The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

วิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 สค12022 ประถม

ชดุ วชิ า รายวชิ าเลอื กบงั คบั
การเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 รหสั วิชา สค12022

ระดบั ประถมศกึ ษา

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

ภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนบนโลกน้ีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีความรุนแรง
แตกต่างกันออกไป สร้างความเสียหายและส่งผลกระทบต่อโลกอย่างมากมาย ทั้งอุทกภัย วาตภัย
และอัคคีภัย ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถคาดคะเนได้ ถึงแม้ว่าจะมีการศึกษาเหตุการณ์จากอดีตมาแล้ว
ก็ตามแต่ก็ไม่สามารถระบุวัน เวลาท่ีจะเกิดภัยได้อย่างแม่นยา ด้วยเหตุนี้สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงตระหนักถึงภัยและผลกระทบที่เกิดจาก
ภัยพิบัติทางธรรมชาติท่ีมีต่อประชาชน จึงมอบหมายให้สถาบันกศน.ภาคเหนือ พัฒนาส่ือชุดวิชา
การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 เพื่อใช้เป็นส่ือในการจัดการเรียนการสอน สาหรับครู กศน.
ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ชุดวิชาการเรยี นร้สู ู้ภัยธรรมชาติ 1 รหัสวชิ า สค12022 ระดับประถมศกึ ษา ประกอบด้วย
เน้ือหาเรื่องภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน แผ่นดินไหว สึนามิ และ
บุคลากรและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือการประสบภัยธรรมชาติ โดยเนื้อหา
ความรู้ต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเตรียมความพร้อมรับ
สถานการณ์จากภัยพิบัติทางธรรมชาติได้ ชุดวิชาเล่มนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความร่วมมือจาก
ผ้เู ก่ียวขอ้ ง ดังรายนามที่ปรากฏไวใ้ นท้ายเล่ม สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั ขอขอบคุณไว้ในโอกาสน้ี

สานกั งาน กศน.
ตุลาคม 2559

ชุดวชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - ก

คำแนะนำกำรใช้ชดุ วิชำ

ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 รหัสวิชา สค12022 ใช้สาหรับผู้เรียนหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา
แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คอื

ส่วนที่ 1 เอกสารชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 ประกอบด้วย คาแนะนาการใช้
ชุดวิชา โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน และ
แนวตอบกจิ กรรมท้ายหน่วยการเรยี นรู้

ส่วนท่ี 2 สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
และกิจกรรมทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้

วธิ กี ำรใชช้ ดุ วิชำ

ให้ผ้เู รียนดาเนินการตามข้นั ตอน ดังนี้
1. ศึกษารายละเอียดโครงสร้างชุดวิชา จาก ชุดวิชาการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 เพ่ือให้
ทราบวา่ ผเู้ รยี นตอ้ งเรียนรเู้ นอ้ื หาในเรอื่ งใดบา้ งในรายวชิ านี้
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวิชาตามที่กาหนด เพ่ือทราบพ้ืนฐานความรู้เดิม
ของผู้เรียน โดยให้ทาในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ และตรวจสอบคาตอบจากเฉลย
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ในชดุ วชิ า
3. วางแผนเพื่อกาหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผู้เรียนมีความพร้อมท่ีจะศึกษาชุดวิชา
เพ่ือให้สามารถศึกษารายละเอียดเน้ือหาได้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทากิจกรรมตามที่
กาหนดใหท้ นั กอ่ นสอบปลายภาคเรียน
4. ศึกษาเน้ือหาในชุดวิชาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้อย่างละเอียดให้เข้าใจ ท้ังในชุดวิชา
และสื่อประกอบ และทากิจกรรมท่กี าหนดไวใ้ ห้ครบถ้วน
5. เมื่อทากิจกรรมเสร็จแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้จากเฉลย/แนวตอบท้าย
ชุดวิชา หากผเู้ รียนยังทากจิ กรรมไมถ่ กู ตอ้ ง ให้ผเู้ รียนกลับไปทบทวนเน้อื หาน้นั ซ้าจนกวา่ จะเข้าใจ

ชุดวิชาการเรยี นรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 - ข

6. เมือ่ ศึกษาเน้อื หาสาระครบทุกหน่วยการเรียนรแู้ ล้ว ให้ผ้เู รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายชุดวิชา ว่าผู้เรียนสามารถทาแบบทดสอบได้ถูกต้อง
ทุกข้อหรือไม่ หากข้อใดยังไม่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้นให้เข้าใจ
อีกครั้งหน่ึง ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนนมากกว่าแบบทดสอบก่อนเรียน และ
ควรได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของแบบทดสอบทั้งหมด (หรือ 18 ข้อ) เพ่ือให้ม่ันใจว่าจะ
สามารถสอบปลายภาคผา่ น (ข้อสอบ มี 30 ขอ้ )

7. หากผู้เรียนได้ทาการศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมแล้วยังไม่เข้าใจ ผู้เรียนสามารถ
สอบถามและขอคาแนะนาได้จากครหู รือแหลง่ ค้นควา้ เพมิ่ เตมิ อน่ื ๆ

กำรศกึ ษำคน้ ควำ้ เพ่ิมเติม

ผู้เรียนอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้จากเหล่งเรียนรู้ ผู้รู้อื่น ๆ เช่น ผู้นาชุมชน
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารภัยแต่ละจังหวัด ศูนย์อุตุนิยมวิทยาแต่ละภูมิภาค สานักตรวจและ
เฝ้าระวงั สภาวะอากาศ การศึกษาจากอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น
กำรวัดผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียน

ผเู้ รียนตอ้ งวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ดงั น้ี
1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากิจกรรมหรืองานที่ได้รับมอบหมายระหว่างเรียน
รายบคุ คล
2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาขอ้ สอบวดั ผลสัมฤทธิป์ ลายภาค

ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - ค

โครงสรำ้ งชดุ วชิ ำ

สำระกำรเรยี นรู้

สาระการพฒั นาสังคม

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

มำตรฐำนที่ 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครองในโลก และนามาปรับใช้ในการดาเนินชีวิตเพ่ือความม่ันคง
ของชาติ

มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครองในท้องถิ่น ประเทศ นามาปรับใช้ในการดาเนนิ
ชวี ติ และการประกอบอาชีพ เพ่อื ความม่ันคงของชาติ

ผลกำรเรยี นรู้ท่ีคำดหวัง

1. อธิบายความหมายของภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน
แผ่นดินไหว และสึนามิ

2. บอกประเภทของวาตภยั และไฟปา่
3. บอกสาเหตุ และปัจจัยการเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอก
ควนั แผน่ ดนิ ไหว และสึนามิ
4. บอกผลกระทบท่ีเกิดจากภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน
แผน่ ดนิ ไหว และสนึ ามิ
5. ตระหนักถึงภัยและผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า
หมอกควนั แผ่นดินไหว และสนึ ามิ
6. บอกหว้ งเวลาการเกิดภัยแล้งในประเทศไทย
7. บอกฤดูกาลการเกดิ ไฟปา่ ในแต่ละพนื้ ทีข่ องประเทศไทย
8. บอกพ้ืนท่ีเส่ียงภัยต่อการเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม แผ่นดินไหว และ
สึนามใิ นประเทศไทย
9. บอกสญั ญาณบอกเหตกุ ่อนเกดิ อทุ กภยั ดนิ โคลนถล่ม และสึนามิ

ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 - ง

10. บอกสถานการณภ์ ยั แล้ง วาตภัย อทุ กภัย ดินโคลนถล่มไฟปา่ หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว
และสนึ ามใิ นประเทศไทย

11. บอกสถติ ิการเกดิ ภัยแลง้ วาตภัย อทุ กภยั ดินโคลนถลม่ ไฟป่า หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว
และสึนามขิ องประเทศไทย

12. บอกวิธีการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดิน
โคลนถล่ม ไฟปา่ หมอกควัน แผน่ ดินไหว และสึนามิ

13. บอกวิธีการปฏิบัติขณะเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน
แผ่นดนิ ไหว และสึนามิ

14. บอกวิธีการปฏิบัติหลังเกิดภัยแล้ง วาตภัย อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟป่า หมอกควัน
แผน่ ดินไหว และสึนามใิ นประเทศไทย

15. ระบบุ คุ ลากรท่ีเกีย่ วข้องกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาติ
16. ระบหุ นว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การให้ความช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั ธรรมชาติ

สำระสำคัญ

ภยั ธรรมชาติทเี่ กดิ ขนึ้ บนโลกน้ี มีหลายประเภท ทงั้ ภยั แลง้ วาตภยั อทุ กภยั ดินโคลนถลม่
ไฟป่า หมอกควัน แผ่นดินไหว และสึนามิ แต่ละประเภทล้วนมีลักษณะการเกิดและผลกระทบ
ที่แตกต่างกันออกไป ภัยทางธรรมชาติหลายเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในอดีตได้สร้างความเสียหายและ
ส่งผลกระทบต่อมนุษยชาติและโลกอย่างมากมาย ซ่ึงมนุษย์ไม่สามารถคาดคะเนการเกิด
ภัยธรรมชาติเหล่านี้ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยา ดังนั้น จึงควรตระหนักถึงภัยและผลกระทบที่อาจจะ
เกิดข้ึนได้ทุกเม่ือ การศึกษาเร่ืองภัยธรรมชาติจึงเป็นการเตรียมความพร้อมท่ีดีเพื่อการวางแผน
รบั สถานการณก์ ารเกดิ ภัยต่าง ๆ และปอ้ งกนั ผลกระทบท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ อกี ทงั้ ยังเป็นการเสริมสร้าง
ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติเม่ือตอ้ งเผชิญกับเหตุภัยพิบัติเพ่ือลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขน้ึ กับท้ัง
ชีวิตและทรัพย์สิน

ชดุ วิชาการเรยี นรสู้ ูภ้ ยั ธรรมชาติ 1 - จ

ขอบข่ำยเน้ือหำ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ภยั แล้ง
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 วาตภยั
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 อทุ กภัย
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 ดนิ โคลนถล่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ไฟป่า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หมอกควัน
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 แผ่นดินไหว
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 8 สึนามิ
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 บุคลากรและหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื

การประสบภัยธรรมชาติ

สอ่ื ประกอบกำรเรียนรู้

1. ชุดวชิ าการเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 1 รหสั วิชา สค12022
2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1

จำนวนหน่วยกิต 2 หนว่ ยกติ (80 ชวั่ โมง)

กิจกรรมกำรเรยี นรู้

1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นในสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ และตรวจคาตอบจากเฉลย
ท้ายชดุ วชิ า

2. ศกึ ษาเน้อื หาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทกุ หน่วย
3. ทากจิ กรรมตามท่กี าหนดและตรวจสอบคาตอบจากเฉลย/แนวตอบทา้ ยชุดวชิ า
4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายชดุ วชิ า

กำรประเมินผล

1. แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
2. กิจกรรมในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้
3. การทดสอบปลายภาค

ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 - ฉ

สำรบญั

คานา ก

คาแนะนาการใช้ชุดวชิ า ข

โครงสรา้ งชุดวิชา ง

สารบญั ช

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภยั แลง้ 1

เรื่องที่ 1 ความหมายของภัยแล้ง 1

เรอ่ื งท่ี 2 ลกั ษณะการเกิดภยั แลง้ 5

เรื่องที่ 3 สถานการณ์การเกดิ ภัยแล้งในประเทศไทย 9

เรื่องท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดจากภัยแลง้ 12

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 วาตภัย 14

เรื่องท่ี 1 ความหมายของวาตภัย 16

เรื่องที่ 2 ลักษณะการเกดิ วาตภัย 18

เรื่องที่ 3 สถานการณ์วาตภัย 20

เรื่องที่ 4 แนวทางการป้องกันและการแก้ไขปญั หาผลกระทบทีเ่ กิดจากวาตภัย 25

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 อทุ กภยั 28

เรื่องที่ 1 ความหมายของอุทกภยั 30

เรือ่ งท่ี 2 การเกดิ อทุ กภัย 30

เรอ่ื งที่ 3 สถานการณอ์ ุทกภัยในประเทศไทย 37

เรื่องที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบที่เกิดจากอุทกภยั 39

