมินความพร้อมในการเปิดภาคเรียนของโรงเรียน ตามมาตรการป้องกันในสถานการณ์
การตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข

โดยมีมาตรการควบคมุ เพ่ือความปลอดภยั จากการลดการแพร่เชื้อโรค 6 ข้อปฏบิ ัติในโรงเรยี น ได้แก่
1. คดั กรอง (Screening) ผูท้ เ่ี ขา้ มาในโรงเรยี น
ทุกคน ต้องได้รบั การคัดกรอง วัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย

2. สวมหนา้ กาก (Mask) ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กาก
อนามัยตลอดเวลาที่อย่ใู นโรงเรยี น

3. ล้างมอื (Hand Washing) ล้างมอื บอ่ ย ๆ
ด้วยสบูแ่ ละนำ้ นานอยา่ งนอ้ ย 20 วินาที หรือใช้
เจลแอลกอฮอล์ หลีกเล่ียงการสัมผัสบริเวณจดุ เสย่ี ง
รวมทั้งไม่ใชม้ ือสมั ผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู
โดยไมจ่ ำเปน็

4. เว้นระยะหา่ ง (Social Distancing) เว้น
ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
รวมทง้ั การจัดเวน้ ระยะห่างของสถานท่ี

5. ทำความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู
หน้าต่าง ใหอ้ ากาศถ่ายเท ทำความสะอาดหอ้ งเรยี น
และบรเิ วณต่าง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาดพืน้
ผิวสัมผสั ของโตะ๊ เก้าอี้ และวสั ดอุ ุปกรณ์ ก่อนเขา้ เรียน ชว่ งพักเท่ยี ง และหลังเลกิ เรยี นทกุ วนั รวมถึงจัดให้มถี ังขยะ
แบบมฝี าปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียน เพ่อื นำไปกำจดั ทุกวัน

6. ลดความแออดั (Redicomg) ลดระยะเวลา
การทำกจิ กรรมให้สนั้ ลงเทา่ ทีจ่ ำเป็น หรอื เหลือ่ มเวลาทำกิจกรรมและหลกี เลี่ยงการทำกจิ กรรมรวมตวั กนั เป็นกลุ่ม

การเตรียมความพร้อม

การเตรยี มความพรอ้ มของโรงเรียนเซนตโ์ ยเซฟแม่ระมาด เน้นความรว่ มมอื 8 แนวทาง ดงั น้ี
1. มีมาตรการคดั กรอง ครู นักเรยี น บคุ ลากรและผู้มาตดิ ต่อราชการทุกคน เชน่ การวัดไข้ สวมใสห่ นา้ กาก
อนามัยก่อนเข้าโรงเรียน ผปู้ กครองร่วมใหป้ ระวตั ิ หากนักเรยี นมคี วามเส่ียง เมอื่ นักเรยี นมีอาการไข้ ไม่สบาย
ตอ้ งหยดุ เรยี นทันที และแจ้งโรงพยาบาลในพื้นที่

ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานคดั กรองและส่งต่อนกั เรียนและบุคลากรในโรงเรยี น
ในการปอ้ งกนั ควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

คัดกรองสุขภาพนกั เรยี นและบุคลากรในโรงเรียน - จัดอปุ กรณก์ ารคดั กรองสขุ ภาพ
- จดั อุปกรณก์ ารล้างมอื
- วัดอุณหภูมิดว้ ยเครอ่ื งวัดอุณหภูมิ - บันทึกการตรวจคดั กรอง
- ใหน้ ักเรียนล้างมอื ด้วยสบู่และนำ้ หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์
- ตรวจการใสห่ น้ากากอนามัยทกุ คน
-กรณบี ุคคลภายนอกให้กรอกขอ้ มูลประวัติเส่ียง

ไม่มไี ข้ (<37.5 c) มไี ข้ (≥37.5 c) กลุ่มเสยี่ ง
หรอื ไมม่ ีอาการทางเดินหายใจ หรอื มอี าการทางเดนิ หายใจ

ตดิ สัญลกั ษณ์ - แยกนักเรียนไวท้ จ่ี ัดเตรียมไว้ มปี ระวัตเิ สย่ี งสูง มีประวัติเสีย่ งต่ำ
- บันทึกรายชื่อและอาการปว่ ย
- เข้าเรยี นตามปกติ -แจ้งผ้ปู กครอง - แยกนกั เรียนไปยังจดุ เตรียมไว้ - แยกนักเรียนไปยงั จดุ ท่ีเตรยี มไว้
- ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกัน - บนั ทกึ รายชือ่ และอาการปว่ ย - บันทกึ รายชอ่ื และอาการปว่ ย

ไม่มปี ระวตั เิ สย่ี ง - แจ้งเจ้าหน้าทโ่ี รงพยาบาล - ครูอนามยั ประเมินสถานการณ์
- แจง้ ผู้ปกครอง - แจ้งผู้ปกครอง

-ให้พานักเรียนไปพบแพทย์ - กักตวั อยบู่ ้าน ใหค้ รบ 14 วัน
-ให้หยดุ พกั จนกวา่ จะหายเป็นปกติ

ครรู วบรวมข้อมูลและรายงานผล
ให้ผบู้ ริหารและผทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ ง

วธิ กี ารตรวจคัดกรอง

การตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นของโรงเรียนเซนต์โยเซฟแม่ระมาด ได้วางแผนดำเนินการตามขั้นตอน
ที่สำคัญ ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้ การซักประวัติ การสัมผัสในพื้นที่เสี่ยง การสังเกตอาการ
เส่ยี งตอ่ การตดิ เชอ้ื โดยมีวิธีปฏิบตั ิดงั นี้

1) จัดตัง้ จุดคดั กรองบรเิ วณทางขึน้ อาคารเรียน ไดก้ ำหนดจดุ คัดกรองบุคลากร นักเรียนและผู้มาติดต่อ
ราชการโดยยึดหลัก Social distancing ดังนี้

1.1) ครู บุคลากรโรงเรียน กำหนดให้ครูและบุคลากร ใช้จุดคัดกรองบริเวณหน้าห้องธุรการ
อาคารเซนตป์ อล

1.2) นักเรียน มีการกำหนดให้นักเรียนใช้จุดคัดกรองบริเวณทางขึ้น-ลงของอาคารเรียนอาคาร
เอม็ มานูแอลและอาคารเซนต์ปอล ระหว่างทางเดินใหเ้ วน้ ระยะหา่ ง 1 – 2 เมตร

1.3) ผ้มู าตดิ ตอ่ ราชการ มีการกำหนดให้ใช้จุดคดั กรองบริเวณหนา้ หอ้ งธุรการ

2) ตรวจวัดอุณหภมู ริ ่างกายหรอื วัดไข้
โดยใช้เครอ่ื งวัดอณุ หภมู ิ อุณหภมู ิในรา่ งกายควร
อยรู่ ะหวา่ ง 36.1 – 37.2 องศาเซลเซียส สำหรับ
ผทู้ ่เี ริม่ มไี ขห้ รอื สงสัยว่าติดเชอ้ื จะมอี ณุ หภมู ิที่
มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส

2.1) ครู บุคลากรโรงเรียน จะมเี จา้ หนา้ ทท่ี ำหน้าท่ตี รวจวดั อณุ หภูมบิ รเิ วณหนา้ หอ้ งธรุ การ และบันทึก
อณุ หภูมขิ องแตล่ ะคนโดยเว้นระยะหา่ ง 1 – 2 เมตร

2.2) นักเรยี น ในช่วงเช้า จะมคี รูเวรประจำวันทำหนา้ ทรี่ บั นกั เรยี นและทำหนา้ ท่ีตรวจวดั อณุ หภมู ิ
รา่ งกาย โดยเวน้ ระยะหา่ ง 1 – 2 เมตร

2.3) ผู้มาติดตอ่ ราชการ จะมเี จา้ หน้าท่ีทำหนา้ ทีต่ รวจวัดอณุ หภมู ิร่างกายบริเวณหน้าหอ้ งธรุ การ โดยเวน้
ระยะห่าง 1 – 2 เมตร จะต้องลงทะเบียนการเช็คอิน “ไทยชนะ” หรือลงชื่อเข้าใช้บริการ กำหนดให้ห้องธุรการ
ตดิ ตั้งป้าย QR Code “ไทยชนะ”หรอื สมดุ ลงชอ่ื ไว้ทีห่ น้าหอ้ งใหเ้ รียบรอ้ ย

** หากตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายครั้งแรก บุคลากร นักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการมีอุณหภูมิร่างกาย
มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ใหพ้ กั คอยหรอื ควรอยู่ในบริเวณจดุ ตรวจวดั อยา่ งนอ้ ย 5 นาที กอ่ นการวดั อีกครั้ง **

- กรณีวัดอุณหภูมิร่างกายได้ ไม่เกิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการ
ทางเดินหายใจ อาทิ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น
ไม่รู้รส ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยัน ในช่วง 14 วัน ก่อนมีอาการ
ถือว่าผ่านการคัดกรอง จะติดสัญลักษณ์หรือสติ๊กเกอร์ให้เข้าเรียน ปฏิบัติงาน
หรอื ตดิ ตอ่ ไดต้ ามปกติ

- กรณีวัดอุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือมีไข้ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ
อย่างใดอยา่ งหน่งึ อาทิ ไอ มีนำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ไดก้ ล่นิ ไมร่ รู้ ส ให้ปฏิบัติ ดังน้ี

