The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินคุณค่างานเขียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by MydayEveryday, 2020-12-21 09:51:45

การประเมินคุณค่างานเขียน

การประเมินคุณค่างานเขียน

การประเมินคุณค่างานเขียน

ค รู ป ร ะ จำ วิ ช ำ จิ ต ม ณ พิ สุ ท ย ำ รั ม ย์

01 ควำมหมำย
กำรประเมินคุณค่ำงำนเขียน

TTTTNNNNCCCCTTTTNNNNCCCCTTTT ควำมหมำย

กำรประเมนิ คณุ คำ่ งำนเขยี น

การประเมนิ คณุ ค่า คือ การตัดสนิ คณุ คา่ ของเรอื่ งราว NNNCCCTTTNNNCCCTTTNNNCCCTTT
ที่อา่ นหลังจากการวิเคราะห์ และวิจารณ์มาแล้วว่างานเขียนชิ้นน้ัน
ดหี รือไมด่ ี นา่ เช่อื ถือหรือมีคุณคา่ ด้านใดบ้าง

งานเขยี นหรอื วรรณกรรม คอื ส่งิ ที่เขียนขึ้นท้ังหมดจะ
ใช้รปู แบบใดหรอื เพ่ือจุดมุ่งหมายใดก็ได้ เช่น นวนิยาย เร่ืองสั้น
บทละครพดู สารคดี บทความ คาอธิบายการใช้สิ่งต่างๆ เป็น

ตน้

งำนเขียนแต่ละเรื่อง อำจนำเสนอแนวคิด

ห รื อ ใ ช้ ก ล วิ ธี ใ น ก ำ ร น ำ เ ส น อ ท่ี แ ต ก ต่ ำ ง
กัน คุณค่ำของงำนเขียนท่ีผู้อ่ำนได้รับก็
แตกต่ำงกันออกไปด้วย ผู้อ่ำนจึงควรเรียนรู้
แนวทำงในกำรประเมินคุณค่ำงำนเขียน เพ่ือ
นำไปใช้เป็นหลักในกำรประเมินคุณค่ำงำน
เขียนที่ได้อ่ำน และนำไปเป็นแนวทำงในกำร
พัฒนำงำนเขียนของตนเองต่อไป

02 หลักกำร
กำรประเมินคุณค่ำงำนเขียน

ห ลั ก ก ำ ร 01. ตอ้ งรู้ประเภทของหนังสอื หรอื งานเขียน
02. อ่านอยา่ งถถ่ี ้วน
ก ำ ร ป ร ะ เ มิน คุณ ค่ำ 03. ตีความ
ง ำ น เ ขี ย น มี ทั้ ง ห ม ด 04. ประเมนิ คุณคา่
4 ข้ อ ห ลั ก ๆ ดั ง นี้

ต้องรู้ประเภทของหนังสือ

01 หรืองำนเขียนน้ันๆ

ต้องรู้ประเภทของหนังสือหรืองานเขียนน้ันๆ ว่า
เ ป็ น ง า น เ ขี ย น ป ร ะ เ ภ ท ใ ด เ ป็ นร้ อ ย แ ก้ วห รื อ ร้ อ ย
กรอง เป็นนวนิยาย เรื่องส้ัน นิทาน บทละคร หรือบท
สารคดี เพราะงานเขียนแต่ละประเภทมีวิธีการอ่าน การ
พิจารณาและการประเมินคุณค่าที่แตกต่างกัน ควรจับ
สาระสาคญั ของเรือ่ งที่อา่ นใหไ้ ด้

02 อ่านอยา่ งถถ่ี ว้ น เพอ่ื การวเิ คราะหแ์ ยกแยะรายละเอยี ด
ของเรื่องทอ่ี ่าน โดยพิจารณาความสัมพันธ์ของโครงสร้างใน
อ่ า น อ ย่ า ง ถ่ี ถ้ ว น ส่วนต่าง ๆ ของเร่ือง เช่น เน้ือหา แนวคิด รูปแบบและ
กลวิธใี นการนาเสนอเรือ่ ง การใชส้ านวนภาษา เปน็ ตน้