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 ดนิ โคลนถลม่ 43

เรือ่ งที่ 1 ความหมายของดนิ โคลนถล่ม 45

เรอื่ งท่ี 2 การเกิดดนิ โคลนถล่ม 46

เรื่องที่ 3 สถานการณด์ ินโคลนถล่มในประเทศไทย 54

เรอ่ื งที่ 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแก้ไขปัญหาผลกระทบทเ่ี กิดจากดนิ โคลนถล่ม 56

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1 - ช

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ไฟป่า 61

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของไฟปา่ 63

เรอ่ื งที่ 2 ลักษณะการเกดิ ไฟป่า 64

เรื่องท่ี 3 สถานการณแ์ ละสถติ กิ ารเกดิ ไฟปา่ 72

เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแก้ไขปญั หาทเี่ กิดจากไฟปา่ 73

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 หมอกควัน 76

เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของหมอกควัน 78

เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะการเกดิ หมอกควัน 78

เรอ่ื งที่ 3 สถานการณห์ มอกควันในประเทศไทย 83

เรอื่ งท่ี 4 แนวทางการป้องกนั และแก้ปัญหาหมอกควัน 87

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 แผน่ ดินไหว 89

เรอื่ งที่ 1 ความหมายของแผ่นดินไหว 91

เรื่องที่ 2 ลกั ษณะการเกดิ แผ่นดินไหว 92

เรอ่ื งท่ี 3 สถานการณแ์ ผ่นดนิ ไหวในประเทศไทย 101

เรื่องที่ 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเ่ี กิดจากแผน่ ดนิ ไหว 103

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 สึนามิ 108

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของสึนามิ 110

เร่อื งที่ 2 ลักษณะการเกดิ สนึ ามิ 112

เรื่องที่ 3 สถานการณส์ ึนามิ 116

เรื่องที่ 4 แนวทางการป้องกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเี่ กิดจากสึนามิ 120

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 บคุ ลากรและหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื

การประสบภยั ธรรมชาติ 122

เรอ่ื งที่ 1 บุคลากรที่เกย่ี วข้องกับการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาติ 123

เรอ่ื งที่ 2 หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องกบั การใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบภัยธรรมชาติ 124

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลังเรียน 128

เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายหนว่ ยการเรียนรู้ 132

บรรณานกุ รม 160

คณะผู้จดั ทา 165

ชุดวิชาการเรยี นรสู้ ้ภู ยั ธรรมชาติ 1 - ซ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1
ภัยแลง้

สาระสาคัญ

ทุกวันนี้ สภาวะของโลกได้มีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิมอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะสังเกตได้จาก
อากาศที่แปรปรวน พายุท่ีรุนแรง ฝนที่ตกหนักมากข้ึน หรือฝนที่จะตกน้อยลงกว่าปกติ อากาศ
ท่ีร้อนมากข้ึน ซ่ึงก็รวมถึงสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่มีความแห้งแล้งมากขึ้นและยาวนาน
ต่อเน่ืองมากข้ึนดว้ ย

สาหรับสภาวะแห้งแล้งท่ีประเทศไทยกาลังประสบอยู่ หากเราได้ทาความรู้จักและเตรียม
ความพรอ้ มทจี่ ะรับมือกบั ความแห้งแล้งแลว้ เราก็สามารถเอาตัวรอดจากภัยแล้งนีไ้ ด้

ตัวชวี้ ัด

1. อธิบายความหมายของภยั แลง้
2. อธิบายความหมายของฝนแลง้ ฝนท้งิ ช่วง
3. บอกสาเหตุ และปจั จัยการเกดิ ภัยแล้ง
4. บอกผลกระทบที่เกิดจากภัยแลง้
5. ตระหนกั ถึงภยั และผลกระทบที่เกิดจากภยั แลง้
6. บอกห้วงเวลาการเกิดภยั แล้ง และพ้ืนทเ่ี สีย่ งภัยต่อการเกดิ ภยั แล้งในประเทศไทย
7. บอกสถานการณ์ภัยแลง้ ในประเทศไทย
8. บอกสถิตกิ ารเกิดภัยแลง้ ของประเทศไทย
9. บอกวิธีการเตรยี มความพร้อมรบั สถานการณ์การเกดิ ภัยแล้ง
10. บอกวธิ ีการปฏบิ ตั ิขณะเกดิ ภัยแลง้
11. บอกวิธีการปฏบิ ตั ิตนหลังเกิดภยั แล้ง

ชุดวชิ าการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 1

ขอบข่ายเนือ้ หา

เรื่องที่ 1 ความหมายของภยั แล้ง
1.1 ความหมายของภัยแลง้
1.2 ความหมายของฝนแล้ง ฝนท้ิงชว่ ง

เรอื่ งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดภัยแลง้
2.1 สาเหตุและปัจจยั การเกดิ ภัยแลง้
2.2 ผลกระทบท่ีเกิดจากภยั แล้ง
2.3 ห้วงเวลาการเกิดภัยแลง้ และพืน้ ทเี่ สย่ี งภยั

เรื่องที่ 3 สถานการณก์ ารเกดิ ภยั แล้งในประเทศไทย
3.1 สถานการณภ์ ัยแล้ง
3.2 สถิตกิ ารเกดิ ภยั แล้ง

เรื่องท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแก้ไขปญั หาผลกระทบทเี่ กดิ จากภัยแลง้
4.1 การเตรียมความพร้อม
4.2 การปฏิบัตขิ ณะเกิดภยั แล้ง
4.3 การชว่ ยเหลอื และฟืน้ ฟภู ายหลังการเกิดภยั แลง้

เวลาทใี่ ช้ในการศึกษา 10 ชวั่ โมง
ส่อื การเรยี นรู้

1. ชดุ วชิ าการเรียนรู้สูภ้ ัยธรรมชาติ 1
2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1
3. เว็บไซต์
4. สือ่ สิง่ พิมพ์ เชน่ แผน่ พับ โปสเตอร์ ใบปลิว เปน็ ต้น
5. ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน /ปราชญช์ าวบา้ น

