The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

4. ข้อความท่ีมีความสัมพันธ์กันตามการแบ่งระดับพ้ืนที่เส่ียงต่อการเกิดอุทกภัยสาหรับ
พ้ืนที่ลุ่มนา้ ภาคใต้

ก. เป็นพื้นท่ีถัดจากเชิงเขาที่โคลนไหลมาทับถม
คือ มีโคลนน้อยกว่าและค่อนข้างราบกว่าพ้ืนที่
ข. เชิงเขา แต่น้าป่าไหลหลากผ่านไปอย่างรวดเรว็
พร้อมทง้ั มโี คลนบางส่วนตกตะกอน
ค. เป็นพนื้ ทีร่ าบลมุ่ รมิ ฝัง่ แมน่ า้ ตาปแี ละคลอง
ง. พุม่ ดวงซง่ึ ระบายน้าลงสทู่ ะเลไมท่ นั
เปน็ พน้ื ท่รี าบสูงมคี วามช่มุ ชนื้ และนา้ ไหลผ่าน
จ. เป็นพื้นที่ที่ประสบกับน้าท่วมขังเป็นประจา
เกือบทุกปี แต่อาจไม่ท่วมขังตลอดปีหรือ
ฉ. เกิดข้ึนปเี ว้นปี โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งช่วงฤดฝู น
เป็นพื้นที่ราบต่ามีน้าท่วมขังหรือมีสภาพชื้น
ช. แฉะตลอดเวลา
พื้นทเี่ ส่ยี งจากดินโคลนไหลทบั ถม มักเป็นพื้นที่บริเวณเชิงเขาที่น้าป่าไหลหลาก
พน้ื ทเ่ี สีย่ งจากนา้ ท่วมซ้าซาก พาดินโคลน หนิ ต้นไมล้ งมาทับถม
พื้นท่ีเสย่ี งจากนา้ ไหลหลาก
พน้ื ที่ชุ่มน้า เป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มเชิงเขาเมื่อฝนตกหน้าดินถูก
พน้ื ทเ่ี ส่ยี งจากน้าท่วมขงั ชะลา้ ง

.....ฉ....1.
.....ง....2.
.....ก....3.
.....จ....4.
....ข..…5.

ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 141

กิจกรรมท่ี 3.3
เตมิ อักษรหนา้ ขอ้ ความท่ีกาหนดให้ ดงั น้ี
อกั ษร ก เปน็ การเตรยี มพรอ้ มก่อนการเกิดอุทกภัย
อักษร ข เป็นการปฏิบัตขิ ณะเกดิ อุทกภยั
อกั ษร ค เป็นการปฏิบตั ิหลงั เกดิ อทุ กภยั
……ค…..1. สมชายทาความสะอาดบา้ นเรอื นและเกบ็ กวาดสิ่งทีช่ ารดุ เสยี หาย
……ก…..2. สมคดิ ทาคนั ดินหรอื กาแพงกัน้ นา้ โดยรอบ
……ข…..3. สมปองตดั สะพานไฟ และปดิ แก๊สหงุ ตม้
……ก…..4. สมหมายถา่ ยรปู ทรพั ย์สินภายในบา้ นเพื่อประกอบการทาประกนั ภยั
……ข…..5. สมหญงิ ตดิ ตามเหตุการณ์อย่างใกล้ชดิ และปฏบิ ตั ิตามคาแนะนาของทางราชการ
……ก…..6. สมควรเตรียมไฟฉาย ถา่ นไฟฉาย และเทยี นไข เพ่อื ไวใ้ ชเ้ มื่อไฟฟา้ ดบั
……ค…..7. สมใจซอ่ มถนน สะพาน ที่ชารุดเสียหายใหก้ ลบั สู่สภาพเดิม
……ก…..8. สมทรงร่วมกับผนู้ าชมุ ชนจัดทาแผนที่ชุมชนเพื่อใช้ในกรณีเกดิ อทุ กภัย
……ก…..9. สมประสงค์เคลอื่ นย้ายพาหนะ เช่น รถยนตห์ รอื ลอ้ เลอื่ นไปอยู่ท่ีสงู
……ข…10. สมชาติงดใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้าทกุ ชนิดขณะเกิดน้าท่วม

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 142

แนวตอบกิจกรรมทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4
ดินโคลนถล่ม

กิจกรรมท่ี 4.1

ดินโคลนถล่ม หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ส่วนของพ้ืนดิน ไม่ว่าจะเป็นก้อนหิน ดิน ทราย
โคลนหรอื เศษดิน เศษตน้ ไม้ เกดิ การไหล เลื่อน เคลื่อน ถล่ม พงั ทลาย หรอื หล่นลงมาตามท่ีลาดเอียง
อันเนอื่ งมาจากแรงดึงดดู ของโลก ในขณะที่สว่ นประกอบของชั้นดิน ความชน้ื และความช่มุ น้าในดิน
ทาให้เกิดการเสียสมดุล

กิจกรรมที่ 4.2

1. สาเหตกุ ารเกดิ ดินโคลนถลม่

สาเหตทุ ี่เกดิ ตามธรรมชาติ สาเหตุที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์

1. การเกิดเหตุการณฝ์ นตกหนักและตกนาน ๆ 1. การทีม่ นษุ ย์ขดุ พ้นื ดินตามบริเวณไหลเ่ ขา ท่ลี าด
พื้นดนิ เกดิ การอุม้ น้าจานวนมาก หรือเชิงเขาเพื่อการเกษตรหรือทาถนนหนทาง

2. โครงสร้างของพนื้ ดิน ความแตกต่างกนั ของชัน้ 2. การกระเทอื นต่าง ๆ เช่น การระเบิดหิน
ดินทีน่ า้ ซมึ ผา่ นได้กบั ชั้นดินท่ีนา้ ซมึ ผ่านไม่ได้ จนทา การระเบดิ ดิน การขดุ เจาะน้าบาดาล
ให้นา้ ขงั ใตด้ ินมากจนดินเหลวบนที่ลาดเอยี ง จนทา
ใหเ้ กิดการเลอ่ื นไหลของผิวดนิ ได้

3. ฤดูกาลโดยเฉพาะฤดูฝน มีส่วนสาคญั ทาใหด้ นิ 3. การขุดดินลึก ๆ ในการก่อสรา้ งหอ้ งใตด้ นิ
เกิดการอ่อนตวั และถล่ม ของอาคาร

4. การสน่ั สะเทอื นทเี่ กดิ มาจากการเกดิ แผ่นดนิ ไหว 4. การเปล่ยี นแปลงเส้นทางการไหลของน้า
ธรรมชาติ ทาใหร้ ะบบนา้ ใตด้ ินเสยี สมดุลได้

5. การท่ีต้นไมถ้ กู ทาลายโดยไฟปา่ หรือ 5. การตัดไม้ทาลายปา่ เพอ่ื ทาไร่เล่ือนลอยหรือการ
ความแห้งแล้งทาใหเ้ กิดน้าทว่ มฉบั พลนั ทาเกษตรกรรม ทาให้เกิดนา้ ท่วมฉบั พลัน

ชุดวิชาการเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 143

2. ก่อนเกิดเหตุดนิ โคลนถล่ม มขี อ้ สงั เกต ดงั นี้
2.1 มฝี นตกหนักถึงตกหนักมากตลอดทง้ั วัน
2.2 ปริมาณน้าฝนมากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวนั
2.3 มีเสียงดังผิดปกตบิ นภูเขาและในลาห้วย เนื่องจากการถล่มและเลื่อนไหลของนา้

ดินและตน้ ไม้
2.4 ระดบั น้าในลาหว้ ยสูงข้ึนอย่างรวดเรว็ และมนี ้าไหลหลากล้นตลง่ิ
2.5 สขี องนา้ ขนุ่ ขน้ และเปลยี่ นเปน็ สดี นิ ของภูเขา
2.6 มีเศษของต้นไมข้ นาดเล็กไหลมากบั น้า

3. พน้ื ทเ่ี สี่ยงภยั ต่อการเกดิ เหตุดินโคลนถล่ม ได้แก่
3.1 อยตู่ ดิ กับภเู ขาและใกล้ลาห้วย
3.2 มีรอ่ งรอยดินไหล หรือดินเลือ่ นบนภูเขา
3.3 มรี อยแยกของพื้นดนิ บนภูเขา
3.4 อยูบ่ นเนินหน้าหบุ เขาและเคยมโี คลนถล่มลงมาบ้าง
3.5 ถูกน้าปา่ ไหลหลากและนา้ ทว่ มบ่อย
2.6 มีกองหนิ เนินทรายปนโคลนและตน้ ไมใ้ นห้วยหรือใกลห้ มู่บา้ น

4. ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม

ผลกระทบดา้ นสิ่งแวดล้อม ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม

1. ป่าลดลง สัตว์ป่าก็ลดลง ระบบนิเวศน์ก็จะเสีย 1. ประชาชนผู้ประสบเหตุแผ่นดินถล่ม หรือโคลน
สมดุล ถลม่ ไดร้ บั บาดเจ็บ และเสยี ชวี ติ