03 ตีความ

ตคี วาม เปน็ การทาความเขา้ ใจความหมายของคาและ
ประโยคต่างๆ ที่ผู้เขียนอาจซ่อนความหมายแฝงซึ่งไม่ได้สื่อ
ความหมายตามรูปคา ผู้อ่านต้องอ่านเรื่องราวทั้งหมดอย่าง
น้อย ๒ รอบ เพ่ือสังเกตให้เห็นถึงความเด่นท่ีแปลกออกไป
จ า ก ข้ อ ค ว า ม ป ก ติ ซ่ึ ง ผู้ อ่ า น จ ะ ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม รู้
ประสบการณ์และภูมิหลังของผู้อ่าน เพ่ือค้นหาสารที่ผู้อ่าน
ต้องการส่ือถึงผูอ้ า่ น

ประเมินคุณค0่า 4

ประเมินคุณค่า เป็นการตัดสินหรือตีค่าสิ่งท่ีอ่าน
ผู้อ่านจะต้องประเมินค่าเรื่องที่อ่าน ถึงความน่าเชื่อถือ
ความสมบูรณ์และความถูกตอ้ งของการนาเสนอเร่อื ง ซงึ่ ควร
เป็นการตัดสินอย่างมีเหตุผลโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานที่ได้รับ
การยอมรบั เป็นเคร่ืองมือในการตดั สนิ ประเมนิ คณุ คา่

03 แนวทำง
กำรประเมินคุณค่ำงำนเขียน

ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ค่ า เ ร่ื อ ง ส้ั น

แนวทำง ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ค่ า ส า ร ค ดี

ก ำ ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ค่ ำ ง ำ น เ ขี ย น

ก า ร ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ค่ า ง า น ก วี นิ พ น ธ์

ควำมหมำย ของเรอื่ งสน้ั

เรื่องส้ัน คือ เรื่องแต่งร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี
คล้ำยนวนยิ ำยแต่ส้ันกวำ่ มีเหตกุ ำรณไ์ ม่ซับซอ้ น และ
มีตัวละครในเร่ืองน้อย มักจบแบบพลิกควำม
คำดหมำยหรอื จบแบบท้ิงท้ำยใหค้ ดิ

เร่ืองสั้น

องค์ประกอบของเร่อื งส้นั

01 02 03

เ รื่ อ ง ย่ อ แ ก่ น เ ร่ื อ ง การเปิดเร่ือง

องค์ประกอบของเรือ่ งส้นั

04 05 06

ป ม ปั ญ ห า จุ ด วิ ก ฤ ต จุดคล่ีคลาย

องคป์ ระกอบของเรื่องส้นั

07 08

ก า ร ปิ ด เ ร่ื อ ง ก า ร ดา เ นิ น
เ รื่ อ ง

01 กำรประเมนิ คณุ คำ่ เรือ่ งสน้ั

ควรประเมินครอบกลมุ่ ๔ ประเด็นคอื

01. เนื้อหาและแนวคิด
02. กลวิธีในการนาเสนอเร่ือง
03. การใช้ภาษา
04. คุณค่าของเร่ือง

01 เน้ือหาและแนวคิด

มี ค ว า ม เ ป็ น ส า ก ล แ ล ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ

02 กลวธิ ใี นการนาเสนอเรอื่ ง พิจารณาองคป์ ระกอบดงั นี้

โ ค ร ง เ รื่ อ ง แ ก่ น เ รื่ อ ง ก า ร ดา เ นิ น เ ร่ื อ ง

โครงเร่ือง ควรมีโครง แกน่ เรือ่ ง มแี กน่ เร่ืองเดียว กำรดำเนินเรื่อง มีกำรเปิดเร่ือง
เร่ืองเดียว โครงเร่ืองมี และมีควำมชัดเจน น่ำสนใจ ดำเนินเร่ืองตำมปมปัญหำ
ก ำ ร ส ร้ ำ ง ป ม ปั ญ ห ำ ห รื อ หรือควำมขัดแย้งอย่ำงชัดเจนน่ำ
ควำมขัดแย้งและคล่ีคลำย ตดิ ตำม เสนอเหตุกำรณ์ในระยะรวบ
ปมปญั หำได้อยำ่ งนำ่ สนใจ รัดและปิดเร่ืองอย่ำงน่ำประทับใจ
อำจปิดเรื่องด้วยกำรทิ้งเร่ืองไว้ให้
ผอู้ ่ำนนำไปขบคิดตอ่