ชุดวชิ าการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 2

เร่ืองท่ี 1 ความหมายของภัยแลง้

1.1 ความหมายของภยั แล้ง
ภัยแล้ง คือ ภัยท่ีเกิดจากการขาดแคลนน้าในพ้ืนที่ใดพื้นที่หน่ึงเป็นเวลานาน

ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาท่ีอากาศมีความแห้งแล้งผิดปกติ น้าในลาน้า คูคลองธรรมชาติลดลง รวมถึง
ความช้ืนในดินลดลงด้วย ส่งผลให้เกิดการขาดแคลนน้ากินน้าใช้ จนก่อให้เกิดความแห้งแล้ง
และอาจเกดิ ไฟปา่ ได้

1.2 ความหมายของฝนแลง้ ฝนท้งิ ช่วง
ฝนแลง้ หมายถึง ความแหง้ แล้งของลมฟ้าอากาศ อันเกิดจากการทฝี่ นนอ้ ยกวา่ ปกติ

หรอื ฝนไมต่ กตามฤดูกาล ทาให้เกดิ การขาดแคลนน้าใช้ และพืชต่าง ๆ ขาดนา้ หล่อเลยี้ ง ขาดความ
ชุ่มชื้น ทาให้พืชผลไม่สมบูรณ์และไม่เจริญเติบโต เกิดความเสียหาย และเกิดความอดอยาก
ขาดแคลน ไปทั่ว ความรุนแรงของฝนแล้งข้ึนอยู่กับความชื้นในอากาศ ความช้ืนในดิน ระยะเวลาท่ี
เกิดความแห้งแล้งและความกว้างใหญ่ของพ้ืนท่ีที่มีความแห้งแล้ง ฝนแล้งท่ีก่อให้เกิดความเสียหาย
อย่างมาก ได้แก่ ฝนแล้งท่ีเกิดในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงฝนท้ิงช่วงท่ียาวนาน ระหว่าง
เดือนมิถุนายนต่อเนื่องเดือนกรกฎาคม ทาให้พืชไร่ต่าง ๆ ที่ทาการเพาะปลูกไปแล้วขาดน้าและ
ได้รับความเสียหาย พ้ืนท่ีท่ีได้รับผลกระทบจากฝนแล้ง ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มี
พายเุ คลื่อนที่ผา่ นในแนวดังกลา่ ว จะกอ่ ใหเ้ กดิ ฝนแลง้ ทีม่ คี วามรุนแรงมาก

ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 3

ฝนทง้ิ ชว่ ง หมายถึง สภาวะฝนทิง้ ช่วง ช่วงที่มีปรมิ าณฝนตกไม่ถึงวันละ 1 มลิ ลเิ มตร
ตดิ ตอ่ กนั เกิน 15 วนั ในชว่ งฤดูฝน เดือนที่มโี อกาสเกิดฝนทิ้งช่วงสูง คือ เดือนมิถุนายนและกรกฎาคม
ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดไฟป่า เพราะความแห้งแล้งของลมฟ้าอากาศทาให้ฝน
มีปริมาณน้อยกว่าปกติ และฝนไม่ตกตามฤดูกาล ผลที่ตามมาคือ การขาดแคลนน้าใช้พืชต่าง ๆ
กข็ าดนา้ หล่อเล้ยี งขาดความชมุ่ ชน้ื

ชดุ วิชาการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 4

เรื่องท่ี 2 ลกั ษณะการเกดิ ภัยแลง้

จากสภาพฝนแล้งและฝนท้ิงช่วง จะเป็นสาเหตุสาคัญให้เกิดภัยแล้ง ความแห้งแล้ง
ของสภาพภมู อิ ากาศ ภมู ิประเทศ จะทาให้เกดิ ไฟไหมป้ ่าได้ หรอื สภาพดนิ แห้ง แตกระแหง

2.1 สาเหตแุ ละปัจจัยการเกดิ ภยั แล้ง
ภัยแล้งเกิดข้ึนทั้งจากธรรมชาติ และจากฝีมือมนุษย์เอง โดยท่ัว ๆ ไปภัยแล้ง

เกดิ จากสาเหตุ ดงั น้ี
2.1.1 จากธรรมชาติ
1) การเปล่ียนแปลงอุณหภมู โิ ลก
2) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3) การเปลี่ยนแปลงของระดับนา้ ทะเล
4) ภัยธรรมชาติ เช่น วาตภยั แผน่ ดนิ ไหว
2.1.2 จากการกระทาของมนุษย์
1) การทาลายชน้ั โอโซน
2) ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก
3) การพัฒนาดา้ นอตุ สาหกรรม
4) การตัดไม้ทาลายป่า

ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 5

ประเทศไทย ภัยแล้งเกดิ จากสาเหตหุ ลกั ๆ 4 ประการ

 ปริมาณฝนตกน้อยเกินไป เกิดสภาวะฝนทิ้งช่วงตดิ ต่อกันเป็นเวลานานหรือ
การกระจายน้าฝนที่ตกไม่สม่าเสมอตลอดทั้งปี ซึ่งกรณีหลังจะทาให้การขาดแคลนน้าเป็นบางช่วง
หรือบางฤดูกาลเท่าน้ัน แต่ถ้าหากฝนตกน้อยกว่าอัตราการระเหยของน้า ก็จะทาให้บริเวณนั้นเกิด
สภาพการขาดแคลนนา้ ที่ตอ่ เนอ่ื งกนั อย่างถาวร

 ขาดการวางแผนในการใช้น้าท่ีดี เช่น ไม่จัดเตรียมภาชนะหรืออ่างเก็บน้า
รองรบั น้าฝนท่ตี กเพื่อนาไปใช้ในช่วงขาดแคลนนา้

 ลักษณะภูมิประเทศไม่อานวย จึงทาให้บริเวณนั้นไม่มีแหล่งน้าธรรมชาติ
ขนาดใหญ่และถาวร หรืออยู่ใกล้ภูมิประเทศลาดเอียงและดินไม่อุ้มน้า จึงทาให้การกักเก็บน้าไว้ใช้
ทาไดย้ าก เชน่ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย

 พืชพันธุธ์ รรมชาตถิ ูกทาลาย โดยเฉพาะพนื้ ท่ีป่าต้นน้าลาธาร

2.2 ผลกระทบท่เี กดิ จากภัยแลง้

ภัยแล้งในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหล่งน้า เนื่องจาก
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ภัยแล้งจึงส่งผล
เสียหายต่อกิจกรรมทางการเกษตร เช่น พื้นดินขาดความชุ่มชื้น พืชขาดน้า พืชชะงัก
การเจริญเติบโต ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพต่า รวมถึงปริมาณลดลง ส่วนใหญ่ภัยแล้งที่มีผลต่อ
การเกษตรมกั เกดิ ในฤดฝู นทม่ี ฝี นทิ้งช่วงเปน็ เวลานาน จึงทาใหเ้ กิดผลกระทบดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี

2.2.1 ด้านเศรษฐกิจ ส้ินเปลืองและสูญเสียผลผลิตด้านเกษตร ปศุสัตว์ ป่าไม้
การประมง เศรษฐกิจท่ัวไป เช่น ราคาที่ดินลดลง โรงงานผลิตเสียหาย การว่างงาน สูญเสีย
อตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยว

2.2.2 ด้านส่ิงแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสัตว์ต่าง ๆ ทาให้ขาดแคลนน้า เกิดโรค
กับสัตว์ รวมถึงผลกระทบด้านอุทกวิทยา ทาให้ระดับและปริมาณน้าลดลง พื้นที่ชุ่มน้าลดลง ความ
เค็มของน้าเปลี่ยนแปลง ระดับน้าในดินเปล่ียนแปลง คุณภาพน้าเปล่ียนแปลง เกิดการกัดเซาะ
ของดนิ ไฟปา่ เพิม่ ข้ึน ส่งผลต่อคณุ ภาพอากาศและสญู เสียทัศนียภาพ

2.2.3 ดา้ นสังคม เกดิ ผลกระทบในดา้ นสขุ ภาพอนามัย เกิดความขัดแย้งในการใช้น้า
และการจดั การคุณภาพชีวติ ลดลง

ชุดวชิ าการเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 6

2.3 หว้ งเวลาการเกดิ ภยั แลง้ และพน้ื ที่เส่ยี งภัย

ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึงฤดูร้อน ซึ่งเร่ิมจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป
บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก จะมีปริมาณฝนลดลง
เป็นลาดับ จนกระทั่งเข้าสู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป ซ่ึงภัยแล้งลักษณะน้ี
จะเกดิ ขึ้นเป็นประจาทกุ ปี

ตารางแสดงหว้ งเวลาการเกดิ ภยั แล้งและพ้นื ทีเ่ สย่ี งภัย

ภาค/ ใต้
เดือน
เหนอื ตะวันออกเฉยี งเหนือ กลาง ตะวันออก ฝง่ั ฝง่ั

ตะวันออก ตะวนั ตก

ม.ค. - - - - - ฝนแลง้

ก.พ. - ฝนแล้ง ฝนแล้ง - - ฝนแล้ง

ม.ี ค. ฝนแล้ง ฝนแล้ง ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแล้ง ฝนแลง้

เม.ย. ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแลง้ ฝนแลง้ - ฝนแล้ง

พ.ค. - - - - - ฝนแล้ง

ม.ิ ย. ฝนท้ิงช่วง ฝนทิ้งชว่ ง ฝนท้ิงช่วง ฝนทง้ิ ชว่ ง - -

ก.ค. ฝนทงิ้ ชว่ ง ฝนท้ิงชว่ ง ฝนทิ้งชว่ ง ฝนท้งิ ช่วง - -

ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 7

พ้ืนที่เสี่ยงภัยแล้งในประเทศไทยท่ีได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่ บริเวณ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณท่ีอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไป
ไม่ถึง อย่างไรก็ตาม ทุกภูมิภาคของประเทศไทยมีโอกาสประสบภัยแล้ง และช่วงกลางฤดูฝน
ประมาณปลายเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนท้ิงช่วงเกิดข้ึน ภัยแล้งลักษณะน้ี
จะเกิดขึ้นเฉพาะท้องถ่ินหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุมพ้ืนท่ีเป็นบริเวณกว้างเกือบ
ทุกภมู ภิ าคของประเทศ

ชุดวชิ าการเรยี นร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 8

เร่ืองท่ี 3 สถานการณ์การเกดิ ภยั แลง้ ในประเทศไทย

ไทยไม่ใชป่ ระเทศเดียวท่ีกาลังประสบภัยแล้งครัง้ ร้ายแรงทส่ี ุดในรอบหลายทศวรรษ หลาย
ประเทศท่ัวโลกก็กาลังต่อสู้กับวิกฤตขาดแคลนน้า ไฟป่าที่รุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์การเกิดภัยแลง้

3.1 สถานการณ์ภัยแลง้
สถานการณ์ภัยแลง้ ในปจั จุบนั เป็นผลมาจากปรมิ าณน้าตน้ ทุนในเข่อื นหลายแห่งต่า

ประกอบกับภาวะฝนท้ิงช่วง ซึ่งในเดือนตุลาคม 2556 ถึงเดือนเมษายน 2557 มีจังหวัดที่ได้รับ
ผลกระทบและประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ (ภัยแล้ง) ท้ังหมด 44 จังหวัด
311 อาเภอ 1,927 ตาบล 18,355 หมู่บ้าน แบ่งเป็นภาคเหนือ 13 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
10 จังหวัด ภาคกลาง 7 จังหวัด ภาคตะวันออก 7 จังหวัด และภาคใต้ 7 จังหวัด โดยปัจจัยหลักท่ี
ทาให้เกิดภาวะแล้ง คือ ปริมาณฝน ท่ีถึงแม้ว่าปริมาณฝนสะสมท้ังประเทศ ในปี 2556 จะสูงกว่า
ค่าเฉลี่ย 14% แต่กลับพบว่า มีฝนท่ีตกบริเวณพ้ืนท่ีรับน้าของเขื่อนภูมิพลและเข่ือนสิริกิต์ิค่อนข้าง
น้อยที่สดุ ในรอบ 10 ปี ซ่ึงรวมถึงน้อยกวา่ ปี 2548 และ 2553 ทปี่ ระเทศไทยเกิดภยั แล้งรนุ แรง