➢ แยกนักเรียนไปไว้ยงั บริเวณพน้ื ทีท่ ไ่ี ดจ้ ดั เตรียมไว้
➢ บนั ทึกรายชื่อ และอาการปว่ ย
➢ ซักประวตั ิ และสงั เกตอาการเสี่ยง
➢ แจ้งเจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาล / แจ้งผูป้ กครอง
3) สอบถาม และซกั ประวตั ิ การสมั ผัสในพน้ื ที่เสีย่ งและบันทกึ ผลลงในแบบบันทึกการตรวจคดั กรอง
สุขภาพสำหรบั นกั เรยี น บคุ ลากรหรอื ผ้มู าติดต่อในโรงเรยี น
3.1) หากไมม่ ีประวตั ิเสยี่ ง ให้พานกั เรียนไปพบแพทย์ และให้หยดุ พกั จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ
3.2) หากตรวจพบว่า มปี ระวตั ิเสยี่ งและ/หรอื มีประวตั สิ ัมผัสใกลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ยยนื ยันหรอื สงสยั มีประวตั ิ
เดนิ ทางไปในพ้ืนทีเ่ สี่ยงหรอื พนื้ ทเ่ี กดิ โรค ไปในพื้นท่ีทมี่ ีคนแออดั จำนวนมาก ในชว่ ง 14 วัน ก่อนมอี าการ ถอื วา่
เป็นผสู้ มั ผสั ท่มี ีความเสยี่ ง หรอื เปน็ กลมุ่ เสีย่ ง โดยจำแนกเปน็ กลุ่มเสี่ยงมปี ระวัตเิ ส่ียงสูงและกล่มุ เสย่ี งมีประวัตเิ สย่ี ง
ตำ่ ให้ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
- แยกนกั เรียนไปไวย้ ังบรเิ วณพื้นทท่ี ไ่ี ด้จดั เตรยี มไว้
- บนั ทึกรายชอ่ื และอาการปว่ ย
- แจง้ เจ้าหนา้ ทโี่ รงพยาบาล
- แจง้ ผปู้ กครอง
- ทำความสะอาดจุดเสีย่ งและบรเิ วณโดยรอบ
- กักตวั อยบู่ ้านให้ครบ 14 วัน
- ครรู วบรวมข้อมลู และรายงานผลให้ผู้บรหิ ารโรงเรียน ผู้ที่เกยี่ วขอ้ ง
โรงเรียนมกี ารกำหนดแนวทางปฏิบตั ิตามระเบียบสำหรบั บุคลากรและนกั เรยี นท่สี งสยั ติดเช้อื หรือป่วยดว้ ย
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุดเรียน โดยนำหลักฐาน ใบรับรองแพทย์มา
ยืนยันเพื่อกลับเข้ามาเรียนตามปกติ โดยไม่ถือว่าขาดเรียนหรือขาดงาน และมีการกักตัวผู้ใกล้ชิดกับผู้ป่วยตาม
เกณฑ์ควบคุมโรคและดำเนนิ การชว่ ยเหลือเช่นเดียวกบั ผูป้ ่วย

2. ตรวจสอบการสวมหนา้ กาก (Check mask) ของบุคคลทุกคนทเ่ี ข้ามาในโรงเรียน ครู นักเรียน บุคลากรและ
ผู้มาติดต่อราชการ สวมใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรียน หากนักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการที่
โรงเรยี นลมื หรือไม่ได้นำหน้ากากอนามัยมาด้วย สามารถติดต่อขอรบั หน้ากากอนามัยได้ท่หี ้องธรุ การ

3. จดั ใหม้ จี ดุ ลา้ งมอื ด้วยสบู่เจลแอลกอฮอล์อยา่ งเพียงพอ ใหผ้ รู้ บั การตรวจคดั กรองล้างมอื ด้วยสบู่และน้ำ หรือ
ใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ โรงเรยี นได้จัดให้มีอ่างล้างมือเพื่ออำนวยความสะดวกและสุขอนามัยที่ดี คือ
การล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ และในแต่ละจุดจะมีป้ายแสดงการล้าง
มือที่ถูกวิธี อย่างน้อย 20 วินาที หรือใช้เวลาเท่ากับร้องเพลงช้างหรือเพลงแฮปปี้เบิร์ธเดย์ 2 รอบ ดังน้ี

- ห้องนำ้ อาคารเรยี นเซนตป์ อล จำนวน 5 จุด
- หอ้ งน้ำอาคารเรียนเอม็ มานูแอล จำนวน 5 จดุ
- หน้าโรงอาหาร จำนวน 4 จุด
นอกจากนี้ ยังมีเจลแอลกอฮอล์บริเวณหน้าห้องเรียน หน้าห้องธุรการ หน้าห้องปฏิบัติการ อย่างน้อย
ห้องละ1 ขวด

การลา้ งมือของนักเรยี น

4. การเว้นระยะห่างในห้องเรียน เน้นการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนตลอดทั้งวัน ใช้รูปแบบการจัดการ
เรียนการสอนโดยขยายห้องเรียน ในห้องเรียนจะมีจำนวนนักเรียนไม่เกิน 25 คน และภายในห้องเรียนมีการจัด
ห้องเรยี นแบบเว้นระยะหา่ ง 1 - 2 เมตร กรณีทีน่ ักเรยี นไมส่ ามารถมาเรียนไดใ้ ห้เรยี นผา่ นระบบออนไลน์ (Online)

5. เน้นการทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสต่าง ๆ ที่ใช้ร่วมกันจัดให้มีการดูแลอาคารสถานที่ ดังนี้
> ทำความสะอาดห้องและบริเวณที่มีการใช้บริการร่วมกันทุกวัน ด้วยน้ำผสมน้ำยาทำความสะอาด และ

เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศห้องที่มีการใช้งานร่วมกันได้แก่ ห้องเรียน ห้องธุรการ ห้องวิชาการ โรง
อาหาร หอ้ งประชมุ หอ้ งสมุด หอ้ งดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องเก็บอุปกรณ์ทำความสะอาด ราวบนั ได ที่จับประตู
โต๊ะ เก้าอี้ พนักพิง อุปกรณ์ดนตรี คอมพิวเตอร์หากมีเครื่องปรับอากาศให้ทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

> ห้องสุขา ควรทำความสะอาดบริเวณที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ ทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ด้วยน้ำยาทำความสะอาด ได้แก่ พน้ื ห้องสว้ ม โถส้วม ทีก่ ดชักโครก หรือโถปัสสาวะ สายฉดี ชำระ กลอนหรือลูกบิด
ประตู ฝารองนัง่ ฝาปดิ ชักโครก ก๊อกนำ้ อา่ งล้างมอื ถงั น้ำ

> ซักผ้าสำหรบั เช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพื้น ดว้ ยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆา่ เชอื้ ซกั ด้วยน้ำสะอาด
อีกครงั้ และนำไปผึ่งแดดให้แห้ง

>แจ้งรถรบั ส่งนกั เรียน กอ่ นและหลงั ให้บริการ ใหเ้ ปิดหน้าต่างและประตูเพอื่ ถ่ายเท ระบายอากาศภายใน
รถ และทำความสะอาดในจุดที่มีการสัมผัสบ่อย ได้แก่ ราวจับ ที่เปิดประตู เบาะนั่ง ที่วางแขน ด้วยน้ำผสม
ผงซกั ฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด หรอื ฉีดพน่ แอลกอฮอล์

6. ลดความแออัด ไม่จัดกิจกรรมที่เกิดการรวมกลุ่มของนักเรียน ได้มีการจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่าง
น้อย 1 – 2 เมตร เช่น ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่นั่งพัก ทางเดิน จุดพักคอย การควบคุม
นักเรียนที่มาร่วมกิจกรรมลดความแออัด ลดเวลาทำกิจกรรมให้สั้นลง มีการจัดการเหลื่อมเวลาทำกิจกรรม โดย
ถือหลักหลีกเลี่ยงการติดต่อสัมผัสระหว่างกัน และการใช้พื้นที่ใช้สอยบริเวณโรงเรียน โดยยึดหลัก Social
distancing และมีการทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหนง่ ชดั เจนในการจดั เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งกัน

ทำสญั ลกั ษณเ์ ว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คลบนทางเดิน ทนี่ ั่ง

7. ชแี้ จง้ ทำความเข้าใจ กบั ครูและบคุ ลากร
> โรงเรียนมีการประชาสัมพันธ์แก่ครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้น เกี่ยวกับโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทักษะการล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัย สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดี รวมทั้งการทำ
ความสะอาดอย่างถูกวธิ ี

> มแี นวทางและมาตรการปอ้ งกนั โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
> มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ เกี่ยวกับสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ในโรงเรียน
> โรงเรียนมีการประชาสัมพันธ์สื่อสารทำความเข้าใจกับบุคลากร นักเรียน ให้ข้อมูลที่ให้ความเชื่อมั่นใน
มาตรการป้องกันและการดูแล ตามระบบดูแลช่วยเหลือในโรงเรียน โดยเฉพาะการระมัดระวัง การสื่อสารและ
คำพูดที่มีผลต่อทัศนคติ เพื่อลดการรังเกียจ การตีตราทางสังคม (Social stigma) กรณีที่อาจพบบุคลากรใน
โรงเรยี น นักเรยี น ผปู้ กครองติดเช้อื ไวรัสโคโรนา (COVID-19)

8. ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองให้เข้ามามีส่วนร่วมกับโรงเรียน ในการป้องกันโรคและการปฏิบัติตัวเพ่ือ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โรงเรยี นไดจ้ ัดโครงการเยี่ยมบา้ นนกั เรียนแบบออนไลน์ เพื่อประชาสัมพนั ธใ์ ห้ความรู้
ในการปฏิบัติตัว ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19) การรับ - ส่ง การ
เรียนออนไลน์ที่บ้าน การติดตามข้อมูลข่าวสาร การสังเกตอาการป่วยของบุตรหลานและขอความร่วมมือในการ
ดแู ลนักเรยี นทอ่ี ยใู่ นการปกครอง เพื่อร่วมปอ้ งกนั และแพรเ่ ช้ือ เมอื่ ถงึ วนั เปดิ เรียน

2. รปู แบบการจดั การเรียนการสอน

2.1 เนือ่ งจากโรงเรียนเซนต์โยเซฟแมร่ ะมาดมจี ำนวนนักเรียน 1,030 คน หอ้ งเรยี นจำนวน 32 ห้อง

ระดับช้นั จำนวนนักเรียน(คน) ข้อมูลวันท่ี 25 มิ.ย. 2564
อนบุ าล 1 35
อนุบาล 2 54
อนบุ าล 3 51
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 73
ประถมศึกษาปที ่ี 2 78
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 74
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 71
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 66
ประถมศึกษาปที ี่ 6 73
มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 109
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 91
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 84
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 51
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 55
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 65
รวมทงั้ สน้ิ 1,030

2.2 การจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน
กรณมี าเรียนที่โรงเรียน เน้นการจัดการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น โดยเวน้ ระยะหา่ ง 1 - 2 เมตร
กรณีเรียนรู้อยู่ที่บ้าน เน้นเนื้อหาที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองปฏิบัติงานตามที่ครูมอบหมาย เช่น เรียนรู้จาก

ใบงาน เรยี นแบบ Online
กลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่เี น้นการปฏบิ ตั ิ เชน่ กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ครูชีแ้ จง วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

กับผู้ปกครองและนักเรียน อาจเรียนรู้จากการช่วยผู้ปกครองทำงานบ้านหรือประกอบอาชีพเท่าที่ทำได้ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา อาจให้เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย แล้วบันทึกการปฏิบัติส่งครู และ
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ แบ่งเบาภาระงานให้นักเรียนปฏบิ ัตทิ บ่ี า้ น เปน็ ต้น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน มีการนำกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นฝึก
กระบวนการคิดให้นักเรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติมากกว่าการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว จากเดิมเริ่มที่ครูสอนใน
ห้องเรียนแล้วมอบการบ้านให้ไปทำที่บ้านเปลี่ยนเป็นครูกำหนดประเด็นหรือหัวข้อ พร้อมทั้งให้แหล่งข้อมูลนักเรียนไป
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองล่วงหน้า เมื่อมาเรียนในห้องเป็นการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นโดยครูเป็นผูอ้ ำนวยความ
สะดวกให้เกิดการเรียนรู้การตรวจสอบความเข้าใจการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นสิ่งสำคัญมีการดำเนินการเป็นระยะ
โดยสังเกตดูจากการแสดงความคิดเห็นการทำกิจกรรม ระหว่างเรียน การทำแบบฝึก การสรุปการเรียนรู้ เช่น
Mind Map เป็นตน้ การจดั ประสบการณส์ ำหรับนกั เรยี น โดยเลือกใชเ้ ทคโนโลยใี นการจัดกจิ กรรม หรอื แบบบูรณาการ
เพื่อส่งเสริมพฒั นาการของนักเรียนทุกดา้ น โดยกำหนดตารางหรอื กิจวัตรประจำวัน ให้คำนึงถึงการรักษาความปลอดภัย
ของนกั เรียนเป็นสำคญั

การจดั การเรยี นการ
สอนแบบ On-site

เป็นการจดั การ
เรยี นการสอนใน

ห้องเรียน

การจดั การเรียนการ
สอนแบบ On-Air
เป็นการจดั การเรียน
การสอนผา่ นระบบ

ดาวเทยี ม

การจัดการเรยี นการ
สอน On-Hand
เปน็ การจดั การเรียน
การสอนแบบแจก
เอกสาร/ใบงาน

3.บทบาทของครแู ละนกั เรียน
3.1 บทบาทของครู
1. บทบาทของครใู นกิจการการเรยี นการสอน มีดงั น้ี

1) ครูปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีจดั การเรยี นการสอนตามตารางสอนทโี่ รงเรยี นกำหนด
2) ทำหนา้ ทเี่ ป็นครชู ว่ ยสอนใหก้ บั ครทู ี่ทำการสอนปกติ
3) ประสานงานกบั นักเรียนและผปู้ กครองเพ่ือตดิ ตาม การเรียน การทำงาน หรอื ภาระงานท่คี รูมอบหมาย
4) การจดั ตารางสอน ตารางเรยี น โดยตารางสอนของครูและตารางเรียนของนักเรยี น เป็นตารางชุดเดยี วกัน
5) การจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งนักเรยี นเป็นกลมุ่ ยอ่ ยไม่เกนิ 25 คน ตอ่ ครผู สู้ อน 1 ทา่ น
2. แนวทางการจดั การเรยี นการสอน
1) ครูจดั ทำใบความรู้ ใบงาน ฯลฯ มอบหมายใหใ้ นวันทม่ี าเรยี นท่โี รงเรียน ( On-site )
2) ครูใช้ชอ่ งทางการสอื่ สารกับนกั เรียนและผูป้ กครองผา่ น Line / Facebook โทรศัพท์ หรือชอ่ งทางอ่ืนๆ

อธิบายเพิม่ หรอื ตอบคำถามนกั เรียน
3) ครูผสู้ อนมอบหมายใหเ้ พอ่ื นทอ่ี ยู่หมู่บ้านเดียวกนั หรอื ใกล้เคยี งใหค้ วามช่วยเหลอื
4) ครวู ดั ผลและประเมินผลตามสภาพจรงิ ตามความพรอ้ มและบรบิ ทของนักเรยี น
5) การจดั การเรียนการสอนสำหรับนักเรียนท่ีป่วย กกั ตัว ทางโรงเรยี นใชว้ ิธีการสง่ มอบใบงาน/ใบความรู้

การติดตามและขอความร่วมมอื จากผ้ปู กครองในการกำกับดูแล

3. แนวปฏบิ ัตสิ ำหรบั ครู ผู้ดูแลนักเรยี น
1) ติดตามข้อมูลขา่ วสาร สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค พนื้ ทเ่ี ส่ยี ง คำแนะนำการป้องกันตนเองและ
ลดความเสี่ยงจากแหลง่ ขอ้ มูลทีเ่ ชอื่ ถือได้
2) สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น
ใหห้ ยุดปฏบิ ตั ิงานและรบี ไปพบแพทย์ทันที กรณีมคี นในครอบครัวปว่ ยหรือกลบั จากพน้ื ท่เี ส่ียงและอยูใ่ นช่วง
กกั ตวั ใหป้ ฏิบตั ิตามมาตรการปอ้ งกนั โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเครง่ ครดั
3) แจง้ ผู้ปกครองและนักเรยี น ใหน้ ำของใชส้ ่วนตวั ของตนเองมาใช้ เชน่ ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน
ผ้าเชด็ หนา้ หน้ากากอนามยั เปน็ ตน้
4) ศึกษาความรู้คำแนะนำหรือจัดหาสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ในการปอ้ งกันและลดความเส่ยี งจากการแพรก่ ระจาย
ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แกน่ ักเรยี น เชน่ สอนวิธกี ารล้างมอื ให้ถกู ต้อง การสวมหน้ากาก
อนามยั คำแนะนำการปฏบิ ตั ิตวั การเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม การทำความสะอาดหลีกเล่ียงการทำกิจกรรม
ร่วมกันจำนวนมาก เพื่อลดความแออัด
5) ทำความสะอาดสอื่ การเรยี นการสอนหรืออปุ กรณ์ของใช้ที่เป็นจดุ สัมผัสเสี่ยงทุกครั้งหลังใช้งาน
6) ควบคมุ ดูแลการจัดทีน่ ่ังในหอ้ งเรยี น ระหวา่ งโต๊ะเรียน ทน่ี ่ังในโรงอาหาร การจดั เวน้ ระยะห่างบุคคล
อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร และกำกบั ให้นกั เรยี นสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาและล้างมือบ่อยๆ
7) ตรวจสอบ กำกับ ตดิ ตามการมาเรยี นของนักเรียนท่ีขาดเรียนถูกกักตวั หรืออยู่ในกลมุ่ เส่ยี งต่อการตดิ เชอ้ื ของ
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และรายงานต่อผูบ้ ริหารหรือผ้ทู ่เี กีย่ วขอ้ ง
8) ทำการตรวจคดั กรองสขุ ภาพทกุ คนท่เี ข้ามาในโรงเรยี นในตอนเช้าให้กบั นักเรียน ครู บุคลากรและผมู้ าติดตอ่
โดยใช้เครอื่ งวัดอุณหภมู ิ พรอ้ มสังเกตอาการและสอบถามอาการ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก
เหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่นิ ไม่รูร้ ส โดยติดสตกิ เกอร์ แสดงใหเ้ ห็นชัดเจนวา่ ผ่านการคดั กรองแล้ว
9) วิธีการปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรฐานที่ครูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหา
การเรียนรูใ้ หถ้ กู ต้อง น่นั คอื “สรา้ งพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมท่ีไมพ่ งึ ประสงค์”
10) ครูส่ือสารความรู้เกย่ี วกับความเครยี ด วา่ เป็นปฏิกิริยาปกตทิ เ่ี กดิ ขึน้ ไดใ้ นภาวะวกิ ฤติทีม่ กี ารแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และนำกระบวนการการจดั การความเครียด การฝึกสติ
ให้กลมกลืน และเหมาะสมกบั นกั เรยี นและวัย รว่ มกับการฝึกทักษะชีวิตทเ่ี สริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ทางใจ
(Resilence) ใหก้ ับนักเรียน ได้แก่ทกั ษะดา้ นอารมณ์ สังคมและความคิด เปน็ ตน้
11) ครสู ังเกตอารมณ์ความเครียดของตวั ท่านเอง เน่ืองจากภาระหน้าทกี่ ารดแู ลนักเรยี นจำนวนมาก และกำกับ
ใหป้ ฏบิ ตั ิตามมาตรฐานการปอ้ งกนั การตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปน็ บทบาทสำคัญ อาจจะ
สรา้ งความเครียด วติ กกงั วล ทงั้ จากการเฝ้าระวังนกั เรยี นและการป้องกนั ตวั ท่านเองจากการสมั ผัสกบั
เชือ้ โรค ดังนน้ั เมอื่ ครูมีความเครียดจากสาเหตตุ ่างๆ มีขอ้ เสนอแนะดังน้ี