02 กลวธิ ใี นการนาเสนอเรอื่ ง พิจารณาองคป์ ระกอบดงั น้ี

ฉาก ตั ว ล ะ ค ร บทสนทนา

ฉำก ตอ้ งสอดคล้องกบั เหตกุ ำรณ์ใน ตัวละคร ต้องสอดคล้อง บทสนทนำ ช่วยในกำร
เรื่อง ทำให้เข้ำใจลักษณะนิสัย และ กับแนวเร่ือง ตัวละครมี ดำเนินเรื่อง บทสนทนำ
อ ำ ร ม ณ์ ข อ ง ตั ว ล ะ ค ร ชั ด เ จ น ข้ึ น ก ำ ร พั ฒ น ำ นิ สั ย อ ย่ ำ ง ต้องสอดคล้องกับตัวละคร
ก่อให้เกิดอำรมณ์สะเทือนใจ ช่วย สมเหตุสมผลและมีบทบำท และใช้ภำษำสอดคล้องกับ
สร้ำงจินตภำพของผู้อ่ำนท่ีมีต่อตัว สมั พันธ์กบั เร่ือง เนอ้ื เรอื่ ง
ละครได้ชดั เจนยงิ่ ขึ้น

03 การใชภ้ าษา เหมาะสมกับ

ลักษณะของเร่ืองและภาษามีลีลา
เฉพาะตัว

04 คณุ คา่ ของเร่อื ง เนื้อเร่ืองให้ความ

บันเทิง ให้ข้อคิดท่ีทาให้ตระหนักและเข้าใจ
ชี วิ ต อ ย่ า ง ลุ่ ม ลึ ก ห รื อ เ ส น อ แ ง่ คิ ด แ ก่
ผู้อ่าน รวมทั้งมีเน้ือเรื่องจรรโลงใจหรือ
สังคม

สารคดี ควำมหมำย ของสำรคดี

สำรคดี เป็นงำนเขียนหรือวรรณกรรมร้อยแก้วใน

ลักษณะตรงข้ำมกับบันเทิงคดี (Fiction) ที่มุ่งให้สำระ
ควำมรู้แก่ผู้อ่ำนเป็นเบื้องต้น มีควำมเพลิดเพลินเป็น
เบ้ืองหลัง ที่มุ่งแสดงควำมรู้ ควำมคิด ควำมจริง
ควำมกระจ่ำงแจ้ง และเหตุผลเป็นสำคัญ อำจจะเขียน
เชงิ อธบิ ำย เชงิ วิจำรณเ์ ชงิ แนะนำสัง่ สอน เปน็ ต้น

ลกั ษณะ กำรเสนอข้อมลู หรอื เนอ้ื หำสำระเป็นข้อเท็จจริง โดยเน้นเนื้อหำสำระ เรื่องรำว
เหตุกำรณ์ ตัวบุคคล หรือสถำนท่ีต้องเป็นข้อเท็จจริง (fact) และยังเป็นกำร
ข อ ง ส า ร ค ดี เสนอขอ้ มูลที่ผู้เขียนได้ศึกษำ สังเกต สำรวจ หรือวิเครำะห์ตีควำมเป็นอย่ำงดี
แล้ว

กำรเขยี นสำรคดอี ำจใชจ้ นิ ตนำกำรประกอบได้ (อำจมหี รือไมม่ กี ็
ได้) เป็นกำรสรำ้ งภำพตำมควำมนึกคดิ ทีเ่ กดิ จำกอำรมณ์
ควำมร้สู ึกของผ้เู ขยี น เปน็ กำรสร้ำงภำพที่เกิดขึ้นจำกกำร
วเิ ครำะห์ สงั เกต พิจำรณำ จำกขอ้ มูลที่เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ

สำรคดตี อ้ งเปน็ งำนเขียนท่สี รำ้ งสรรค์ เป็นกำรนำเสนอควำมคดิ เห็นและทศั นะที่
เปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้อำ่ นโดยท่วั ๆ ไป มใิ ชส่ ร้ำงสรรคใ์ ห้แกบ่ คุ คลใดโดยเฉพำะ

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ส ำ ร ค ดี

01 02 03 04 05

ความเรยี ง บทความ สารคดที อ่ งเทยี่ ว สารคดชี วี ประวตั ิ อนทุ นิ หรอื ไดอารี่

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ส ำ ร ค ดี

06 07 08 09 10

จดหมาย บันทกึ และความทรงจา จดหมายเหตุ คตธิ รรม บทสมั ภาษณ์

02 กำรประเมินคณุ คำ่ สำรคดี

ควรพจิ ำรณำประเมนิ ให้ครอบคลุม ๔ ประเดน็ ใหญๆ่ ดงั นี้

01. เนื้อหา
02. วิธีในการนาเสนอเร่ือง
03. การใช้ภาษา
04. คุณค่าของสารคดี

01 เนอ้ื หำ
มเี นือ้ หำสะทอ้ นแนวคิดสร้ำงสรรค์ท่ีเป็นสำกล และแนวคิด
เฉพำะตน รวมท้ังพิจำรณำควำมถูกต้องของเนื้อหำท่ี
นำเสนอ มีกำรอำ้ งองิ แหล่งทมี่ ำของขอ้ มลู ที่นำ่ เชอื่ ถอื

EEEESSSSEEEENNNNTTTTAAAATTTTIIIIOOOONNNN 02 วธิ ีกำรนำเสนอ

พิจารณาชื่อเรื่องต้องมีความน่าสนใจ กระชับตรงประเด็น
เปิดเรอื่ งอยา่ งมีศลิ ปะ ลาดับเรอ่ื งชวนติดตาม ปิดเรื่องอย่าง
น่าประทับใจ กลวิธีในการนาเสนอเหมาะสมกับเน้ือหาและน้า
สนใจ กล่ันกรองข้อมูลและนาเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสม
ถูกตอ้ ง นาเสนอข้อเทจ็ จริงท่ผี ู้อา่ นควรรู้และเกิดประโยชน์ต่อ
สงั คม ไม่สอดแทรกความคดิ เหน็ สว่ นตวั

PPPRRREEESSSEEENNNTTTAAATTT

กำรใช้ภำษำ ภาษาถูกต้อง
ชัดเจน การใช้สานวนภาษามี
พลังในการส่งสาร ใช้ภาษาท่ีส่ือ
ความหมายได้อย่างตรงไปตรงมา
รวมทั้งเลือกใช้ศัพท์เฉพาะหรือ
ศั พ ท์ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง
เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ ร่ื อ ง ห า ก
จาเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศ
ควรมีการอธิบายให้ชัดเจนด้วย
เพ่ือให้ผู้อ่านซึ่งมีความรู้พื้นฐาน
แตกต่างกันเข้าใจเรื่องที่อ่านได้
ตรงกัน

04 คณุ คำ่ ของสำรคดี

เ ป็ น ง า น ที่ เ รี ย บ เ รี ย ง ขึ้ น จ า ก เ ร่ื อ ง จ ริ ง ที่ ใ ห้ ท้ั ง ค ว า ม รู้
ความคิด และสอดแทรกความบันเทิงไว้ด้วย ช่วยเพ่ิมพูน
ความรู้ความคิดให้กับผู้อ่าน รวมท้ังช่วยเปิดโลกทัศน์ของ
ผูอ้ า่ นให้กว้างไกล ทาให้เป็นคนที่มีความรู้ที่ทันสมัยทันโลก
ตลอดเวลา