2. เกิดการเปล่ียนแปลงของภูมิประเทศ จากการ 2. ท่ีอยู่อาศัย สิ่งปลูกสร้างเสียหาย ทาให้เป็นผู้ไร้ท่ี

พงั ทลาย การถูกทบั ถม อยูอ่ าศัย

3. สายน้าเปลี่ยนทิศทาง เน่ืองจากถูกกีดขวางปิด 3. พ้ืนท่ีทากินและพชื ผลทางการเกษตรเสยี หาย

เส้นทางการไหลของน้า 4. เส้นทางคมนาคมถูกตัดขาด สาธารณูปโภคต่างๆ

ไมว่ า่ ไฟฟ้า ประปา ใชก้ ารไมไ่ ด้

5. เสยี งบประมาณในการรักษาการเจบ็ ปว่ ย

ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 144

กจิ กรรมท่ี 4.3

1. การเตรยี มความพร้อมรับสถานการณ์ ดนิ โคลนถล่ม
1.1 สังเกตลักษณะบริเวณโดยรอบที่ต้ังของชุมชนและบริเวณที่เส่ียงภัยจากแผ่นดนิ ถล่ม
1.2 สังเกตและเฝา้ ระวังน้าและดิน
1) มฝี นตกหนักถงึ ตกหนักมากตลอดทัง้ วนั
2) ปรมิ าณน้าฝนมากกวา่ 100 มิลลเิ มตรต่อวัน
3) มีเสียงดังผิดปกติบนภูเขาและในลาห้วย เนื่องจากการถล่มและเลื่อนไหล

ของน้า ดินและตน้ ไม้
4) ระดับน้าในลาห้วยสงู ขึน้ อย่างรวดเรว็ และมีนา้ ไหลหลากลน้ ตลงิ่
5) สขี องนา้ ขนุ่ ข้น และเปล่ยี นเปน็ สีดนิ ของภูเขา
6 มเี ศษของต้นไม้ขนาดเล็กไหลมากับน้า

1.3 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณด์ นิ โคลนถลม่
1) ตดิ ตามสถานการณแ์ ละข่าวการพยากรณอ์ ากาศทางสถานวี ทิ ยุ

กระจายเสียงท้องถ่นิ หรือเสยี งตามสาย หอกระจายข่าวประจาหม่บู า้ นอยา่ งใกล้ชิด
2) จัดเตรียมอาหาร น้าดื่ม ยารักษาโรค และอุปกรณ์ฉุกเฉินท่ีจาเป็นต้องใช้

เมอ่ื ประสบเหตุ
3) ซกั ซ้อมแผนการอพยพ แผนการช่วยเหลือและฟื้นฟผู ปู้ ระสบภยั แผ่นดนิ ถล่ม
4) หากมีการติดตั้งอุปกรณ์สาหรับเตือนภัยไว้ในพื้นที่เส่ียงภัย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

หรือผู้ท่ีมีความเสี่ยงประสบเหตุ ควรหมั่นตรวจสอบอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยให้อยู่ในสภาพท่ีสมบูรณ์
พรอ้ มใชง้ านอยู่เสมอ

5) หากสังเกตแล้วพบว่ามีความเส่ียงในการเกิดแผ่นดินถล่ม ควรทาการอพยพ
ออกจากพืน้ ท่ีท่มี ีความเสี่ยง หรืออย่ใู นบรเิ วณท่ปี ลอดภัย

6) แจง้ สถานการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ให้กบั เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง หรอื ผู้นาชุมขนใหท้ ราบ
โดยเร็ว เพื่อแจ้งเตือนภัยให้ผู้ท่ีมีความเสี่ยงประสบเหตุรายอื่น ๆ ได้ทราบอย่างท่ัวถึงและเตรียม
ความพร้อมไดอ้ ย่างทันท่วงที

ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 145

2. การปฏบิ ัติขณะเกิดดนิ โคลนถลม่
2.1 ตง้ั สติ แล้วรวบรวมอุปกรณ์ฉกุ เฉินทจี่ าเปน็ ตอ้ งใช้เมื่อประสบเหตุ
2.2 ทาการอพยพออกจากพื้นท่เี ส่ียง หรอื อยใู่ นบริเวณที่ปลอดภยั
2.3 แจง้ สถานการณเ์ จา้ หนา้ ที่ทเ่ี กยี่ วข้อง ผู้นาชมุ ขนให้ทราบเพอ่ื แจ้งเหตุ และ

เตรยี มการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ตามแผนการช่วยเหลือและฟนื้ ฟผู ู้ประสบภยั แผ่นดินถล่ม
3. การปฏิบัติหลงั เกดิ ดินโคลนถลม่
3.1 ตดิ ตามสถานการณแ์ ละขา่ วการพยากรณอ์ ากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียง

ท้องถิ่น เสียงตามสาย หอกระจายขา่ วประจาหมู่บ้านอยา่ งใกลช้ ิด เพ่ือปอ้ งกันการเกดิ เหตซุ า้
3.2 จัดเวรยามเพือ่ เดนิ ตรวจตาดสู ถานการณ์รอบ ๆ หมู่บ้านเพ่ือสงั เกตส่ิงผดิ ปกติ
3.3 ตดิ ตอ่ ขอรับความชว่ ยเหลือและฟ้นื ฟูจากบุคคลหรอื หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง

ชดุ วชิ าการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 146

แนวตอบกิจกรรมทา้ ยหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5
ไฟป่า

กิจกรรมท่ี 5.1
1. ไฟป่า คอื ไฟทเี่ กิดจากสาเหตุอนั ใดกต็ าม แลว้ เกดิ การลุกลามไปได้โดยอสิ ระปราศจาก

การควบคมุ ท้ังนีไ้ ม่ว่าไฟน้ันจะเกิดข้ึนในปา่ ธรรมชาตหิ รอื สวนป่ากต็ าม
2. ไฟป่าแบ่งออกเปน็ 3 ชนิด ได้แก่ ไฟใตด้ ิน ไฟผวิ ดนิ ไฟเรอื นยอด

กิจกรรมท่ี 5.2
1. สาเหตุของการเกิดไฟป่า ตามวิดที ัศน์ท่ีผ้เู รียนเขา้ ไปชม และสรปุ ได้
2. ผลกระทบที่เกิดจากไฟป่า ได้แก่ ต่อสังคมพืช ดิน ทรัพยากรน้า สัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม

ต่อชวี ติ และทรัพย์สนิ ของมนุษย์ สภาวะอากาศ
3. ฤดูการเกดิ ไฟป่าในแต่ละพื้นทีข่ องประเทศไทย มกั จะเกดิ ชว่ งฤดูร้อน เพราะในชว่ งฤดู

ร้อนอากาศแห้ง ตน้ ไม้ขาดน้า หญ้าหรือต้นไม้เล็ก ๆ อาจจะแหง้ ตายกลายเป็นเชื้อเพลงิ ได้เป็นอย่างดี
การเกดิ ไฟปา่ ในแตล่ ะภูมิภาค มดี ังน้ี

3.1 ภาคเหนือ มักจะเกิดในชว่ งระหว่างเดอื น เมษายน - พฤษภาคม ของทุกปี
3.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักจะเกิดในช่างระหว่างเดือน พฤศจิกายน -
พฤษภาคม ของทุกปี
3.3 ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ มักจะเกิดในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม -
พฤษภาคม ของทกุ ปี

ชดุ วิชาการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 147

กจิ กรรมท่ี 5.3 ใน

1. -
2. -
3. สรปุ สถติ กิ ารเกิดไฟป่า ระหว่างปี 2558 - 2559 ของพ้ืนทท่ี ่ีเกดิ ไฟป่าข้นึ บ่อยครั้ง
ประเทศไทย

ขอ้ มูลวนั ท่ี 1 ต.ค. 57 -29 มิ.ย. 58 ข้อมูลวันท่ี 1 ต.ค. 58 - 29 มิ.ย. 59

จังหวดั ดับไฟปา่ พ้ืนทถ่ี กู ไฟไหม้ ดับไฟป่า พนื้ ทถี่ กู ไฟไหม้
(คร้ัง) (ไร)่ (ครงั้ ) (ไร่)
1. เชยี งใหม่
2. แมฮ่ อ่ งสอน 1,179 12,611.37 1,652 23,777
3. ลาปาง
4. ลาพูน 471 3,839.50 391 4,800
5. เชียงราย
6. พะเยา 399 2,958 469 3,454
7. แพร่
8. น่าน 297 3,552 321 5,262
9. ตาก
147 1,129.72 202 3,157.29
รวม
62 428.75 131 1,400

140 1,004 140 2,201

78 934 149 1,815

258 3,869 373 8,899

3,031 30,326.34 3,828 54,765.29

ชุดวชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 148

กจิ กรรมท่ี 5.4

1. แนวทางป้องกันไฟป่า คือ ควรช่วยกันตัดก่ิงไม้สด ตีไฟที่ลุกไหม้ตามบริเวณหัวไฟ
ให้เช้ือเพลงิ กระจาย แลว้ ตีขนานกบั ไฟป่าทีก่ าลังจะเร่ิมลุกลาม ฯลฯ