- ความสบั สนมาตรการของโรงเรียนท่ไี ม่กระจ่างชัดเจน แนะนำใหส้ อบถามกบั ผูบ้ รหิ าร หรอื เพอื่ น เพ่ือใหเ้ ข้าใจ
บทบาทหน้าท่ีและขอ้ ปฏบิ ตั ิท่ตี รงกนั

- ความวิตกกงั วล กลวั การตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรยี น พูดคุยสอื่ สารถึงความไมส่ บายใจ
หากทา่ นเปน็ กลุม่ เสย่ี ง มีโรคประจำตวั ให้ปรึกษาแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครดั

- มกี ารจดั การความเครียด การฝกึ สติ เปน็ กิจวตั รกอ่ นเร่ิมการเรียนการสอน เพ่อื ลดความวิตกกังวลตอ่
สถานการณ์ท่ีตึงเครียดนี้

3.2 บทบาทของนักเรียน
1. บทบาทในกิจกรรมการเรียนการสอน

1) เข้าเรยี นตามวันเวลา ตามตารางสอนทโ่ี รงเรยี นกำหนด
2) เรียนผา่ นระบบออนไลน์ (Online)ช่องทางการเรยี นอื่นๆ และทำใบกิจกรรม ใบงาน และการบา้ น ทค่ี รู

มอบหมายในวันมาเรียน
2. แนวปฏิบัตสิ ำหรับนักเรยี น

1) ติดตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของพื้นท่ีเส่ยี ง
จากแหล่งขอ้ มลู ทีเ่ ชอ่ื ถือได้และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเชอ้ื โรค

2) สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไขไ้ อ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ด้กลน่ิ
ไมร่ รู้ ส ให้รีบแจ้งครูหรือผปู้ กครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยหรอื กลบั จากพน้ื ท่ีเส่ยี ง
และอยู่ในชว่ งกักตวั ให้ปฏิบตั ิตามคำแนะนำตามมาตรการปอ้ งกนั โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) อยา่ งเครง่ ครดั

3) ไมใ่ ช้ของใช้รว่ มกบั ผูอ้ ่ืน เช่น ชอ้ น ส้อม แกว้ นำ้ หน้ากากอนามัยและทำความสะอาดหรอื เก็บให้เรียบร้อยทกุ
ครง้ั หลงั ใชง้ าน

4) สวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรยี น
5) หมน่ั ล้างมอื บ่อย ๆ อยา่ งน้อย 20 วนิ าที ก่อนรบั ประทานอาหาร หลงั ใช้ห้องนำ้ หลีกเล่ยี งใช้มอื สมั ผัส

ใบหน้า ตา ปาก จมูกโดยไมจ่ ำเปน็ รวมถงึ สร้างสขุ นสิ ยั ทีด่ ีหลังเล่นกบั เพื่อนเมื่อกลับมาถึงบา้ นต้องรบี
อาบนำ้ สระผม และเปลย่ี นเส้อื ผา้ ใหมท่ ันที
6) เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1-2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหวา่ งเรยี น ช่วงพกั และหลังเลกิ
เรยี น เช่น นง่ั กนิ อาหาร เลน่ กบั เพอื่ น เขา้ แถวตอ่ คิว ระหวา่ งเดินทาง
7) หลกี เล่ยี งการไปในสถานที่ทีแ่ ออัดหรือแหล่งชุมชนท่เี สีย่ งตอ่ การตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
8) กรณนี กั เรียนด่ืมน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครื่องหมายหรอื สญั ลกั ษณ์เฉพาะ ไม่ให้ปะปน
กบั ของคนอื่น

9) ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกนิ อาหารปรงุ สุก ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ รวมถึงออกกำลังกาย
ตอนเชา้ เปน็ ประจำทุกวนั และนอนหลับอย่างเพยี งพอ 9-11 ช่วั โมงตอ่ วัน

10) กรณีนักเรียนขาดเรียนหรือถูกกกั ตวั ควรติดตามความคบื หนา้ การเรียนอยา่ งสมำ่ เสมอ ปรกึ ษาครู เชน่
กรณกี ารสอนออนไลน์ อา่ นหนังสือ ทบทวนบทเรยี นและทำแบบฝึกหดั ทีบ่ ้าน

11) หลกี เล่ยี งการล้อเลยี นความผดิ ปกตหิ รืออาการไมส่ บายของเพอ่ื น เนือ่ งจากอาจจะก่อใหเ้ กดิ ความ
หวาดกลวั มากเกินไปต่อการป่วยและเกิดการแบง่ แยกกดี กันในหมู่นกั เรียน

3. บทบาทหน้าท่ขี องนกั เรยี นแกนนำด้านสขุ ภาพ
นักเรียนที่มจี ติ อาสาหรือผนู้ ำเยาวชน ทำหนา้ ที่เปน็ อาสาสมัครชว่ ยดูแลสุขภาพเพื่อนนกั เรียนด้วยกันหรือดแู ล

รนุ่ นอ้ ง โดยมบี ทบาทหน้าท่ี ดังน้ี
1) ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้ืนท่ีเสย่ี ง คำแนะนำการป้องกันตนเอง และ
ลดความเสยี่ งจากแหล่งขอ้ มลู ท่เี ช่อื ถือได้
2) ชว่ ยครูตรวจคดั กรองวัดอณุ หภูมิรา่ งกายของนักเรยี นทุกคนท่ีมาเรียนในตอนเช้า บริเวณทางเข้าโดยมีครูดแู ล
ใหค้ ำแนะนำอย่างใกลช้ ดิ เนน้ การจดั เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างนอ้ ย 1- 2 เมตร
3) ตรวจดูความเรยี บร้อยของนกั เรยี นทกุ คนทีม่ าเรยี น ตอ้ งสวมหน้ากากอนามยั หากพบนักเรียนไม่ไดส้ วม
หน้ากากอนามยั ให้แจ้งครูผู้รับผิดชอบเพอื่ จัดหาหน้ากากอนามยั ให้
4) เฝา้ ระวงั สังเกตอาการของนักเรียน หากมอี าการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กลน่ิ ไมร่ รู้ ส ให้รีบแจง้ ครูทันที
5) ให้ความร้คู ำแนะนำการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพรเ่ ช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เพือ่ น
นักเรยี น เช่น สอนวธิ กี ารลา้ งมอื ทถี่ ูกต้อง การสวม และการถอดหน้ากากอนามัย กรณเี ก็บไว้ใชต้ อ่ การทำ
ความสะอาดหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล จดั ทำป้ายแนะนำต่าง ๆ
6) ตรวจอปุ กรณข์ องใช้ส่วนตัวของเพ่อื นนักเรียนและรนุ่ น้องให้พรอ้ มใชง้ าน เนน้ ไม่ใชร้ ว่ มกับผู้อนื่ เช่น จาน
ช้อน สอ้ ม แกว้ น้ำ ผ้าเช็ดมอื ของตนเอง

7) จดั เวรทำความสะอาดหอ้ งเรียน บรเิ วณจุดสมั ผสั เส่ียงทุกวนั เชน่ ทจ่ี บั ประตู กลอนประตู ราวบนั ได สนาม
เด็กเล่น อุปกรณก์ ีฬา เครอ่ื งดนตรี คอมพิวเตอร์

8) เปน็ แบบอยา่ งทดี่ ีในการปฏิบัติตัว เพอ่ื ป้องกนั โรคเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดว้ ยการสวมหนา้ กาก
อนามัย ลา้ งมือบ่อย ๆ กินอาหารใชจ้ าน ชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำของตนเอง การเว้นระยะหา่ ง เป็นตน้ โดยถือ
ปฏบิ ัตเิ ป็นสขุ นสิ ยั กจิ วตั รประจำวันอยา่ งสม่ำเสมอ