สาหรับในปี พ.ศ. 2558 มีพ้ืนที่ประสบภัยกว่า 20 จังหวัดทั่วประเทศ ซ่ึงอยู่ทาง
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ เช่น จังหวัดนครสวรรค์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์
ตาก น่าน ลพบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น ชัยภูมิ สกลนคร อานาจเจริญ สุรินทร์ เป็นต้น เน่ืองจาก
ภัยแล้งน้ีเกิดข้ึนช่วงกลางฤดูฝน คือ ตั้งแต่กลางเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม โดยรับอิทธิพล
จากความแปรปรวนสภาพภูมิอากาศโลก จึงเรียกอีกนัยหน่ึงว่าเป็น “ภัยแล้งนอกฤดูกาล” ซ่ึงภัยแล้ง

ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 9

ในลักษณะปัจจุบัน ทาให้ปริมาณฝนเฉล่ียทั้งประเทศต่ากว่าค่าปกติราว 46% ปริมาณน้าต้นทุน
ท้งั ประเทศคอ่ นข้างตา่ อยู่ทร่ี าว 45% ของปรมิ าณความจุเขื่อนทง้ั ประเทศ

3.2 สถิติการเกดิ ภัยแล้ง

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม การขาดแคลนน้าจึงส่งผลกระทบอย่าง
รนุ แรงตอ่ ประชาชนท่ีประกอบอาชีพการเกษตร และจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ
ทาให้ฤดูฝนส้ันขึ้น ซ่ึงหมายถึงว่า ฤดูแล้งจะยาวนานข้ึนและในพ้ืนที่ตอนบนของประเทศไทยจะมี
ปริมาณฝนตกน้อยลง ส่งผลให้ปริมาณน้าในเข่ือนและอ่างเก็บน้าท่ัวประเทศมีปริมาณ
ไม่เพียงพอสาหรับประชาชนใช้อุปโภคบริโภคและเพ่ือการเกษตร โดยเฉพาะพ้ืนท่ีนอกเขต
ชลประทาน สิ่งท่ีจะเป็นปัญหาตามมา คือ ภาวะแห้งแล้งและการขาดแคลนน้า ทาให้ประชาชน
ตอ้ งประสบกับความเดือดร้อนในหลายพ้ืนที่ ดงั ตาราง

ความเสยี หาย

ปี จานวน ราษฎร ราษฎร พน้ื ที่ ปศุสตั ว์ มลู คา่
พ.ศ. จงั หวดั ประสบภยั ประสบภยั การเกษตร (ตวั ) (ลา้ นบาท)
(ครวั เรอื น)
2532 29 (คน) (ไร่ ) 197 121.97
2533 48 1,760,192 872 92.17
2534 59 2,107,100 496,062 1,294,240 290 262.17
2535 70 4,926,177 417 176.18
2536 68 8,100,916 536,550 1,970,703 726 198.76
2537 66 9,107,675 510 98.76
2538 72 8,763,014 1,221,416 1,037,271 462 177.62
2539 61 12,482,502 573 289.16
2540 64 10,967,930 2,430,663 5,334,471 197 249.16
2541 72 14,678,373 1,107 69.17
2542 58 6,510,111 2,533,194 2,040,443 980 1,520.50
2543 59 6,127,165 2,071 641.71
10,561,526 2,736,643 17,923,817

2,661,678 3,001,437

2,277,787 101,900

3,094,280 1,431,296

1,531,295 1,789,285

1,546,107 3,144,932

2,830,297 472,700

ชุดวิชาการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 10

ความเสยี หาย

ปี จานวน ราษฎร ราษฎร พืน้ ท่ี ปศสุ ัตว์ มูลค่า
พ.ศ. จังหวดั ประสบภยั ประสบภัย การเกษตร (ตวั ) (ล้านบาท)
(ครวั เรือน)
2544 51 (คน) (ไร่ ) 192 71.96
2545 68 - 508.78
2546 63 18,933,905 7,334,816 1,712,691 - 174.33
2547 64 - 190.67
2548 71 12,841,110 2,939,139 2,071,560 - 7,565.86
2549 61 - 495.26
2550 66 5,939,282 1,399,936 484,189 - 198.30
2551 61 - 103.90
2552 62 8,388,728 1,970,516 1,480,209 - 108.35
2553 64 - 1,415.22
2554 55 11,147,627 2,768,919 13,736,660 - 131.86
2555 53 - 399.18
11,862,358 2,960,824 578,753 15,261.00

16,754,980 4,378,225 1,350,118

135,298,895 3,531,570 524,999

17,353,358 4,500,861 594,434

15,740,824 4,077,411 1,716,853

16,560,561 4,835,321 811,680

15,235,830 418,516 1,486,512

รวม

ทมี่ า : ศูนยอ์ านวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย

ชุดวิชาการเรยี นร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 11

เรอ่ื งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบที่เกิดจากภัยแลง้

การป้องกันและแก้ไขปัญหาผลกระทบท่ีเกิดจากภัยแล้งน้ัน ต้องเตรียมความพร้อมตั้งรับ
สถานการณท์ ี่อาจจะเกดิ ขึ้น และการปฏิบตั ิตนขณะเกิดภัยแล้ง รวมท้ังการช่วยเหลือฟ้ืนฟูภายหลัง
เกดิ ภยั แลง้

4.1 การเตรยี มความพร้อม
การเตรียมตัวเพอ่ื รบั สถานการณก์ ารเกดิ ภยั แล้งทจ่ี ะเกดิ ข้ึน ดงั น้ี
4.1.1 เตรียมกักเก็บน้าสะอาดเพื่อการบริโภคให้เพียงพอ อย่ารีรอ มิฉะน้ันจะไมม่ ี

น้าให้เกบ็
4.1.2 ขดุ ลอกคู คลอง และบอ่ นา้ บาดาล เพือ่ เพมิ่ ปรมิ าณกักเก็บนา้
4.1.3 วางแผนการใชน้ า้ อย่างประหยดั เพ่ือใหม้ นี ้าใช้ตลอดช่วงภยั แล้ง
4.1.4 เตรยี มหมายเลขโทรศัพท์ฉกุ เฉนิ เพอื่ การขอน้าบรโิ ภคและการดบั ไฟปา่
4.1.5 ปลกู หญ้าแฝกรอบ ๆ ตน้ ไม้ผลหรือรอบแปลงปลูกผกั ตัดใบหญ้าแฝกในช่วง