2. แนวทางแกไ้ ขปัญหาไฟปา่ คือ ไมเ่ ผาขยะ กิง่ ไม้ ใบไม้ต่าง ๆ ในท่โี ล่งแจง้ หรือตามแนว
ชายปา่ กาจัดวัสดทุ ีเ่ ป็นเช้ือเพลิง สรา้ งแนวปอ้ งกนั ไฟ ฯลฯ

3. นาตวั อักษรท่ีกาหนดให้ เตมิ ลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง
อกั ษร ก เปน็ การป้องกันกอ่ นเกิดไฟปา่
อกั ษร ข เปน็ การปฏบิ ัติขณะเกิดไฟปา่
อักษร ค เปน็ การปฏบิ ตั ิหลงั จากไฟปา่ สงบลงแลว้

.....ก...... 1. กาจัดวชั พืชทตี่ ิดไฟได้งา่ ย เชน่ พวกหญา้ คา หญา้ สาบเสอื พงอ้อ ใบไม้ก่ิงไม้เล็ก
.....ก...... 2. จดั ทาแนวกนั ไฟโดยถางปา่ ใหห้ ่างจากทางเดนิ ในระยะ 5 เมตร เพอื่ ป้องกันการติดต่อ

ลุกลามของไฟ
....ก...... 3. นักท่องเท่ยี วควรปฏิบัติตามระเบียบข้อบงั คบั ในการป้องกันไฟปา่ ใหค้ วามร่วมมอื

เช่ือฟงั คาแนะนาของเจ้าหนา้ ท่ีและควรแนะนา ใหท้ ุกคนร้จู ักอนั ตรายจากไฟป่า
....ค...... 4. ตรวจดูบรเิ วณทยี่ ังมไี ฟคุกร่นุ เม่ือพบแลว้ จดั การดบั ให้สนทิ
.....ค..... 5. คน้ หาความช่วยเหลือคน สัตว์ทห่ี นไี ฟออกมาและไดร้ บั บาดเจ็บ
....ค...... 6. ระวังภยั จากสตั ว์ทีห่ นไี ฟป่าออกมา จะทาอันตรายแกช่ ีวิตและทรพั ย์สนิ ได้
....ค...... 7. ทาการปลูกป่าทดแทน ปลกู พชื คลุมดิน ปลูกไม้โตเร็ว
....ข...... 8. ถา้ ยังไม่มีเครอื่ งมอื หรือไม่มีเจ้าหน้าท่ีดับเพลิงจากหน่วยควบคุมไฟป่าแล้ว อย่าเสี่ยงเข้า

ไปดับไฟ เวน้ แต่เปน็ การลุกไหมเ้ ล็กนอ้ ยของไฟที่เกิดจากพวกหญา้ ต่าง ๆ เช่น หญ้าคา
หญ้าขจรจบ หญา้ สาบเสอื
....ข..... 9. ควรชว่ ยกนั ตัดกงิ่ ไม้สด ตไี ฟลกุ ไหมต้ ามบรเิ วณหัวไฟใหเ้ ชอ้ื เพลิงแตกกระจายแล้วตี
ขนานกับไฟป่าทีก่ าลงั จะเริ่มลุกลาม
.....ข.... 10. ถา้ มีรถแทรกเตอร์ควรไถไรอ่ ้อยหรอื ต้นขา้ วให้โล่งวา่ งเพ่ือทาให้เป็นแนวไฟ มิให้เกดิ
การติดต่อลุกลามมาได้

ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 149

แนวตอบกิจกรรมทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6
หมอกควนั

กจิ กรรมที่ 6.1 บอกสาเหตขุ องการเกิดหมอกควนั
1. ไฟป่า
2. การเผาเศษวชั พชื วสั ดุทางการเกษตร และวชั พืชรมิ ทาง
3. การเผาขยะ
4. ควนั จากทอ่ ไอเสยี รถยต์
5. ควันจากโรงงานอุตสาหกรรม

กจิ กรรมท่ี 6.2 บอกผลกระทบทเ่ี กดิ จากหมอกควัน
เกดิ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ
1. ระบบตา เกดิ อาการระคายเคอื งตา ตาแดง แสบตา ตาอักแสบ
2. ระบบผิวหนัง ระคายเคอื งผวิ หนัง เกดิ ผ่นื คันผิวหนงั
3. ระบบทางเดนิ หายใจ แสบจมูก ไอ มเี สมหะ แน่นหนา้ อก หายใจมีเสียงหวดี หายใจถ่ี

และทาใหเ้ กดิ โรคหอบหืด หลอดลมอกั เสบทั้งแบบเฉียบพลนั และเร้อื รงั ปอดอักเสบ ถงุ ลมโป่งพอง
4. ระบบหลอดเลือดและหัวใจ แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก หายใจถี่ เม่ือยล้า สั่นผิดปกติ

ทาให้เกดิ โรคหวั ใจเต้นผดิ จังหวะ หัวใจลม้ เหลว กลา้ มเนื้อหวั ใจตาย เสน้ เลือดในสมองตบี
บุคคลท่ัวไปอาจมีอาการเล็กน้อย แต่ในประชากรกลุ่มเสี่ยงคือ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิง

ตั้งครรภ์ และผู้ที่มีโรคประจาตัวเกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินหายใจ
อาจมีอาการรนุ แรง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 150

แนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 7
แผ่นดนิ ไหว

กิจกรรมที่ 7.1

1. แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวโดยฉับพลัน
ของเปลือกโลก การเกิดแผ่นดินไหวส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก
การสั่นสะเทอื นของแผน่ ดนิ ทร่ี ู้สกึ ได้ ณ บรเิ วณใดบรเิ วณหนงึ่ บนผวิ โลก

2. แผ่นดินไหวเปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ม่ี ีสาเหตุของการเกดิ 2 ลกั ษณะ คอื
2.1 กระบวนการเปล่ียนแปลงตามธรรมชาติ เช่น การเคล่ือนที่ของแผ่นเปลือกโลก

ภูเขาไฟระเบิด การยบุ ตัวหรือพังทลายของโพรงใต้ดนิ การส่ันสะเทือนจากคล่ืนมหาสมทุ ร
2.2 การกระทาของมนุษย์ ทาให้เกิดแผ่นดินไหวได้ท้ังทางตรงและทางอ้อม เช่น

การทาเหมือง การสร้างอ่างเก็บน้าหรือการสร้างเข่ือนใกล้รอยเลื่อน การทางานของเครื่องจักรกล
การจราจร และการเก็บขยะนิวเคลียร์ไว้ใต้ดิน การทดลองระเบิดปรมาณู การระเบิดพื้นท่ี
เพื่อสารวจวางแผนก่อนสร้างเขื่อน เปน็ ต้น

กิจกรรมที่ 7.2

1. ปจั จยั ที่เกีย่ วข้องกับระดับความเสียหายจากแผน่ ดินไหว ประกอบด้วย

1.1 แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว ท่ีเกิดในแนวของแผ่นดินไหวโลก โดยเฉพาะบริเวณทม่ี ี
การชนกันของแผ่นเปลือกโลก หรือแนวรอยเล่ือนท่ีมีความยาวมาก ๆ จะมีศักยภาพทาให้เกิด
แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่

1.2 ความลึกของจุดศูนย์เกดิ แผน่ ดนิ ไหว ซ่ึงมีจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวไม่ลึกมากหรอื
ผิวดิน จะก่อให้เกิดความรุนแรงในระดับท่ีมากกว่าการเกิดแผ่นดินไหวท่ีมีจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ทล่ี กึ มากกวา่

1.3 ขนาด (Magnitude) หมายถึง จานวนหรือปริมาณของพลังงานที่ถูกปล่อย
ออกมาจากศูนยก์ ลางแผ่นดนิ ไหวแตล่ ะครั้งในรูปแบบของการส่ันสะเทอื น

1.4 ระยะทาง โดยปกติแผ่นดินไหวที่มีขนาดเท่ากันแต่ระยะทางต่างกัน ระยะทาง
ใกลก้ วา่ ย่อมมคี วามสน่ั สะเทือนของพ้นื ดิน

ชดุ วชิ าการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 151

1.5 สภาพทางธรณีวิทยา ก่อให้เกิดความเสียหายจากความส่ันสะเทือน บริเวณที่มี
การดูดซับพลังงานการส่ันสะเทือนได้มากหรือมีค่าการลดทอนพลังงานมาก จะไดร้ ับความเสียหาย
น้อย เช่น ในพ้ืนที่ที่เป็นหินแข็ง แต่ในบริเวณที่เป็นดินอ่อนจะช่วยขยายการส่ันสะเทือนของพื้นดิน
ไดม้ ากกว่าเดมิ จะไดร้ ับความเสียหายจะเพิ่มมากขึน้ ดว้ ย