ควำมหมำย ของกวนี พิ นธ์

งานกวีนิพนธ์ กวีนิพนธ์ คือ รูปแบบทำงศิลปะท่ีมนุษย์ใช้ภำษำ เพ่ือ
คุณประโยชน์ด้ำนสุนทรียะ ซ่ึงเพ่ิมเติมจำกเนื้อหำทำง
ควำมหมำย นับเป็นส่วนหน่งึ ของวรรณกรรม โดยเป็น
คำประพันธ์ที่กวีแต่ง เป็นงำนเขียนท่ีมีวรรณศิลป์ เร้ำ
ให้สะเทือนอำรมณ์ได้ คำท่ีมีควำมหมำยทำนอง
เดียวกันได้แก่ ร้อยกรอง ซึ่งหมำยถึง ถ้อยคำที่เรียบ
เรยี งให้เป็นระเบยี บตำมบัญญตั แิ ห่งฉนั ทลกั ษณ์

องค์ประกอบของบทกวี

องคป์ ระกอบของบทกวี มี 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่
➢ ควำมรู้สึก สำรหรือเรื่องที่ต้องกำรถ่ำยทอด บทกวีที่ดีออกมำ

จำกควำมรู้สึกของผู้เขียน ควำมรู้สึกอำจเกิดข้ึนโดยกะทันหัน
หลงั จำกไปกระทบบำงส่ิงบำงอย่ำง ก่อเกิดแรงบันดำลใจ อำจ
รสู้ ึก เป่ยี มสุข เปย่ี มควำมหมำย หรือรู้สึกน่ิงลึกดิ่งจมในเหวหุบ
แห่งควำมเศร้ำ ฯลฯ
➢ รปู แบบทก่ี วเี ลอื กในกำรนำเสนอ

รู ป แ บ บ ข อ ง ก วี นิ พ น ธ์

แบ่งตำมประเภทของกวีและวรรณกรรมทป่ี รำกฏเปน็ 2 รูปแบบ คอื
➢ กวนี พิ นธฉ์ นั ทลักษณ์
➢ กวนี ิพนธ์ไรฉ้ นั ทลกั ษณ์

03 กำรประเมินคณุ ค่ำงำนกวนี พิ นธ์

ควรประเมินให้ครอบคุลมท้ัง ๔ ประเดน็ ใหญๆ่ ดงั น้ี คือ

01. เนื้อหา
02. รูปแบบคาประพันธ์
03. ความงามด้านการประพันธ์
04. คุณค่ากวีนิพนธ์

01 เนื้อหำ

สะท้อนแนวคิดสร้างสรรค์ มีความ
เป็นสากล สะท้อนแนวคิดเฉพาะตน

02 รูปแบบคำประพันธ์

พิจารณาจากการมีรูปแบบตามฉันทลักษณ์หรือประยุกต์
จากฉันทลักษณะเดิมหรือมีรูปแบบที่คิดขึ้นเอง โดยรูปแบบ
น้ันมคี วามเหมาะสมกับเน้ือหา

ควำมงำมดำ้ นกำรประพันธ์ 03
มีการเล่นเสียง การสรร
คา มีเสียงเสนาะ มีการใช้ ความงามดา้ น
โวหารภาพพจน์อย่างมีช้ัน การประพนั ธ์
เชิงและมีการเสนออย่างมี
เอกภาพ

04 คุณค่า คณุ ค่ำกวนี พิ นธ์
กวีนิพนธ์ บทกวีก่อให้เกิดอารมณ์
ส ะ เ ทื อ น ใ จ ส ร้ า ง
จินตนาการ ให้ข้อคิด
ทาให้ตระหนักและเข้าใจ
ชีวิตอย่างลุ่มลึก หรือ
เสนอแนวคิดแก่ผู้อ่าน
และมีโครงเร่ืองจรรโลง
สงั คม

ชื่ อ ส ม า ชิ ก เพลินศลิ ป์ ม.5/1 เลขท4ี่
ศรีแก้ว ม.5/1 เลขท1่ี 0
1. นำยศกั ดิส์ ิทธ์ิ เสนำนิคม ม.5/1 เลขท1่ี 3
2. นำงสำงมลฑกำนต์ โสดำบตุ ร ม.5/1 เลขท1ี่ 4
3. นำงสำวสุจติ รำ
4. นำงสำวสุวรินทร์

THANK YOU


Click to View FlipBook Version