ฤดูแลง้ เพือ่ ลดการคายน้า ลดการใชน้ ้าของหญ้าแฝก และนาใบมาใช้คลมุ โคนต้นไม้และแปลงผัก

ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 12

4.2 การปฏิบัติขณะเกดิ ภัยแลง้
ขณะทเี่ กิดภยั แลง้ เราจะต้องปฏบิ ัติ ดงั ตอ่ ไปนี้
4.2.1 การใชน้ า้ เพอ่ื การเกษตร ควรใช้ชว่ งเช้าและเยน็ เพ่ือลดอตั ราการระเหยน้า
4.2.2 การใชน้ า้ จากฝักบัวเพ่อื ชาระรา่ งกายจะประหยัดนา้ มากกวา่ การตักอาบ
4.2.3 กาจดั วสั ดุเชือ้ เพลงิ รอบที่พกั เพื่อปอ้ งกันการเกิดไฟปา่ และการลกุ ลาม
4.2.4 เตรียมหมายเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ เพื่อการขอน้าบรโิ ภคและการดับไฟปา่

4.3 การช่วยเหลอื และฟนื้ ฟูภายหลงั การเกิดภยั แลง้
หลงั จากการเกิดภัยแล้ง เราจะตอ้ งเตรยี มตัวและปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้
4.3.1 ใหต้ ิดตามสภาวะอากาศ โดยฟงั คาเตือนจากกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
4.3.2 ไม้ผล คลุมโคนต้นด้วยฟาง เปลือกถ่ัว เศษใบไม้ ใบหญ้า ปลูกพืชตระกูลถ่วั

รอบบริเวณโคนต้น โดยเร่ิมคลุมในช่วงปลายฤดูฝน หรือช่วงต้นฤดูแล้ง พืชผัก คลุมด้วยฟางข้าว
แกลบสด พลาสตกิ เปน็ ต้น

ชุดวิชาการเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 13

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
วาตภยั

สาระสาคญั

วาตภัยเป็นภัยที่เกิดจากพายุแรงลม ซึ่งสร้างความเสียหายและเป็นอันตรายต่อชีวิต
และสงิ่ แวดลอ้ ม และทาใหเ้ กดิ อทุ กภัยตามมา ซง่ึ พื้นท่ีเสี่ยงภัยนนั้ จะอยใู่ นรัศมี 50 - 100 กิโลเมตร
จากแนวศูนย์กลางการเคลื่อนที่ของพายุ สาหรับในประเทศไทยมีโอกาสเกิดพายุ ท้ังทางฝั่งทะเล
จีนใต้และฝ่ังทะเลอันดามัน จากในอดีตถึงปัจจุบัน พายุที่ก่อความเสียหายอย่างมากมายให้แก่
ประเทศไทย ได้แก่ พายุโซนร้อน “แฮเรียต” และพายุไต้ฝุ่น “เกย์” ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้
ลักษณะการเกิดวาตภัย สถานการณ์และสถติ ิการเกดิ วาตภัย ตลอดจนความเสียหายตา่ ง ๆ รวมทั้ง
วธิ ีเตรยี มความพรอ้ มในการปอ้ งกนั และแกป้ ัญหากอ่ นท่ภี ยั นี้จะมาเยือน

ตวั ช้ึวดั

1. บอกความหมายของวาตภัย
2. บอกประเภทของวาตภยั
3. บอกสาเหตุ และปจั จยั การเกดิ วาตภัย
4. บอกผลกระทบที่เกดิ จากวาตภยั
5. ตระหนักถึงภัยและผลกระทบทเ่ี กดิ จากวาตภยั
6. บอกพนื้ ท่ีเส่ียงภัยตอ่ การเกิดวาตภยั ในประเทศไทย
7. บอกสถานการณ์วาตภยั ในประเทศไทย
8. บอกวิธกี ารเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณก์ ารเกิดวาตภยั
9. บอกวธิ ีการปฏบิ ัตขิ ณะเกดิ วาตภัย
10. บอกวธิ กี ารปฏบิ ตั ิตนหลงั เกดิ วาตภยั

ชุดวชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 14

ขอบข่ายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 ความหมายของวาตภัย
1.1 ความหมายของวาตภยั
1.2 ประเภทของวาตภัย

เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะการเกิดวาตภัย
2.1 สาเหตุและปจั จัยการเกดิ วาตภัย
2.2 ผลกระทบจากวาตภัย
2.3 พ้นื ท่ีเสี่ยงต่อการเกิดวาตภยั ในประเทศไทย

เรอื่ งที่ 3 สถานการณ์วาตภยั
3.1 สถานการณ์วาตภยั ในประเทศไทย
3.2 สถิติการเกิดวาตภัยในประเทศไทย

เรื่องท่ี 4 แนวทางการป้องกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทเ่ี กิดจากวาตภยั
4.1 การเตรียมการกอ่ นเกดิ วาตภยั
4.2 ขอ้ ปฏิบตั ิเมอื่ เกิดวาตภยั
4.3 การแกไ้ ขปัญหาหลงั จากเกิดวาตภยั

เวลาทใ่ี ชใ้ นการศึกษา 10 ช่วั โมง
สื่อการเรยี นรู้

1. ชุดวิชาการเรยี นรู้สู้ภยั ธรรมชาติ 1
2. สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1
3. เว็บไซต์
4. สอื่ สง่ิ พมิ พ์ เชน่ แผ่นพบั โปสเตอร์ ใบปลวิ เป็นต้น

ชุดวชิ าการเรยี นรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 15

เรื่องท่ี 1 ความหมายของวาตภัย

1.1 ความหมายของวาตภยั

วาตภัย หมายถงึ ภัยท่เี กิดข้ึนจากพายุ ลมแรง จนทาให้เกดิ ความเสียหายและเป็น
อนั ตรายตอ่ ชวี ิต ทรัพยส์ นิ อาคารบ้านเรอื นและส่งิ กอ่ สร้าง รวมถงึ ต้นไม้ พืชผกั ตา่ ง ๆ นอกจากน้ียัง
ทาให้เกดิ อุทกภยั ตามมาอีกดว้ ย