1.6 ความแข็งแรงของอาคาร อาคารที่สร้างได้มาตรฐานมั่นคงแข็งแรงได้รับการ
ออกแบบและกอ่ สร้างใหต้ ้านแผ่นดนิ ไหว จะสามารถทนต่อแรงสั่นสะเทอื นไดด้ ีเมอ่ื เกดิ แผน่ ดินไหว
จะเพม่ิ ความปลอดภยั ใหก้ บั ผูอ้ ยอู่ าศัยได้ในระดบั หน่งึ

2. ผลกระทบทีจ่ ากแผน่ ดนิ ไหว
2.1 ทาให้เกดิ พื้นดนิ แตกแยก
2.2 เกดิ ภูเขาไฟระเบิด
2.3 อาคารสง่ิ กอ่ สร้างพังทลาย
2.4 ไฟไหม้ แกส๊ ร่ัว
2.5 ท่อระบายนา้ และทอ่ ประปาแตก
2.6 เกดิ คล่ืนสนึ ามิ แผน่ ดนิ ถลม่
2.7 เสน้ ทางการคมนาคมเสียหายและถกู ตัดขาดถนนและทางรถไฟบดิ เบี้ยวโค้งงอ
2.8 เกดิ โรคระบาด
2.9 เกิดปญั หาดา้ นสขุ ภาพจิตของผ้ปู ระสบภัย
2.10. เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงทางเศรษฐกิจ เช่น การส่ือสาร

โทรคมนาคมขาดช่วง ระบบคอมพิวเตอร์ขัดข้องการคมนาคม ทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ
หยดุ ชะงัก

2.11 ส่งผลตอ่ การลงทุน การประกนั ภัย
2.12 ในกรณีท่ีแผ่นดินไหวมีความรุนแรงมาก อาจทาให้อาคาร ส่ิงปลูกสร้างถล่ม และมี
ผเู้ สียชวี ติ ได้
2.13 หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นใต้ท้องทะเล แรงส่ันสะเทือนอาจจะทาให้เกิดเป็นคล่ืน
ยกั ษข์ นาดใหญ่ ทเ่ี รยี กวา่ “สึนามิ” (Tsunami) ซึ่งก่อให้เกิดความเสยี หายได้

ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 152

3. ขนาดตามมาตราริกเตอร์ การรับรู้ และลกั ษณะทีป่ รากฏของการเกิดแผน่ ดินไหว

รกิ เตอร์ การรับรู้ ลักษณะที่ปรากฏ
1 - 2.9 เลก็ นอ้ ย
3 - 3.9 เล็กนอ้ ย ผคู้ นเร่ิมรสู้ ึกถึงการมาของคลื่น มอี าการวงิ เวยี นเพียงเล็กน้อย

4 - 4.9 ปานกลาง ผู้คนท่ีอยใู่ นอาคารรูส้ ึกเหมือนมอี ะไรมาเขยา่ อาคารให้
สั่นสะเทอื น
5 - 5.9 รนุ แรง
6 - 6.9 รุนแรงมาก ผทู้ ีอ่ าศยั อยทู่ ง้ั ภายในอาคารและนอกอาคารรูส้ กึ ถึง
7.0 ขน้ึ ไป รุนแรงมาก มาก การส่ันสะเทือน วตั ถุหอ้ ยแขวนแกว่งไกว

เคร่ืองเรือนและวัตถมุ ีการเคล่ือนที่

อาคารเริ่มเสยี หาย พงั ทลาย

เกิดการส่ันสะเทอื นอย่างมากมาย สง่ ผลทาใหอ้ าคารและ
สงิ่ ก่อสรา้ งตา่ ง ๆ เสียหายอย่างรนุ แรง แผน่ ดินแยก วตั ถุบนพื้น
ถูกเหว่ียงกระเด็น

กจิ กรรมที่ 7.3

ข่าวเหตกุ ารณก์ ารเกดิ แผน่ ดนิ ไหว

กจิ กรรมที่ 7.4

1. การเตรียมความพรอ้ มรบั มือกับภัยแผน่ ดินไหว
1.1 สร้างอาคารบ้านเรือนให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ท่ีกาหนด สาหรับพ้ืนท่ีเสี่ยงภัย

แผ่นดินไหว
1.2 ตรวจสอบสภาพของอาคารที่อยู่อาศัย และเคร่ืองใช้ภายในบ้านทาการยึด

เครื่องเรอื นที่อาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายจากการล้มทับ เช่น ต้แู ละชัน้ หนงั สือกับฝาบ้านหรือเสา
1.3 ให้สมาชิกในครอบครัวมีความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและวิธีการ

เพ่ือความปลอดภยั เชน่ การปดิ วาล์วก๊าซหุงตม้ ทอ่ น้าประปา สะพานไฟ การใช้เคร่อื งมือดับเพลิง
1.4 จัดเตรียมสิ่งต่อไปนี้ไว้ใกล้ตัว เช่น วิทยุ ไฟฉาย ถ่านไฟฉาย อุปกรณ์ดับเพลิง

น้าดม่ื อาหารแหง้ ยารักษาโรคและอปุ กรณก์ ารปฐมพยาบาล
1.5 ใหค้ วามรูแ้ ก่สมาชกิ ในครอบครัวทกุ คนเกย่ี วกบั ข้อควรปฏบิ ตั ิเพอื่ ความปลอดภัย

เมอ่ื อยใู่ นสถานที่ตา่ ง ๆ ระหวา่ งเกดิ แผน่ ดินไหว

ชดุ วิชาการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 153

2. แนวทางการปฏิบัตติ นขณะเกิดแผน่ ดินไหว

2.1 กรณีความสัน่ สะเทอื นมากใหป้ ิดสวทิ ชไ์ ฟหลกั และปดิ ถังแก๊ส
2.2 มุดใต้โต๊ะ เก้าอ้ี พิงผนังด้านใน แล้วอยู่น่ิง ๆ ถ้าไม่มีโต๊ะ ใช้แขนปิดหน้า
ปิดศีรษะ หมอบตรงมุมห้อง อยู่ห่างกระจก หนา้ ต่าง เล่ยี งบริเวณทสี่ ิ่งของหลน่ ใส่ เชน่ โคมไฟ ตู้
2.3 ถา้ ยงั นอนอยู่ให้อยู่บนเตียง ใชห้ มอนปิดบงั ศีรษะ หลีกเล่ียงบริเวณที่ส่ิงของหล่น
ใส่ อยบู่ ริเวณทีป่ ลอดภัย
2.4 ใช้ช่องประตูเป็นที่หลบภัยถ้าอยู่ใกล้ให้อยู่ในอาคารจนกว่าการส่ันสะเทือนหยุด
จงึ ออกไปภายนอกบริเวณทป่ี ลอดภัยอันตราย ส่วนใหญเ่ กดิ จากสง่ิ ของหล่นใส่
2.5 อย่าใช้ลิฟต์ขณะมีการสั่นไหวถ้าอยู่ในลิฟต์กดทุกปุ่มและออกจากลิฟต์ทันที
บรเิ วณใกลล้ ิฟต์จะเป็นสว่ นท่ีแขง็ แรงของอาคารเหมาะแกก่ ารหลบและหมอบ
2.6 หากเป็นแผ่นดินไหวใหญ่ให้ระลึกเสมอว่าอาจเกิดแผ่นดินไหวตาม (อาฟเตอร์
ชอ็ ก) แต่มขี นาดเล็กกว่า

3. แนวทางการปฏบิ ัตติ นหลงั จากเกดิ แผ่นดินไหว
3.1 ปิดสวิตซ์ไฟฟ้า วาล์วก๊าซหุงต้ม ประปา และห้ามจุดไม้ขีดไฟ จนกว่าจะได้

ตรวจสอบการร่ัวของก๊าซหรือนา้ มนั เชอ้ื เพลงิ แล้ว
3.2 สารวจผู้ได้รับบาดเจ็บ จัดการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น หากมีผู้ได้รับบาดเจ็บ

หา้ มเคลอื่ นย้ายผบู้ าดเจ็บสาหสั ยกเว้นกรณตี ้องหลกี เล่ียงสถานท่ที ีไ่ มป่ ลอดภัย
3.3 ตรวจการชารุดของท่อน้าทุกประเภท ทั้งท่อประปา ท่อน้าโสโครก และ

สายไฟฟา้ ท่อแกส๊ ถ้าแกส๊ ร่วั ให้ปิดวาล์วถังแก๊ส ยกสะพานไฟ อยา่ จดุ ไมข้ ีดไฟหรือก่อไฟจนกว่าจะ
แนใ่ จวา่ ไมม่ แี ก๊สร่วั

3.4 สารวจความเสียหายของบ้าน/อาคารเพ่ือความปลอดภัย ก่อนเข้าไปภายในบ้าน/
อาคาร อพยพออกจากอาคารที่ไดร้ ับความเสยี หาย และเตรยี มพร้อมรับการเกดิ แผน่ ดินไหวระลอก
ตอ่ ไป

3.5 หลีกเลี่ยงการขับข่ียวดยานในถนนและเข้าใกล้อาคารที่ได้รับความเสียหาย
ยกเวน้ กรณีฉกุ เฉินเพือ่ ไมใ่ ห้กีดขวางการปฏบิ ัตงิ านของเจา้ หนา้ ท่ี

ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 154

แนวตอบกิจกรรมท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8
สึนามิ

กจิ กรรมท่ี 8.1

1. สึนามิ หมายถึง คลื่นซ่ึงเคล่ือนตัวในมหาสมุทรด้วยความเร็วสูงมาก และมีพลังรุนแรง
สามารถเคลื่อนท่ีไปได้เป็นระยะทางไกล ๆ เมื่อเคลื่อนท่ีเข้าสู่บริเวณชายฝั่งจะทาให้เกิดเป็นคลื่น
ขนาดใหญ่มาก ที่เรียกกันว่า คลื่นยักษ์ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หล วงต่อชีวิต
และทรัพย์สินของผู้คนท่ีอาศัยอยู่ตามบริเวณชายฝ่ัง คลื่นชนิดนี้ จึงแตกต่างจากคลื่นธรรมดาท่เี กิด
จากแรงลมพดั ผา่ นเหนอื พืน้ ผิวน้าในท้องทะเล

2. สึนามิ เกิดจากการไหวสะเทือนของเปลือกโลกอย่างรุนแรงใต้พื้นท้องทะเล
และมหาสมุทร ซ่ึงปลดปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา ทาให้มวลน้าในมหาสมุทรเกิดการ
เคลื่อนไหวกลายเป็นคลื่นขนาดใหญ่ แผ่กระจายเป็นวงกว้างออกไปจากบริเวณท่ีเป็นจุดศูนย์กลาง
ของแผ่นดนิ ไหว

กจิ กรรมท่ี 8.2

1. จังหวัดที่ได้รับความเสียหายจากการเกิดสึนามิ เม่ือวันท่ี 26 ธันวาคม 2547 คือ
จังหวดั ทางฝั่งอันดามัน 6 จังหวดั ได้แก่ จงั หวัดระนอง พงั งา ภูเกต็ ตรัง กระบ่ี และสตูล

2. ผลกระทบท่ีเกิดจากสึนามิ ไดแ้ ก่
2.1 ความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สิน ได้แก่ โรงแรมและที่พักของนักท่องเที่ยว

ร้านค้าและร้านอาหารบริเวณชายหาด บ้านเรือนของราษฎรท่ีมีอาชีพทางการประมง ทรัพย์สิน
ส่วนตัวของนักท่องเที่ยว ยานพาหนะ เรือประมง และเรือของหน่วยงานราชการ สาธารณูปโภค
เชน่ ไฟฟา้ ประปา โทรศัพท์ ถนนหนทาง

2.2 ความเสียหายด้านเศรษฐกิจ ความเสียหายด้านเศรษฐกิจท่ีสาคัญท่ีสุด คือ
อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว เนื่องจากบริเวณที่ไดร้ ับพิบัตภิ ัยหลายแห่งเป็นสถานที่ท่องเท่ียวท่ไี ดร้ บั
ความนิยมมาก นอกจากจะเสียหายในด้านทรัพย์สินแล้ว การหยุดกิจการของธุรกิจต่าง ๆ
ท่ีประสบพิบัติภัย ยังทาให้บุคลากรจานวนมากต้องสูญเสียรายได้ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการ
หรือพนักงานลูกจ้าง ส่วนกิจการอื่น ๆ ที่ไม่ประสบพิบัติภัยโดยตรง ก็มีปัญหาการขาดแคลน
ลูกค้า เนื่องจากนักท่องเท่ียวเกิดความกลัว ไม่กล้าเดินทางมา หลังการเกิดภัยคลื่นสึนามิ จานวน

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 155

นกั ทอ่ งเที่ยวใน 6 จังหวัดภาคใต้ ลดลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั จังหวัดทีไ่ ด้รบั ผลกระทบมากทส่ี ดุ คอื ภเู ก็ต
พงั งา และกระบี่ เนือ่ งจากเปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วท่สี าคัญ และมนี กั ทอ่ งเทย่ี วเสียชีวิตและบาดเจบ็ มาก
ที่สุด แหล่งท่องเที่ยวที่ประสบความเสียหายมาก คือ ชายทะเลเขาหลัก ในอุทยานแห่งชาติเขา
หลกั - ลารู่ ตาบลคึกคกั อาเภอตะก่วั ปา่ จงั หวดั พังงา

3. พ้ืนที่เส่ียงภัยต่อการเกิดสนึ ามิในประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดท่ีติดทะเลทางฝ่ังอันดามัน
6 จังหวดั ได้แก่ ระนอง พังงา ภเู กต็ ตรงั กระบ่ี และสตลู

กจิ กรรมท่ี 8.3 บอกสถานการณ์การเกิดสึนามใิ นประเทศไทย

วันท่ี 26 ธันวาคม 2547 เวลา 07.59 น. ตามเวลาในประเทศไทย ได้เกดิ แผ่นดินไหว
มศี ูนยก์ ลางอยทู่ างตอนเหนือของหวั เกาะสุมาตรา ประเทศอนิ โดนเี ซยี ลึกลงไปในแผน่ ดนิ ประมาณ
30 กิโลเมตร มีขนาดความรุนแรง 8.9 ตามมาตราริกเตอร์ นับเป็นแผ่นดินไหวท่ีรุนแรงมาก
เปน็ อนั ดบั 5 ของโลก นับตง้ั แต่ พ.ศ. 2500 เปน็ ต้นมา

หลังจากเกิดแผ่นดินไหวไม่นาน เวลาประมาณ 10.00 น. คลื่นสึนามิได้เคล่ือนตัว
มาชายฝ่ังตะวันตกของคาบสมุทรมลายู ซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 500 -
600 กโิ ลเมตร กอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายในบรเิ วณชายฝ่ังตอนเหนอื ของประเทศมาเลเซียและภาคใต้
ของไทย มีผู้เสียชีวิตใน 6 จังหวัด คือ สตูล ตรัง กระบี่ พังงา ภูเก็ต และระนอง รวมกันประมาณ
5,400 คน

กจิ กรรมท่ี 8.4

1. วธิ กี ารเตรียมความพรอ้ มรับสถานการณเ์ มือ่ เกดิ สึนามิ
1.1 เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางราชการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหว ให้เตรียมรับ

สถานการณ์ทีอ่ าจจะเกิดคล่ืนสนึ ามิตามมาได้
1.2 สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่ง หากทะเลมีการลดของระดบั น้าลงมาก หลังการ

เกิดแผ่นดินไหว ให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคล่ืนสึนามิตามมาได้ ให้อพยพคนในครอบครัว สัตว์เลี้ยง
ให้อย่หู ่างจากชายฝง่ั มาก ๆ และอยู่ในทีด่ อนหรอื น้าทว่ มไมถ่ ึง

1.3 ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกลช้ ดิ และต่อเนื่อง
1.4 หากที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทาเขื่อน กาแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุเพื่อ
ลดแรงปะทะของน้าทะเล และกอ่ สรา้ งทพี่ กั อาศัยให้มั่นคงแข็งแรงในบรเิ วณยา่ นท่ีมคี วามเส่ยี งภัย
1.5 หลกี เลี่ยงการกอ่ สร้างใกล้ชายฝัง่ ในย่านท่มี คี วามเสี่ยงสูง

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 156

1.6 วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่น กาหนดสถานท่ีในการอพยพ
แหล่งสะสมน้าสะอาด เป็นตน้

1.7 คล่ืนสึนามิ ในบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดเล็ก แต่อีกบริเวณหนึ่งอาจมีขนาดใหญ่
ดังน้ันเม่ือได้รับทราบข่าวการเกิดคล่ืนสึนามิ ขนาดเล็กในสถานท่ีหน่ึง จงอย่าประมาท
ให้เตรียมพรอ้ มรับสถานการณ์

2. วธิ กี ารปฏิบัติตนขณะเกดิ เหตกุ ารณก์ ารสึนามิ
2.1 ในกรณีท่ีได้รับการเตือนภัยว่าจะเกิดคล่ืนสึนามิ ให้ตั้งสติให้ดี และปฏิบัติตาม

ข้ันตอนที่ได้รับการอบรมมา ควรเตรียมอาหารแห้ง น้าดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ เอกสารสาคัญ และ
เงินสดจานวนหน่ึงติดตัวไปด้วย ให้อพยพข้ึนไปยังที่เนินสูงน้าท่วมไม่ถึงหรือใช้เส้นทางท่ีทาง
ราชการกาหนดไวใ้ ห้

2.2 เม่ือเห็นน้าทะเลลดลงอย่างผิดปกติ อย่าลงไปในชายหาด เพราะหากเกิดคลื่น
เคล่ือนตัวเข้ามาจะไม่สามารถว่ิงหลบหนีคลื่นได้ทัน ควรรีบออกให้ห่างจากบริเวณฝั่งชายทะเลให้
มากท่สี ุด