4. มาตรการและแนวทางในการดแู ลด้านอนามยั และสง่ิ แวดลอ้ มของโรงเรียน
4.1 เมื่อมาถงึ โรงเรยี นนกั เรยี นตอ้ งใสห่ น้ากากอนามัยตรวจวัดอณุ หภูมิ มีการเวน้ ระยะหา่ ง
4.2 ปรบั เปลี่ยนกจิ กรรมหนา้ เสาธงโดยให้นักเรยี นเขา้ แถวในหอ้ งเรยี นและหน้าชนั้ เรยี น
4.3 ในหอ้ งเรยี นจัดโตะ๊ เก้าอจ้ี ำนวนไม่เกนิ 25 ชุด เว้นระยะห่าง 1-2 เมตร
4.4 ทำความสะอาดหอ้ งเรียนโต๊ะเรยี นและเก้าอ้ดี ว้ ยน้ำยาฆา่ เชอ้ื มีการบนั ทึกข้อมลู อยา่ งเคร่งครัด
4.5 จดั ช่วงเวลาการพกั รบั ประทานอาหารของนักเรยี นใหม้ คี วามเหมาะสมมกี ารเว้นระยะหา่ ง 1-2 เมตร
บนโตะ๊ อาหาร
4.6 กำหนดจดุ ใหน้ กั เรียนรอคิวเขา้ หอ้ งนำ้ และใชอ้ า่ งลา้ งมอื ให้มรี ะยะห่างอย่างชดั เจน
4.7 ทำความสะอาดโรงอาหารและมกี ารเว้นระยะห่างการเข้าแถวเลอื กซอ้ื อาหาร
4.8 ทำความสะอาดเครอื่ งกรองน้ำดมื่ ของโรงเรียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐานความสะอาดปลอดภยั และมกี าร
บนั ทกึ การทำความสะอาดอย่างเครง่ ครัด
4.9 มีเครอ่ื งทำน้ำรอ้ นให้บริการแกน่ ักเรยี น จำนวน 2 เครอ่ื ง

แนวปฏบิ ัตดิ า้ นอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม
สถานศกึ ษาเป็นสถานที่ที่มคี นอย่รู วมกันจำนวนมาก ท้งั นกั เรียน ครู ผู้ปกครอง บคุ ลากร และผู้มาตดิ ตอ่
กรณีที่นักเรียนต้องทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ทำให้มีโอกาสใกล้ชิดกันมาก เกิดโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่กระจาย
ของเชื้อโรคได้งา่ ย จึงมีแนวปฏบิ ตั กิ ารจดั อาคารสถานที่ ดงั น้ี
1. หอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
1) จดั โตะ๊ เก้าอี้หรือทีน่ ่ังใหม้ ีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตรและมสี ัญลกั ษณแ์ สดง

จดุ ตำแหนง่ ชัดเจนการใช้พน้ื ที่บรเิ วณโรงเรยี น ยดึ หลกั Social distancing
2) เนน้ ให้นกั เรยี นสวมหนา้ กากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา
3) จดั ให้มกี ารระบายอากาศท่ดี ีให้อากาศถ่ายเทเชน่ เปิดประตูหนา้ ตา่ ง ห้องท่ีใชเ้ ครอ่ื งปรับอากาศ

กำหนดเวลาเปิดและปิดเครื่องปรบั อากาศและเปิดประตหู นา้ ต่างให้อากาศถา่ ยเทและทำความ
สะอาดอย่างสมำ่ เสมอ
4) จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมอื สำหรบั นักเรยี นและครู ทกุ หอ้ งเรียน
5) มกี ารทำความสะอาดโตะ๊ เก้าอี้ อปุ กรณ์ และจุดสมั ผัส เชน่ ลกู บดิ ประตู ราวบนั ได อย่างนอ้ ยวนั ละ
2 ครัง้ กรณีมีการย้ายหอ้ งเรียนตอ้ งทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ อก้ี ่อนและหลงั ใช้งานทุกคร้งั

2. ห้องสมดุ
1) จัดโต๊ะเกา้ อี้ทน่ี งั่ ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งนอ้ ย 1-2

เมตรและทำสัญลกั ษณแ์ สดงจุดตำแหน่งชัดเจน
2) มีการระบายอากาศให้อากาศถา่ ยเทเช่นเปดิ พดั ลม ประตหู น้าตา่ งและ

ทำความสะอาดบรเิ วณจดุ ตา่ งๆอยา่ งสมำ่ เสมอ
3) มเี จลแอลกอฮอลใ์ ช้ทำความสะอาดมือสำหรับครบู รรณารกั ษ์ นักเรียน

และผู้ใชบ้ รกิ ารบริเวณทางเขา้ ด้านหนา้ และภายในหอ้ งสมุดอยา่ งเพียงพอ
4) ทำความสะอาดโตะ๊ เกา้ ออี้ ุปกรณแ์ ละจุดสัมผสั เส่ียงเชน่ ลกู บิดประตูชนั้

วางหนงั สือทกุ วันวนั ละ 2 ครัง้ เชน่ ให้บริการในชว่ งเวลาพกั เท่ียงและหลงั เลกิ เรียน
5) จำกัดจำนวนคนจำกดั เวลาในการใช้บริการห้องสมุดและให้นักเรยี น

ผู้ใชบ้ รกิ ารทกุ คนสวมหน้ากาก อนามยั ขณะใช้บริการหอ้ งสมุดตลอดเวลา

3. หอ้ งประชมุ หอประชมุ
1) จดั ใหม้ ีการคดั กรองวัดอุณหภมู ิรา่ งกายกอ่ นเขา้ หอ้ งประชมุ หากพบผู้มอี าการมไี ข้ไอมนี ้ำมูกเจ็บคอ

หายใจลำบากเหน่อื ยหอบไมไ่ ดก้ ลน่ิ ไมร่ ู้รสแจ้งงดเขา้ รว่ มประชุมและแนะนำให้ไปพบแพทยท์ นั ที
2) จัดโตะ๊ เก้าอ้ีหรอื ที่นั่งใหม้ กี ารเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล 1-2 เมตรและจัดทำสญั ลกั ษณแ์ สดงจดุ

ตำแหน่งชดั เจน
3) ผู้เขา้ ประชมุ ทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จัดให้มเี จลแอลกอฮอล์ทาํ ความสะอาดมอื ของผเู้ ข้าประชมุ บรเิ วณทางเข้าหอ้ ง ด้านหนา้ และดา้ นใน

ของหอ้ งประชมุ อยา่ งเพยี งพอและทว่ั ถึง
5) งดหรอื หลกี เลย่ี งการให้บริการอาหารและเครอ่ื งดืม่ ภายในห้องประชุม
6) ทำความสะอาดโตะ๊ เก้าออ้ี ุปกรณแ์ ละจดุ สมั ผสั เส่ียงเชน่ ลูกบดิ ประตรู ีโมทอปุ กรณ์สอื่ ก่อนและหลังใช้

หอ้ งประชมุ ทกุ คร้ัง
7) มีการระบายอากาศที่ดใี ห้อากาศถา่ ยเทเชน่ เปดิ ประตหู นา้ ต่างกอ่ นและหลงั ใช้หอ้ งประชุมทุกคร้ัง

หากมกี ารใช้เครอื่ งปรับอากาศต้องกำหนดเวลาเปดิ และปดิ เคร่อื งปรบั อากาศและทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ

4.ลานเอนกประสงค/์ สนามกีฬา
1) จดั พืน้ ทท่ี ำกจิ กรรมและเลน่ กฬี า ลดความแออดั อาจจดั ใหเ้ ลน่ กฬี าเป็นรอบหรือใหม้ ีการเวน้ ระยะ
หา่ งระหว่างบุคคลอยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร
2) จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมอื สำหรบั นักกฬี าและผมู้ าใชบ้ ริการอยา่ งเพยี งพอ และทั่วถึง
3) ทำความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนิดก่อนหรือหลังใช้ทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 คร้ัง
4) จำกดั จำนวนคนจำนวนเวลาในการเล่นกีฬาหรือทำกิจกรรม
5) หลีกเลีย่ งการจดั กจิ กรรมหรือเลน่ กีฬาประเภทแขง่ ขันเป็นทีมหรือมีการปะทะกันอยา่ งรุนแรง เช่น
วอลเลย่ ์บอล ฟตุ บอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล

5. หอ้ งสุขา
1) จัดเตรียมอุปกรณ์ ทำความสะอาดอยา่ งเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาด ถงั นำ้ ไมถ้ ูพื้น ผา้ เชด็
ทำความสะอาดและอปุ กรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลทีเ่ หมาะสมกบั การปฏบิ ตั งิ าน เชน่ ถงุ มือ
หน้ากากอนามยั
2) การทำความสะอาดหอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ ม อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง ด้วยน้ำยาทำความสะอาด พ้นื ท่ี
หอ้ งนำ้ ให้ฆา่ เชือ้ โดยใช้ผลิตภณั ฑ์ทำความสะอาด เน้นบรเิ วณที่รองนง่ั โถส้วม ฝาปดิ โถสว้ ม
ท่กี ดชักโครก สายชำระ ราวจบั ลกู บดิ หรอื กลอนประตู ทแี่ ขวนกระดาษชำระ อา่ งล้าง ก๊อกน้ำ
ทวี่ างสบู่ ผนัง ชอ่ งประตู
3) หลงั ทำความสะอาด ควรซักผา้ เชด็ ทำความสะอาด และไม้ถพู น้ื ด้วยน้ำผสมผงซักฟอก หรือน้ำยา
ฆา่ เช้ือ ซักด้วยน้ำสะอาดอกี คร้งั และนำไปผงึ่ แดดใหแ้ ห้ง
4) ผปู้ ฏิบตั งิ านท่ดี ูแลความสะอาดหรือผู้ปฏบิ ัติงานเกบ็ ขยะให้สวมถุงมือยางหนา้ กากอนามยั เสอ้ื กัน
ฝนหรือผ้ายางกนั เปื้อนรองเทา้ ยางห้มุ ส้นสงู ถึงหน้าแขง้ และใช้อปุ กรณถ์ ุงมอื ยางเกบ็ ขยะใส่ถุงขยะ
ปิดปากถุงใหม้ ดิ ชดิ นำไปรวบรวมไวท้ พ่ี ักขยะแลว้ ล้างมือให้สะอาดทกุ ครั้งภายหลังปฏบิ ตั ิงานและ
เมอ่ื ปฏิบัติงานเสรจ็ ในแต่ละวันถา้ เป็นไปได้ควรอาบน้ำและเปลีย่ นเส้ือผ้าทันที

6. หอ้ งพักครู
1) จดั โต๊ะเกา้ อ้หี รอื ที่น่งั ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล
อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร คำนึงถงึ สภาพหอ้ งและขนาดพ้นื ที่
จัดทำสัญลกั ษณแ์ สดงจุดตำแหนง่ ชดั เจนโดยปฏบิ ตั ติ าม
หลัก Social distancing อยา่ งเครง่ ครัด
2) ใหค้ รูสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในโรงเรยี น
3) จัดใหม้ ีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถา่ ยเทเชน่ เปิดประตู
หน้าต่าง (กรณีทีใ่ ชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศ ตอ้ งกำหนดเวลาเปดิ และปดิ
เครื่องปรบั อากาศควรเปิดประตูหนา้ ตา่ งใหร้ ะบายอากาศ และทำ
ความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ
4) มกี ารทำความสะอาดโตะ๊ เก้าออี้ ุปกรณ์และจุดสมั ผัสเส่ียงเช่น
ลกู บดิ ประตู อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ เป็นประจำทุกวนั อย่าง
น้อยวนั ละ 2 คร้ัง

5) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือสำหรับครแู ละผูม้ าติดตอ่ บริเวณทางเขา้ ด้านหนา้ ประตู
และภายในหอ้ งอย่างเพยี งพอและทั่วถึง

7. ห้องพยาบาล
1) มีครหู รอื เจ้าหนา้ ที่เพอื่ ดแู ลนกั เรียนในกรณที ่มี ีนกั เรยี น

ป่วยมานอนพกั รอผู้ปกครองมารับ
2) ทำความสะอาดเตียงและอปุ กรณ์ของใช้ทกุ วนั
3) จัดเตรยี มเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ำความสะอาดมอื บรเิ วณ

ทางเขา้ หนา้ ประตแู ละภายในห้องพยาบาลอย่างเพยี งพอ
4) จัดให้มีการระบายอากาศถ่ายเทท่ีดี เปิดประตู หนา้ ตา่ ง

ให้โปรง่ และทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ
5) มกี ารเว้นระยะห่างของเตยี งตามมาตรการปอ้ งกนั การแพร่

ระบาดโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
6) มเี จา้ หน้าทีจ่ ากโรงพยาบาลและองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลแมร่ ะมาดมาให้บริการฉดี พน่ น้ำยาฆา่ เช้ือ

ก่อนเปิดการเรียนการสอน

8. โรงอาหาร
1. มกี ารกำหนดมาตรการในการปฏบิ ตั ใิ ห้สถานทสี่ ะอาดถูกสุขลกั ษณะดังน้ี
1.1 จดั ให้มีอ่างลา้ งมอื พร้อมสบู่สำหรบั ล้างมือบรเิ วณกอ่ นทางเขา้ โรงอาหาร
1.2 ทกุ คนที่จะเขา้ มาในโรงอาหารตอ้ งสวมหนา้ กากอนามยั
1.3 จดั ใหม้ กี ารเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตรในพ้ืนทีต่ ่างๆเชน่ ทนี่ ่งั กนิ อาหาร
จุดรับอาหาร ซอ้ื อาหาร จดุ รอกดน้ำดมื่ จุดปฏบิ ัติงานรว่ มกนั ของผสู้ มั ผสั อาหาร
1.4 จัดเหลอ่ื มชว่ งเวลาซื้อและกินอาหารเพื่อลดความแออดั พืน้ ที่ภายในโรงอาหาร
1.5 ทำความสะอาดสถานที่ประกอบอาหารพืน้ ท่ตี ้ังต้กู ดน้ำดม่ื และพนื้ ที่บรเิ วณที่น่ังรับประทานอาหาร
ให้สะอาดดว้ ยนำ้ ยาทำความสะอาดหรอื ผงซกั ฟอกและจดั ให้มกี ารฉดี พน่ น้ำยาฆา่ เชอื้
1.6 ทำความสะอาดโตะ๊ และทน่ี ่งั ให้สะอาดสำหรบั นง่ั รับประทานอาหารดว้ ยนำ้ ยาทำความสะอาดและ
จัดให้มีการฉดี พ่นนำ้ ยาฆ่าเชอื้
1.7 ทำความสะอาดภาชนะและอุปกรณ์และเครอื่ งใชใ้ ห้สะอาดด้วยน้ำยาลา้ งจานและเชด็ ด้วยผ้าใหแ้ ห้ง
1.8 จดั บริการอาหารเน้นปอ้ งกนั การปนเป้ือนของเชื้อโรคเช่นอาหารปรงุ สำเรจ็ สกุ ใหมท่ ุกครง้ั จัดเก็บ
อาหารปรงุ สำเรจ็ อย่างมดิ ชิด ใชภ้ าชนะทเ่ี หมาะสมกบั ประเภทอาหารและจัดให้มีอุปกรณส์ ำหรบั
การรับประทานอาหารอย่างเพียงพอในรายบคุ คลเช่นจานถาดหลุมชอ้ นส้อมแก้วนำ้ เปน็ ตน้
1.9 ประชาสมั พันธใ์ หค้ วามรภู้ ายในโรงอาหารเชน่ การสวมหนา้ กากท่ีถกู วิธขี ั้นตอนการลา้ งมือท่ถี ูก
ต้องการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลการเลอื กอาหารสดใหม่สะอาด การทง้ิ หน้ากากอนามยั ที่
ถูกต้อง เปน็ ต้น
1.10 ผ้ปู กครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน( Lunch Box) ใหน้ ักเรยี นมารบั ประทานเองได้
เพอื่ ปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของเช้ือโรค

2. ผสู้ มั ผัสอาหาร ต้องดแู ลสขุ ลักษณะส่วนบคุ คลมีการปอ้ งกันตนเองและปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเช้ือโรค
ดังนี้
2.1 กรณมี อี าการป่วยไข้ไอมีนำ้ มูกเจบ็ คอหายใจลำบากเหนอ่ื ยหอบไมไ่ ด้กลน่ิ ไม่รู้รส ใหห้ ยดุ ปฏบิ ตั ิงาน
และแนะนำใหไ้ ปพบแพทยท์ ันที
2.2 ดแู ลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีการป้องกันตนเองแตง่ กายใหส้ ะอาดสวมใสผ่ ้ากนั เปอ้ื นและอุปกรณ์
ปอ้ งกันการปนเป้ือนสอู่ าหารในขณะปฏบิ ัตงิ าน
2.3 รกั ษาความสะอาดของมือดว้ ยการลา้ งมือบอ่ ยๆด้วยสบแู่ ละนำ้ กอ่ นปฏบิ ตั ิงานและขณะเตรยี ม
การประกอบอาหาร และจำหนา่ ยอาหารรวมถงึ หลงั จากการจับเหรยี ญหรอื ธนบัตรหรือสัมผสั
สงิ่ สกปรก อาจใชเ้ จลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือรว่ มดว้ ย หลีกเลย่ี งการใช้มือสมั ผัสใบหน้าตา
ปาก จมกู โดยไมจ่ ำเป็น

2.4 ตอ้ งใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาขณะปฏบิ ตั งิ าน
2.5 มพี ฤตกิ รรมขณะปฏิบตั งิ านป้องกันการปนเปอ้ื นของ เชือ้ โรคใช้อุปกรณใ์ นการปรงุ ประกอบอาหาร

เชน่ เขียง มีด หยบิ จับอาหาร แยกอาหารสด อาหารประเภทเน้อื สตั ว์ ผัก และผลไม้ ไมป่ ระกอบ
อาหารบนพื้นโดยตรง
2.6 จัดรายการอาหารแตล่ ะวัน โดยเน้นอาหารปรงุ สุกดว้ ยความร้อน โดยเฉพาะเนอื้ สตั ว์ปรุงให้สกุ ดว้ ย
ความร้อนไมน่ อ้ ยกวา่ 70 องศาเซลเซียส
2.7 อาหารปรุงสำเรจ็ จดั เกบ็ ในภาชนะทีส่ ะอาด มีการจดั เก็บอาหารสงู จากพน้ื ท่ีไมน่ ้อยกว่า 60
เซนตเิ มตร
2.8 ระหวา่ งปฏิบตั งิ านให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร

3.ผทู้ ี่ใชบ้ ริการโรงอาหาร ตอ้ งปอ้ งกนั ตนเองและป้องกนั การแพรก่ ระจายเช้อื โรคดงั นี้
3.1 ล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละน้ำหรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือทกุ ครง้ั ก่อนเข้าไปในโรงอาหาร
รวมถึงหลังจากการจบั เหรยี ญหรอื ธนบัตร และสัมผสั สิง่ สกปรก
3.2 ทุกคนต้องสวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาทอี่ ย่ใู นโรงอาหาร
3.3 เลอื กซือ้ อาหารปรุงสำเรจ็ สกุ ใหม่ หลกี เล่ยี งการรับประทานอาหารประเภทเนื้อสตั ว์เครอื่ งในสตั วท์ ่ี
ปรงุ ไมส่ ุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันทเี ชน่ สภาพอาหารกลนิ่ ความสะอาดและความ
เหมาะสมของภาชนะบรรจมุ กี ารจดั เกบ็ อาหารมิดชิด ไมเ่ ลอะเทอะไมฉ่ ีกขาดเป็นตน้
3.4 มกี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย 1-2 เมตรในการซอ้ื อาหารรอตกั อาหารและขณะ
รอกดนำ้ ดม่ื

9. รถรบั -สง่ นักเรียน
1) ทำความสะอาดรถและบรเิ วณจุดสมั ผสั เชน่ ราวจับทเี่ ปดิ ประตเู บาะนง่ั ทวี่ างแขน ดว้ ยน้ำยาทำความ
สะอาด
2) บุคลากรนกั เรยี นที่ใชบ้ ริการรถรับส่งตอ้ งสวมหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอยบู่ นรถ ลดการพดู คยุ กัน
และเลน่ หยอกลอ้ กนั
3) จดั ที่นงั่ บนรถให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลควรคำนงึ ถงึ ขนาดพนื้ ทข่ี องรถจำนวนทีน่ งั่ พิจารณา
ตามลักษณะของรถและความเหมาะสมยึดหลกั Social distancing อยา่ งเครง่ ครัด
4) กอ่ นและหลงั ให้บรกิ ารแตล่ ะรอบต้องทำความสะอาดภายในและภายนอกรถทุกครั้งเปดิ หน้าตา่ ง
ประตูระบายอากาศให้อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก
5) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์สำหรบั ใช้ทำความสะอาดมอื บนรถทกุ คัน

10. การเข้าแถวเคารพธงชาติ
1) งดจดั กจิ กรรมหนา้ เสาธงใหน้ ักเรยี นเขา้ แถวหนา้ หอ้ งเรยี นและ/หรอื ใหน้ กั เรยี นเขา้ แถวทโี่ ต๊ะเรยี นใน
ห้องเรยี นมกี จิ กรรมหน้าเสาธงพนั ทางเสยี งตามสายประชาสมั พนั ธโ์ รงเรยี น
2) ครูและนักเรยี นทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาทำกิจกรรม
3) ลดระยะเวลาการจดั กิจกรรมหนา้ เสาธงกรณมี ีการสอ่ื สารประชาสมั พนั ธ์ใชช้ อ่ งทางอน่ื ๆเช่นเสยี งตาม
สายของโรงเรยี น เปน็ ต้น
4) ทำความสะอาดอุปกรณข์ องใชห้ รอื จดุ สมั ผสั เส่ียง หลงั การใช้งานทุกครั้งเชน่ เชือกท่ีใช้ชักธงชาติ
ไมโครโฟนเปน็ ตน้

11. หอพกั เดก็ นักเรียนพักประจำ
1) นกั เรียนท่ีจะกลบั เขา้ หอพกั ตอ้ งผ่านการตรวจโรคจากโรงพยาบาล พรอ้ มแสดงใบรับรองแพทย์ก่อน
เขา้ หอพกั ประจำ
2) การนำบุตรหลานกลบั เขา้ หอพักให้ปฺฏิบัตติ ามระเบียบของหอพกั ท่กี ำหนด ให้รบั สง่ ตามวนั และจดุ ท่ี
คัดกรองของโรงเรยี น
3) เม่อื กลับเข้ามาหอพักใหป้ ฏฺ ิบตั ิตามระเบียบของหอพัก ตามกระทรวงสาธารณสขุ ( DMHTT )
Distancing (อยูห่ า่ งไว้) Mask Wearing (ใสแ่ มสกนั ) Hand Washing (หมั่นลา้ งมอื ) Testing
(ตรวจใหไ้ ว) ThaiChana(ใช้ไทยชนะและหมอชนะ)
4) ขอความรว่ มมอื ผปู้ กครองงดเยย่ี มนกั เรียนและใหน้ ำอาหารมาฝากนักเรียนที่จดุ คดั กรองเปน็ เวลา
และไม่อนญุ าตใหน้ กั เรยี นออกจากหอพักเป็นเวลา 2 เดอื น
5) การเรียนการสอนใหป้ ฏิบตั ิตามนโยบายของโรงเรียนกำหนด

การจัดการด้านสขุ ภาพจติ ในสถานการณโ์ รคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
การสร้างความเข้มแข็งของระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นที่ดำเนินการในโรงเรยี นโดย 5 ขน้ั ตอนหลกั ดงั น้ี
1. การรู้จักนกั เรียนเปน็ รายบุคคล ดำเนนิ การไดโ้ ดย
1) ให้เวลาในการสร้างความสัมพันธ์ ทำความรู้จักนักเรียน ทั้งระดับบุคคลและครอบครัวสร้างความ
ไวว้ างใจ กบั นักเรียน เพ่ือพจิ ารณาความพร้อมของนักเรียนตอ่ การเรียนรู้
2) ครูควรเปิดโอกาสให้ตัวท่านเองและนักเรียนในห้องเรียน หรือชั้นเรียนได้เรียนรู้ทักษะทางสังคมกับ
เพ่ือนใหม่ ครูใหม่ ช้ันเรยี นใหม่ โดยเวน้ ระยะหา่ งทางกายภาพเพ่ือปอ้ งกันการแพรก่ ระจายของโรคติดต่อ
3) ครูสังเกตสภาวะอารมณ์ การปรับตัวของเด็ก ทั้งที่เกิดจากสถานการณ์โรคระบาด แล้วการเรียนรู้ตาม
หลักสตู ร โดยติดตามความรว่ มมือ ความรับผิดชอบของเดก็ ผลการสังเกต การพดู คุย การตรวจสอบผลงาน เพ่ือให้
ได้ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์
2. การคัดกรองนักเรียน
1) เมื่อครูสังเกตความผิดปกติทางอารมณ์ พฤติกรรมทางสังคมของนักเรียนโดยใช้เครื่องมือง่ายๆ
ในการคัดกรองปัญหาโดยเฉพาะปัญหาทางอารมณ์ที่จำเป็นต้องสอบถามจากนักเรียนหรือให้นักเรียนประเมิน
ตัวเอง
2) นอกจากปัญหาด้านอารมณ์ พฤติกรรมหรือสังคมแล้ว ครูควรประเมินความสามารถด้านการสื่อสาร
ตามระดบั พฒั นาการ หรือระดบั ความสามารถของนักเรียนแต่ละคน เพือ่ พิจารณาช่วยเหลอื ในด้านความบกพร่อง
ด้านการสอื่ สาร หรอื การเข้าใจภาษาของนักเรียน
3. การป้องกันและแก้ไขปัญหา ประกอบด้วย 2 เทคนิคหลัก คือ การให้คำปรึกษา และการจัดกิจกรรม
เพื่อปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา
1) เมื่อครูสังเกตเห็นความผิดปกติของนักเรียนประกอบการคัดกรองเพื่อค้นหานักเรียนกลุ่มเสี่ยงหรือมี
ปญั หาเพมิ่ เตมิ แล้ว ให้ครใู ช้ทกั ษะการใหค้ ำปรึกษาเพอ่ื ช่วยเหลือดา้ นจิตใจแกน่ ักเรียน โดยใหเ้ วลาอยู่กบั นักเรยี น
คนนั้นอย่างสงบ รับฟังปญั หาและสนับสนุนให้นกั เรียนมองหาแหล่งช่วยเหลอื ดา้ นจติ ใจท่ีเขา้ ถงึ งา่ ย
2) จัดกิจกรรมกบั กลุ่มนักเรยี น เพื่อช่วยใหเ้ กิดการยอมรับอารมณ์ทีเ่ กิดในภาวะวิกฤต มีบทสนทนาทีเ่ ปดิ
กว้างสำหรับปญั หาความไม่สบายใจของทุกคนในหอ้ งเรียน เพื่อวธิ กี ารสร้างสรรค์ในการชว่ ยเหลือร่วมมือกัน และ
ให้กำลงั ใจสำหรบั ผ้ทู ำดมี ีความเอื้อเฟื้อและเมตตาตอ่ ผอู้ ื่น
3) ครูให้ข้อกำหนดกับนักเรียนว่า ขณะที่ต้องเรียนรู้ผ่านออนไลน์เพิ่มขึ้น อาจขยายเวลาการอยู่หน้าจอ
เพิ่มขนึ้ แต่เมอ่ื สถานการณ์กลับสสู่ ภาวะปกติระยะเวลาหนา้ จอจะลดลงเทา่ ปกติ
4) ครูและพ่อแม่ให้ความสำคัญกับ”กระบวนการ”ของการเรียนรู้หรือการแก้ปัญหามากกว่าผลลัพธ์
เพียงอย่างเดียว เพ่ือสรา้ งความกระตือรอื รน้ ในการเรยี นรู้และใหค้ วามสำคญั กับความพยายามตอ่ ความยากลำบาก
มากขึ้น