2.3 ผู้ท่เี ดนิ เรอื อยู่ในทะเล เมอ่ื ได้ยนิ การเตือนภยั หา้ มนาเรือเข้ามาบรเิ วณชายฝั่งเป็น
อันขาด ถ้าอยู่ในท่าเรือหรืออ่าวให้รีบนาเรือออกไปกลางทะเลห่างจากชายฝั่ง เพราะคล่ืนสึนามิที่
อยูไ่ กลชายฝ่งั มากๆ จะมีขนาดเล็ก

2.4 คลื่นสึนามิสามารถโถมเข้าหาชายฝ่ังได้หลายระลอก แต่ละระลอกอาจทิ้งช่วง
ประมาณ 20 นาที ควรรอสักระยะหรือจนกว่าจะได้รับการยืนยันว่าปลอดภัยแล้วผู้ท่ีอพยพข้ึนสู่ที่
สูงจึงลงมาจากที่หลบภัยหรอื เรอื ท่ลี อยลาอย่กู ลางทะเลจึงกลับเขา้ ฝง่ั

2.5 เมือ่ รวู้ า่ มแี ผน่ ดินไหวเกดิ ข้นึ ขณะท่ีอยใู่ นทะเลหรอื บรเิ วณชายฝง่ั ใหร้ บี ออกจาก
บริเวณชายฝั่งไปยังบริเวณที่สูงหรือที่ดอนทันที โดยไม่ต้องรอประกาศจากทางราชการ เน่ืองจาก
คล่นื สึนามเี คลื่นทด่ี ้วยความเรว็ สูง

2.6 อย่าลงไปในชายหาดเพื่อดูคลื่นสึนามิ เพราะเม่ือเห็นคลื่นแล้วก็ใกล้เกินกว่าจะ
หลบหนีทนั

3. วิธีการปฏิบัติตนหลงั เกิดเหตุการณก์ ารสนึ ามิ
3.1 สารวจดูตนเองและคนที่ใกล้ชิดว่ามีใครได้รับบาดเจ็บหรือเป็นอันตรายหรือไม่

ถา้ มีควรรบี ปฐมพยาบาลและนาสง่ โรงพยาบาลโดยดว่ น

ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 157

3.2 หลังจากคลื่นสึนามิพัดเข้าสู่ชายฝ่ัง เมื่อเหตุการณ์จะสงบลง สิ่งท่ีควรระวัง คือ
การเกิดแผ่นดินไหวเบา ๆ หรือที่เรียกว่า อาฟเตอร์ช็อกตามมา ซึ่งมักจะเกิดตามมาหลังจากเกิด
แผ่นดินไหวประมาณครึ่งชั่วโมงถึง 2 วัน และหากเกิดอาฟเตอร์ช็อกข้ึนไม่ควรออกจากตัวอาคาร
บ้านเรอื น ไมค่ วรยนื ใกล้หนา้ ตา่ ง ประตู เพราะกระจกอาจจะแตก ทาให้ได้รับอันตรายได้

3.3 สารวจความเสียหายของอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างต่างๆ แจ้งให้ทางราชการ
ทราบ

3.4 คอยฟังประกาศจากทางราชการ หากให้มีการอพยพออกนอกพ้ืนท่ี ควรหยิบ
เอกสารสาคญั และทรัพยส์ ินมคี ่า แล้วออกจากบริเวณดงั กล่าวไปอยู่ในเขตปลอดภยั ตอ่ ไป

4. หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งเมอ่ื เกิดเหตุการณ์สึนามิ
4.1 ศูนย์เตอื นภัยพบิ ตั แิ หง่ ชาติ
4.2 กรมการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
4.3 กรมอตุ ุนยิ มวิทยา
4.4 สถาบนั การแพทย์ฉุกเฉนิ แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
4.5 สมาคมเพ่ือนเตือนภัย

ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 158

แนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรยี นรู้ที่ 9
บุคลากรและหน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องกับการให้ความช่วยเหลือ

การประสบภยั ธรรมชาติ

กิจกรรมที่ 9.1 หากเกดิ เหตกุ ารณ์ลมพายุพดั บา้ นเรือนจนได้รบั ความเสียหาย ควรแจ้งใครเพ่อื ขอ
ความชว่ ยเหลอื ในเบอื้ งต้น

1. ถ้าเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดในหมู่บ้านของท่านเองบุคคลท่ีสามารถให้ความช่วยเหลือ
ในเบื้องต้นได้แก่

ผ้ใู หญบ่ า้ น กานนั
นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล หรือ นายก อบต.
นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบล
2. ถา้ เหตุการณ์เกิดหมู่บ้านอื่นในจงั หวัดของท่าน บคุ คลทส่ี ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลือได้
ไดแ้ ก่
นายอาเภอ
ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด หรือ อบจ.
ผอู้ านวยการศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด

กจิ กรรมท่ี 9.2 ให้บอกหนว่ ยงานท่มี บี ทบาทหน้าที่ในการให้ความช่วยเหลอื เมอื่ เกิดเหตกุ ารณ์ภยั
ธรรมชาติมาอยา่ งน้อย 5 หน่วยงาน

1. กรมทางหลวงชนบท สงั กดั กระทรวงคมนาคม
2. สถาบนั การแพทยฉ์ กุ เฉินแห่งชาติ สังกัด กระทรวงสาธารณสุข
3. กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย สังกัด กระทรวงมหาดไทย
4. ศูนยเ์ ตอื นภยั พิบตั ิแหง่ ชาติ สังกดั กระทรวงดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม
5. กรมอทุ ยานแห่งชาตสิ ตั ว์ป่าและพันธพุ์ ืช สังกัด กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม

ชดุ วชิ าการเรยี นร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 159

บรรณานกุ รม

กิจการ พรหมมา. (2551). การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากน้าป่า แผ่นดินถล่มและน้า
ท่วมซ้าซากในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักงาน
คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ.

กรมทรัพยากรธรณี. (2546). คู่มือการป้องกันธรณีพิบัติภัยจากดินถล่มและบัญชีรายชื่อหมู่บ้าน
เสีย่ งภยั ดนิ ถลม่ ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ : กรมทรพั ยากรธรณ.ี

----------. (2547). 112 ปี กรมทรพั ยากรธรณี “กา้ วทีไ่ มห่ ยดุ ยง้ั มุ่งมั่นเพ่ือประชาชน”.
กรงุ เทพฯ.

กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. (ม.ป.ป.). ป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยเชียงใหม่ประกาศวาระภัยหนาว หมอกควัน ไฟป่าและภัยแล้งของจังหวัด
(ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.disaster.go.th/dpm/index.php [ 20 มีนาคม
2553]

กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ . (ม.ป.ป.). มาตรการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
(ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก: http://www.dla.go.th/work/e_book/eb1/std210550/6/5.pdf
[15 กันยายน 2559].

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป). ภัยสุขภาพจากภาวะหมอกควัน (ออนไลน)์ .
สืบคน้ จาก http://hia.anamai.moph.go.th/main.php?filename=hia_poster_1
[12 กนั ยายน 2559].

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่าและพนั ธพ์ุ ชื . (2546). สถิตกิ ารเกดิ ไฟปา่ ,แผนทแ่ี สดงจดุ ทตี่ รวจพบ
ความร้อน(Hotspot Maps. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก :
http://www.dnp.go.th/forestfire/2546/firestatistic%20Th.hmt
[20 สงิ หาคม 2559].

--------- . ( 2547). ประกาศกาหนดเขตควบคุมไฟปา่ . (ออนไลน์). สบื ค้นจาก :
http://www.dnp.go.th//forestfire/2547/fire%20protect%20Th.hmt
[20 กนั ยายน 2559].

ชดุ วชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 160

กรมอุตุนยิ มวิทยา. (ม.ป.ป.). หนงั สืออุตุนิยมวทิ ยา(วาตภัย). (ออนไลน์). สืบคน้ จาก :
http:// www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=72 [12 กันยายน 2559].

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป). คาแนะนาในการ
ปฎบิ ตั ิตัวและดแู ลสุขภาพ ในสถานการณ์ปญั หาหมอกควัน (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก :
http://hia.anamai.moph.go.th/download/Serveillance/Danger/fog3.pdf
[12 กนั ยายน 2559].

กฤษดา เกดิ ด.ี (2553). รทู้ นั ภัยพบิ ัติ : คมู่ ือความปลอดภัยสาหรบั ดแู ลตนเองและครอบครัว.
กรงุ เทพฯ : วงกลม.

ขา่ วไทยพบี เี อส 30 ตุลาคม2555. เปิดเทคนิคการต้ังชอ่ื พายุ และการแบง่ ประเภทของพายุ.
(ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก : http://news.thaipbs.or.th/content/122156
[14 กนั ยายน 2559].

คลังปญั ญาไทย. โคลนถล่ม. (ออนไลน์). สบื ค้นจาก http://www.panyathai.go.th
[20 มนี าคม 2553]

โครงการพัฒนาการจัดการภัยพบิ ัติ ภาคประชาชน. (2550). ดินถลม่ (ภัยพบิ ตั )ิ . (ออนไลน์).
สืบค้นจาก http://www.siamvoluter.com [21 มนี าคม 2559 ].