4. ส่งเสรมิ พฒั นานกั เรยี น ดว้ ย 4 เทคนิคหลัก คือ กิจกรรมโฮมรูม การเย่ยี มบา้ นแบบออนไลน์ การปฏิสัมพนั ธก์ บั
ผ้ปู กครองช้ันเรียน และการจดั กิจกรรมทักษะชวี ติ

1) การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน ควรบูรณาการองค์ความรู้ด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต
เข้าด้วยกัน โดยครูส่ือสารเรื่องความเครียดว่าเป็นปฏิกิริยา ปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติที่มีการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ในเวลานี้ และนำกระบวนการจัดการความเครียด การฝึกสติให้
กลมกลนื และเหมาะสมกบั นักเรียนแตล่ ะวัย รว่ มกับการฝึกทกั ษะชวี ิตที่เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทางใจ(resilience)
ให้กับนักเรียนได้แกท่ ักษะด้านอารมณ์ สังคมและความคิด

2) ประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวอย่างใกล้ชิด เพื่อส่งต่อข้อมูลสำคัญให้กับ
ผู้ปกครองในการดูแลอยา่ งตอ่ ไป

5. การส่งต่อ ในกรณีทคี่ รูพบปญั หาของนักเรยี นทยี่ ากตอ่ การชว่ ยเหลอื ควรสง่ ตอ่ ให้ผเู้ ชยี่ วชาญไดแ้ กไ้ ขอยา่ ง
เหมาะสม

1) การสง่ ต่อภายในไปยังครูแนะแนวและครหู อ้ งพยาบาล
2) การส่งต่อภายนอกไปพบผเู้ ชีย่ วชาญนักจิตวิทยาจากหนว่ ยงานโรงพยาบาล
3) ขอ้ มลู แหล่งชว่ ยเหลอื ด้านจติ ใจที่เขา้ ถึงง่าย ได้แก่ สายดว่ นกรมสุขภาพจติ 1323, Facebook สาย
ด่วนสขุ ภาพจิต 1323,www.Lovecarestation.com และแหล่งอืน่ ๆ

การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน

ในกรณีท่โี รงเรยี นพบว่ามนี ักเรียนหรอื บคุ ลากรในโรงเรียนท่อี ยู่ในกลุม่ เส่ยี งใหโ้ รงเรยี นดำเนนิ การตาม
มาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด กรณเี กดิ การระบาดของกรมควบคมุ โรคกระทรวงสาธารณสุขดังตอ่ ไปนี้

กรณีเกิดการระบาดในโรงเรยี น
เหตุการณ์การระบาดหมายถึงเมื่อผู้ป่วยยืนยันอย่างน้อย 1 ราย คิดว่าอาจมีการแพร่กระจายเชื้อใน
สถานศกึ ษา
1. ผปู้ ่วยท่เี ขา้ เกณฑต์ อ้ งสอบสวน(PUI=Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ท่ีมปี ระวัติไข้หรือวัด
อุณหภูมิกายได้ตัง้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง(ไอ น้ำมูก เจ็บคอ
หายใจเร็วหรือหายใจเหนื่อยหรือหายใจลำบาก)และมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันในช่วง 14 วันก่อนมี
อาการ
2. ผปู้ ่วยยนื ยนั หมายถึง ผู้ทม่ี ผี ลตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ พบวา่ ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
3. ผูส้ ัมผสั ทม่ี ีความเสีย่ งต่อการติดเชื้อสูง(High risk contact) หมายถงึ ผูส้ มั ผสั ใกล้ชดิ ตามลักษณะข้อ
ใดข้อหน่งึ ดงั น้ี
1) ผู้ทเี่ รยี นรว่ มห้อง ผู้ท่ีนอนร่วมหอ้ งหรอื เพอ่ื นสนิททีค่ ลกุ คลกี นั
2) ผูส้ ัมผสั ใกลช้ ิดหรอื มกี ารพูดคยุ กับผูป้ ว่ ยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที หรือถูกไอจาม จากผู้ปว่ ย
โดยไม่มีการป้องกนั เช่น ไมส่ วมหนา้ กากอนามัย
3) ผู้ที่อยู่ในบรเิ วณที่ปิด ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ ร่วมกับผู้ป่วย
และอยหู่ ่างจากผ้ปู ว่ ยไมเ่ กิน 1 เมตร นานกวา่ 15 นาที โดยไมม่ ีการปอ้ งกัน
4. ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk contact) หมายถึง ผู้ที่ทำกิจกรรมอื่นๆร่วมกับ
ผปู้ ว่ ย แต่ไมเ่ ขา้ เกณฑค์ วามเสย่ี ง
5. ผไู้ ม่ได้สัมผสั หมายถึง ผูท้ ีอ่ ยูใ่ นสถานศกึ ษาแตไ่ ม่มกี จิ กรรมหรอื ผปู้ ว่ ยในชว่ ง 14 วัน กอ่ นป่วย
6. ผทู้ มี่ ีภาวะเสย่ี งต่อการปว่ ยรนุ แรง(Underlying condition) หมายถงึ ผทู้ ีม่ ีภูมติ ้านทานต่ำหรือมีโรค
ประจำตัวหรือผู้สงู อายุ
กิจกรรมการเฝา้ ระวงั กอ่ นการระบาด
1. ใหม้ ีการตรวจสอบการลาป่วยของนกั เรียนและบคุ ลากรในสถานศึกษา หากพบวา่ ปว่ ยมากและผดิ ปกติ ให้
รายงานเจา้ หน้าที่โรงพยาบาลแมร่ ะมาด
2. ให้มีการคดั กรองตรวจวัดอณุ หภูมิและใชเ้ จลแอลกอลฮอล์ ตามมาตราการสาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครดั
3. หอ้ งพยาบาลมีการบันทึกรายชอ่ื และอาการของนักเรียนที่ปว่ ยในแต่ละวนั

กจิ กรรมเม่ือมกี ารระบาด
1. ปดิ โรงเรยี น/ชั้นเรยี น เพอ่ื ทำความสะอาดเป็นระยะเวลา 7 วัน โดยผู้อำนวยการสถานศกึ ษามีอำนาจส่ังปิด
ดว้ ยเหตพุ เิ ศษไมเ่ กิน 7 วัน ผอู้ ำนวยการศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ตากไมเ่ กิน 15 วัน เลขาธิการคณะกรรมการการสง่ เสริม
การศึกษาเอกชนไมเ่ กิน 30 วัน และรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารส่งั ปดิ ได้
ตามความเหมาะสม
2. สำรวจคัดกรองนักเรียนและบคุ ลากรทุกคน บรเิ วณทโ่ี รงเรยี นกำหนด มดี งั น้ี อาคารเซนต์ปอลมีจุดคัด
กรอง3 จุด จุดท่ี 1 ทางขนึ้ บันไดด้านขวามือ จดุ ท่ี 2 หน้าหอ้ งธุรการ จุดท่ี 3 ทางขน้ึ บันไดดา้ นซ้ายมือ และ
อาคารเอ็มมานแู อลมจี ดุ คัดกรอง 3 จดุ จดุ ท่ี 1 ทางขึ้นบนั ไดดา้ นขวามอื จุดที่ 2 ทางขน้ึ บันไดกลาง จดุ ท่ี 3 ทาง
ข้นึ บนั ไดด้านซ้ายมอื โดยใช้เคร่ืองวดั อณุ หภูมแิ บบมือและแบบอินฟาเรดและใช้เจลแอลกอลฮอลล์ ้างมอื

- หากพบผู้ทีม่ ีอุณหภูมิกายตง้ั แต่ 37.5 องศาเซลเซยี สขนึ้ ไป ใหน้ ่ังพักจุดพักคอยแลว้ ใหก้ ลบั มาวัดอุณหภมู ิ
อีก 1 คร้ัง ถ้าหากยงั มีอณุ หภมู ิกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้นึ ไปครมู กี ารสอบถามขอ้ มูลกบั นกั เรยี นพรอ้ มกบั
ตดิ ตอ่ ใหผ้ ูป้ กครองมารบั ไปโรงพยาบาลแม่ระมาด

3. เมื่อเปดิ เทอม ใหม้ กี ารคัดกรองไข้ทุกวนั หากพบนกั เรียนมไี ข้ ให้พจิ ารณาความเสย่ี งเพอ่ื ตัดสินใจวา่ จะ
ให้ผ้ปู ว่ ยดอู าการทบ่ี ้านหรอื ตอ้ งแยกตวั ในโรงพยาบาล

4. การกำกบั ติดตาม และรายงานผลโรงเรยี นมกี ารกำกบั ตดิ ตาม ทบทวนการดำเนินงาน ให้สอดคลอ้ ง
ตามแนวปฏิบตั ิ สถานการณแ์ ละบรบิ ทพ้ืนที่ อยา่ งต่อเน่ือง กรณพี บผมู้ อี าการเสี่ยงหรอื ปว่ ย ตอ้ งรีบรายงาน ต่อ
ผู้บริหาร และแจง้ เจา้ หน้าทีโ่ รงพยาบาลทันที


Click to View FlipBook Version