โครงการวจิ ัยไทย มูลนิธิส่งเสริมสันติวถิ ี. (2551). สรปุ ประเดน็ สาคญั : ผลกระทบของพายุ
ไซโคลนนาร์กิสที่มตี ่อประชาชนในพมา่ (ออนไลน์). สบื คน้ จาก :
www.volunteerspirit.org/files/u1/peaceway.doc [10 ตุลาคม 2559].

จรัญธร บญุ ญานุภาพ. (2551). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กบั การจดั การภัยพิบัติจากแผน่ ดนิ
ถลม่ ในประเทศไทย. วารสารเกษตรนเรศวร.

จงรักษ์ วชั รนิ ทร์รัตน์ และ สานกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ. (2550) การศึกษาศกั ยภาพล่มุ
นา้ เพอ่ื จดั ทาแผนป้องกนั และฟ้นื ฟใู นการบรรเทาความเสยี หายพน้ื ที่ประสบภัย
น้าท่วมฉับพลันและดนิ ถลม่ : กรณีศึกษาพืน้ ที่ลุ่มนา้ ห้วยน้าริด อาเภอทา่ ปลา จังหวัด
อุตรดติ ถ์. กรุงเทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ.

จิระ ปรังเขยี ว. กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2551).
การประยกุ ต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใ์ นการวิเคราะหแ์ ละวางแผนจดั การพื้นที่
เสีย่ งภยั ดนิ ถลม่ ในอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่. กรงุ เทพฯ.

ชดุ วิชาการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 161

ชิตชัย อนนั ตเศรษฐ์. (ม.ป.ป.). ปญั หาดนิ ถลม่ ในจงั หวดั เชยี งใหม่และภาคเหนือตอนบน.
(ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก http://www.cendru.eng.cmu.ac.th/web/4-2.htm.
[2 มีนาคม 2559].

ธวชั ชัย ตงิ สัญชลี และ สานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ัย. (2546). โครงการวจิ ยั การพัฒนา
แผนหลกั การจัดการภยั ธรรมชาติทเี่ กยี่ วข้องกับน้า : น้าทว่ ม น้าแล้ง และแผน่ ดินถลม่
: รายงานฉบับสมบรู ณ์. กรงุ เทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนนุ การวจิ ัย.

บญั ชา ธนบุญสมบัติ. (2548). รบั มอื "ธรณพี ิบัติ" .กรุงเทพฯ :รว่ มด้วยช่วยกัน.
มีนา ม.โอวรารนิ ท์. (2557). คมู่ ือเอาตวั รอดจาก 16 ภัยพิบตั ิ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพ์ มิ พด์ ี.
----------. รับมือ “ธรณพี ิบตั ภิ ัย”.กรงุ เทพฯ : ร่วมด้วยช่วยกนั , 2548.
บุญชยั งามวิทยโ์ รจน.์ (2551). ปัจจยั เสย่ี งและวิถชี ีวติ ของชุมชนในพื้นท่ี เสี่ยงภยั ดนิ ถลม่ และนา้

ทว่ ม-ดินถลม่ ศึกษาเฉพาะกรณีชมุ ชนในพน้ื ท่ีล่มุ นา้ ปงิ ตอนบน : รายงานการศกึ ษา
วจิ ัย. กรงุ เทพฯ : สานกั วิจัยพัฒนาและอุทกวทิ ยา.
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2553) การประยุกตใ์ ชร้ ะบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ : เพือ่ การวิเคราะห์และวางแผนจดั การพนื้ ทเี่ สี่ยงภัยดินถล่ม
กรณีศกึ ษาอาเภอ ลบั แล อาเภอทา่ ปลา และอาเภอเมือง จงั หวดั อุตรดติ ถ์. กรงุ เทพฯ :
กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย.
มีนา ม.โอวรารินท์. (2557). คมู่ อื เอาตวั รอดจาก 16 ภยั พบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์พมิ พด์ ี.
----------. (ม.ป.ป.). พายุหมนุ เขตรอ้ น. (ออนไลน์). สบื คน้ จาก : http://www.lesa.biz/earth/
atmosphere/phenomenon/tropical-storm [13 กนั ยายน 2559].
ศูนยข์ ้อมลู ข่าวสารอาเซยี น กรมประชาสัมพันธ์. (2559). การแก้ไขปัญหาหมอกควันภายใตค้ วาม
ตกลงอาเซยี นวา่ ด้วยมลพิษจากหมอกควนั ข้ามแดน (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก
http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=5864&filename=index
[12 กันยายน 2559]
ศนู ยข์ ้อมลู ภยั พิบตั ภิ าคประชาชน. (ม.ป.ป.). สถิติพายุหมนุ เขตรอ้ นและมกี าลงั รุนแรงท่ีเขา้ สู่
ประเทศไทย (ออนไลน์). สืบคน้ จาก : http://www.disasterthailand.org/สถิติพายุ
หมนุ เขตรอ้ นและมีกาลังรุนแรงท่เี ขา้ สปู่ ระเทศไทย. [13กนั ยายน 2559].
ศนู ย์ป้องกนั ภยั พิบตั ิภาคประชาชน. (ม.ป.ป.). ขอ้ มลู เหตุการณ์ดนิ โคลนถลม่ ที่ผ่านมา. (ออนไลน์)
สืบคน้ จาก : http://www.disasterthailand.org. [4 เมษายน 2559].

ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 162

ศูนยอ์ ุตนุ ิยมวิทยาภาคใตฝ้ ่ังตะวันออก. (ม.ป.ป.).ภัยธรรมชาติในประเทศไทย. (ออนไลน์).
สบื ค้นจาก : http://www.songkhla.tmd.go.th/attachment/images/Disas.pdf
[10 ตลุ าคม 2559].

ศูนยอ์ ุตุนิยมวทิ ยาภาคเหนือ. (ม.ป.ป.). ภัยธรรมชาติ .(ออนไลน์). สืบค้นจาก :
http://www.cmmet.tmd.go.th [25 เมษายน 2559]

----------. ภยั ธรรมชาติ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก.www.cmmet.tmd.go.th [29 มีนาคม 2555]
ศนู ย์การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร.์ (ม.ป.ป.) พายุฝนฟ้าคะนอง. (ออนไลน์). สืบค้น

จาก:http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/phenomenon/thunderstorm
[13 กนั ยายน 2559].
สถาบนั วิจัยและพัฒนาพื้นท่สี ูง(องค์การมหาชน). (2555). การป้องกนั ไฟป่า. (ออนไลน์).
สบื คน้ จาก: http://www2.hrdi.or.th/media/detail/1617 [20 กันยายน 2559].
สมทิ ธ ธรรมสโรช. (2542). “ภัยธรรมชาติ ท่ีมีผลกระทบต่อประเทศไทย.” วารสารชมรมนกั
อุทกวทิ ยา. มปพ.
สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน เลม่ ท่ี 34 เรื่องที่ 7 พายุและฝนในประเทศไทย : สถติ พิ ายุหมนุ
เขตร้อนท่ีเขา้ สู่ประเทศไทย. (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก : http://kanchanapisek.or.th
/kp6/sub/book/book.php?book=34&chap=7&page=t34-7-infodetail09.html
[13 กนั ยายน 2559].
สานักขา่ วออนไลน์ไทยพับลิก้า. (2557). มลภาวะที่จนี : ปญั หาทีท่ า้ ทายมนษุ ยชาติ (ตอนที่ 9)
(ออนไลน)์ . สืบค้นจาก http://thaipublica.org/2014/10/shanghai-pollution-9/
[12 กันยายน 2559].
สานักงานธรณีวิทยาส่งิ แวดลอ้ มและธรณีพบิ ัติภัย กรมทรัพยากรธรณ.ี (2553). ความร้เู ก่ยี วกับดิน
ถล่ม. (ออนไลน์). สบื คน้ จากhttp://www.dmr.go.th/download/Landslide/what_
landslide.htm [1 มีนาคม 2559].
สานักงานบรรเทาทุกขแ์ ละประชานามยั พทิ ักษ์ สภากาชาดไทย. ภยั ธรรมชาติใกลต้ วั . มปท. มปป.
สานักงานสง่ิ แวดล้อมภาคที่ 1 เชยี งใหม่ กรมควบคมุ มลพษิ . (2559). สถานการณม์ ลพิษหมอก
ควนั จากไฟป่าและการเผาในทโี่ ลง่ ปี 2557 (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก http://reo01.
mnre.go.th/ewt_dl_link.php?nid=30 [15 กันยายน 2559].
สานกั ปอ้ งกนั ปราบปรามและควบคุมไฟป่า. (ม.ป.ป.). ชนิดของไฟปา่ . (ออนไลน์). สืบค้นจาก :

ชุดวิชาการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 163

http://www.dnp.go.th//forestfire/FIRESCIENCE/lesson%201/lesson
1-3.thm [28 กันยายน 2559].
สานักประชาสมั พนั ธ์ เขต 3 เชียงใหม.่ (2555). รอบรเู้ รือ่ งภยั พิบัติ. (ออนไลน์). สืบคน้ จาก :
www.region 3.prd.go.th. [9 ตลุ าคม 2559]
สานกั โรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดลอ้ ม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2558).
คูม่ ือการเผา้ ระวังผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจากปญั หาหมอกควนั สาหรบั บคุ ลากร
สาธารณสุข. มปพ.
หนังสือเสรมิ ความรู้ชดุ “รู้ทันภัยพบิ ตั ิ” เรอื่ งภยั น้าท่วม เอกสารวิชาการลาดบั ที่ 49/2555
สานกั งาน กศน. สานักปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
หนุม่ พยากรณ์. (2551). ตามรอยพายไุ ซโคลน “นากีส”. วารสาร อุตนุ ิยมวิทยา ฉบบั ที่ 2
ประจาเดือน พฤษภาคม 2551 (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก : http://www.tmd.go.th/
programs%5Cuploads%5Cmagazines%5Cmag2-2551.pdf [9 ตลุ าคม 2559].
อุตนุ ยิ มวิทยา. (ม.ป.ป.). ความร้ดู ้านอตุ ุนิยมวทิ ยา เรื่อง ภัยธรรมชาตใิ นประเทศไทย(ออนไลน์).
สืบคน้ จาก: http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=78 [12 กนั ยายน 2559].
matichon online. (2559). ปัญหาไฟปา่ ภัยอนั ตรายต่อมนุษยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม.(ออนไลน)์ .
สบื คน้ จาก : http://www.matichon.co.th [ 26 กันยายน 2559] .
Pacific Diaster Net.LandslideTypesProcesses” (Online). Availble. http://www.
pacificdisaster.et/pdnadmin/data/documents/1411.html [2 March 2016].
Survey. “The Landslide Handbook - A Guide to UnderstandingLandslides”
(Online). Available
Wikipedia free encyclopedia. Wikimedia Foundation. “Landslide classification”
(Online). Available. https://en.wikipedia.org/wiki/Landslide_classification
[2 March 2016].

ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 164

คณะผ้จู ดั ทา

ที่ปรกึ ษา เลขาธิการ กศน. สานักงาน กศน.
รองเลขาธิการ กศน. สานกั งาน กศน.
นายสุรพงษ์ จาจด ผอู้ านวยการกลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นายประเสรฐิ หอมดี และการศึกษาตามอธั ยาศัย
นางตรนี ชุ สขุ สุเดช ผู้อานวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
รองผู้อานวยการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายจาเริญ มลู ฟอง
นายสมชาย เดด็ ขาด

ผู้วเิ คราะห์เนอื้ หาและจดั ทาโครงสรา้ งหลกั สตู ร

นายประดิษฐ์ สุวรรรณศักดิ์ นายชา่ งเครือ่ งกลอาวุโส ศป เขต 10 ลาปาง

นางสนุ นั ท์ โกษาวงั เจา้ หน้าท่ีวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชานาญการพิเศษ

ศูนย์ ปภ เขต 10 ลาปาง

นางอมั พวัน กนั วะนา เจ้าหนา้ ทว่ี เิ คราะหน์ โยบายและแผน ชานาญการ

ศูนย์ ปภ เขต 10 ลาปาง

นายนิพนธ์ ณ จนั ตา ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นางสาวกมลธรรม ชน่ื พนั ธุ์ ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

นางณิชากร เมตาภรณ์ ครชู านาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

นางพมิ พรรณ ยอดคา ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นางรสาพร หมอ้ ศรใี จ ครชู านาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นางอรวรรณ ฟงั เพราะ ครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

นางอบุ ลรตั น์ มีโชค ครชู านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื

นางกรรณิการ์ ยศตือ้ ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื

นางวราพรรณ พลู สวสั ดิ์ ครชู านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นางแกว้ ตา ธีระกุลพศิ ุทธ์ิ ครชู านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื

นางสาวนัชรี อ่มุ บางตลาด ครชู านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื

นางอรสิ า ประกอบดี ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นายเสถยี รพงศ์ ใจเย็น ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนอื

นายธนากร หนอ่ แกว้ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนือ

นางสาวพรวมิ ล พันลา ครู ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษาลาปาง

ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 165

ผ้รู วบรวม/ เรยี บเรียงเน้อื หา ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ภยั แลง้ ครู กศน.อาเภอแม่สะเรยี ง จ.แมฮ่ ่องสอน
นางอบุ ลรตั น์ มโี ชค ครอู าสาสมคั ร กศน.อาเภอพาน จ.เชียงราย
นายธนากร หน่อแก้ว
นายประวติ ร ประธรรมโย ครชู านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางกนษิ ฐา แสงอายุ ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
ครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 วาตภัย ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมือง จ.นา่ น
นางแกว้ ตา ธีระกุลพศิ ทุ ธิ์ ครูอาสาสมคั ร กศน.อาเภอเมือง จ.นา่ น
นางณชิ ากร เมตาภรณ์
นางดวงทพิ ย์ แกว้ ประเสรฐิ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางสาวชลธชิ า กา๋ แก้ว ครชู านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นางอาพร คาลือ ครชู านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
ครู ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษาลาปาง
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 อทุ กภยั นักวชิ าการ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาลาปาง
นางอรสิ า ประกอบดี
นางกรรณกิ าร์ ยศตื้อ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางวราพรรณ พูลสวัสด์ิ ครชู านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางสาวพรวิมล พันลา ครชู านาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
นายนครนิ ทร์ อรุณพนั ธ์ ครู ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาลาปาง
นกั วิชาการ ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาลาปาง
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ดินโคลนถล่ม
นางอรสิ า ประกอบดี
นางกรรณกิ าร์ ยศตอ้ื
นางวราพรรณ พลู สวสั ดิ์
นางสาวพรวมิ ล พันลา
นายนครนิ ทร์ อรณุ พันธ์

ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 166

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ไฟป่า ครชู านาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นางสาวกมลธรรม ช่นื พันธ์ุ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื ง จ.ลาปาง
นางสาวสายพนิ ใจแกน่ ครอู าสาสมัคร กศน.อาเภอเมือง จ.ลาปาง
นางเยาวรีย์ บณุ ยะภักด์ิ

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 หมอกควัน ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางสาวนชั รี อุ่มบางตลาด ครู กศน.อาเภอแจห้ ม่ จ.ลาปาง
นางสาวจิระวดี สมทรง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมืองปาน จ.ลาปาง
นางสาวนนั ทรตั น์ ไขลาเมา

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 7 แผ่นดินไหว ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
นายเสถยี รพงศ์ ใจเยน็ ครู กศน.อาเภอแม่สรวย จ.เชียงราย
นางกาญจนณ์ ัฏฐา คีรีธีรกุล ครู กศน.อาเภอสนั ทราย จ.เชียงใหม่
นางยพุ ดี ดวงคา ครอู าสาสมคั ร กศน.อาเภอแม่สรวย จ.เชยี งราย
นางธัญญารตั น์ กาพฒุ กลาง

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8 สนึ ามิ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสันทราย จ.เชียงใหม่
นายจารุเศรษฐ์ อรุณสิทธ์ิ ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายนพิ นธ์ ณ จันตา ครูชานาญการ กศน.อาเภอสูงเม่น จ.แพร่
นายธรี วฒุ ิ วงั แก้ว ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเชียงม่วน จ.พะเยา
นายอุดร คาบุญเรอื ง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอปง จ.พะเยา
นายพริ ุณ กุลชวาล

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 บุคลากรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ฯ

นายนิพนธ์ ณ จนั ตา ครูชานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

นางสาวกมลธรรม ชืน่ พนั ธุ์ ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ

นางแกว้ ตา ธีระกลุ พศิ ุทธ์ิ ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 167

บรรณาธกิ าร/พสิ จู น์อกั ษร ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายนพิ นธ์ ณ จันตา ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
นางสาวกมลธรรม ชน่ื พนั ธ์ุ ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางณชิ ากร เมตาภรณ์ ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นางอบุ ลรัตน์ มีโชค ครูชานาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
นางแก้วตา ธีระกุลพศิ ทุ ธิ์ ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางกรรณิการ์ ยศต้ือ ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นางสาวนัชรี อุ่มบางตลาด ครูชานาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นางวราพรรณ พูลสวสั ด์ิ ครู สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางอริสา ประกอบดี ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายเสถยี รพงศ์ ใจเยน็

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ครชู านาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
นายนิพนธ์ ณ จนั ตา

จดั รูปเลม่ ครูชานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายนพิ นธ์ ณ จนั ตา ครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางณชิ ากร เมตาภรณ์ ครชู านาญการ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นางแก้วตา ธรี ะกุลพศิ ุทธิ์ ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
นายเสถยี รพงศ์ ใจเย็น

ออกแบบปก ครู สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
นายเสถยี รพงศ์ ใจเยน็

พิมพ์ท่ี
สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื ลาปาง
เอกสารวชิ าการลาดบั ท่ี 25/2559

ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 168


Click to View FlipBook Version