1.2 ประเภทของวาตภยั

ในประเทศไทยการเกิดวาตภัยหรือพายุลมแรง ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ความแรงลม ต้ังแต่ 60 กิโลเมตรต่อช่ัวโมงข้ึนไป ท่ีทาความเสียหาย
และเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน วาตภัยแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ พายุฟ้าคะนอง พายุหมุน
เขตร้อน และพายทุ อรน์ าโด

1.2.1 พายุฟ้าคะนอง หรือพายุฤดูร้อน ส่วนมากจะเกิดขึ้นระหว่างเดือนมีนาคม
ถึงเดือนเมษายน พายุประเภทน้ีเกิดข้ึนบ่อยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาค
กลางและภาคตะวันออกจะเกิดน้อย สาหรับภาคใต้ก็อาจเกิดพายุประเภทนี้ได้ แต่ไม่บ่อยนัก
การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองในแต่ละคร้ัง จะใช้เวลาประมาณ 2 - 4 ช่ัวโมง โดยเร่ิมจากอากาศร้อน
อบอ้าว ท้องฟา้ มืดมัว อากาศเยน็ ลมกระโชกแรง และมกี ลิน่ ดิน ฟา้ แลบ ฟ้าผ่า ฟ้ารอ้ ง ฝนตกหนัก
และเกดิ ร้งุ กนิ น้า

1.2.2 พายุหมุนเขตร้อนหรือพายุไซโคลน เกิดในฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนตุลาคม พายุน้ีเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกเเละด้านใต้ หรือทะเลจีนใต้
แล้วเคล่ือนเข้าสู่ฝั่งงทวีป โดยจะมีผลกระทบต่อลม ฟ้า อากาศของประเทศไทย คือ ทาให้เกิดคลื่น
สูงใหญ่ในทะเล และน้าขึ้นสูง พายุนี้มีช่ือเรียกตามขนาดความรุนแรงของลมใกล้บริเวณศูนย์กลาง
ของพายุ ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับตาเป็นวงกลม เรียกว่า "ตาพายุ" ที่ทวีกาลังแรงขึ้นเป็นลาดับ
จากดีเปรสชัน่ เปน็ พายุโซนรอ้ น และพายุไต้ฝุ่น โดยใช้เกณฑ์พิจารณาความรนุ แรงของพายุ ดงั น้ี

ชนดิ ของพายุ ความเรว็ ลมสูงสดุ ใกล้ศูนย์กลางของพายุ
ดีเปรสชน่ั 33 นอต (62 กโิ ลเมตร/ชว่ั โมง)
โซนรอ้ น 34 - 63 นอต (63 - 117 กโิ ลเมตร/ชั่วโมง)
ไตฝ้ ุ่น 64 - 129 นอต (118 - 239 กโิ ลเมตร/ช่ัวโมง)

ชดุ วิชาการเรียนร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 16

1.2.3 พายุทอร์นาโด เป็นชื่อเรียกพายุหมุนที่เกิดในทวีปอเมริกา มีขนาดเนื้อท่ี
เล็กหรือเส้นผ่าศูนย์กลางน้อย แต่หมุนด้วยความเร็วสูง หรือความเร็วท่ีจุดศูนย์กลางสูงมากกว่า
พายุหมุนอ่ืน ๆ ก่อความเสียหายรุนแรงในบริเวณท่ีพัดผ่าน เกิดได้ท้ังบนบกและในทะเล หากเกิด
ในทะเล เรียกว่า “นาคเลน่ นา้ ” บางคร้งั อาจเกดิ จากกลุ่มเมฆบนทอ้ งฟ้า ทหี่ มุนตัวลงมาจากทอ้ งฟ้า
แต่ไม่ถงึ พื้นดนิ มีรูปรา่ งเหมือนงวงช้าง จึงเรียกกนั วา่ “ลมงวง”

นาคเล่นน้า ลมงวง
ท่มี า : http://www.posttoday.com/local/ ที่มา : http://www.cycleforjoplin.com/wpcontent/

south/327548 uploads/2015/10/5.jpg

ชดุ วชิ าการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 17

เร่ืองท่ี 2 ลักษณะการเกิดวาตภยั

2.1 สาเหตุและปัจจัยการเกิดวาตภัย

สภาพพื้นผิวโลกแต่ละแห่งที่แตกต่างกัน ทาให้การดูดซับรังสีจากดวงอาทิตย์
ของแต่ละพ้ืนที่ไม่เท่ากัน บริเวณป่าหนาทึบจะดูดรังสีได้ดีที่สุด รองลงมา คือ พ้ืนดินและพ้ืนน้า
ตามลาดับ เป็นผลให้อากาศท่ีอยู่เหนือพ้ืนที่ดังกล่าว มีอุณหภูมิและความกดอากาศต่างกัน ส่งผล
ทาให้เกิดการเคล่ือนที่ของอากาศที่เรียกโดยทั่วไปว่า “ลม” ซึ่งแบ่งตามลักษณะของแหล่งกาเนิด
ได้ 2 สาเหตุ คือ ความแตกตา่ งของอุณหภมู สิ องแห่ง และความแตกตา่ งของความกดอากาศ

2.1.1 ความแตกต่างของอุณหภูมิสองแห่ง อากาศเม่ือได้ความร้อนจะขยายตัว
อากาศร้อนจะลอยตัวสูงขึ้น ทาให้อากาศในบริเวณข้างเคียงซ่ึงมีอุณหภูมิต่ากว่าเคลื่อนเข้าแทนที่
การเคลอื่ นท่ขี องอากาศเน่ืองจากความแตกต่างของอุณหภูมิในสองบรเิ วณก่อให้เกิดลม

2.1.2 ความแตกตา่ งของความกดอากาศ อากาศเมอ่ื ไดร้ ับความร้อนจะขยายตัว
ทาให้มีความหนาแน่นลดลง เป็นผลให้ความกดอากาศน้อยลง อากาศเย็นในบริเวณใกล้เคียงซึ่งมี
ความหนาแน่นมากกว่าจะเคลื่อนที่เข้ามาบริเวณที่มีความกดอากาศต่า การเคลื่อนท่ีของอากาศ
เนอ่ื งจากบรเิ วณที่มีความกดอากาศต่างกันกอ่ ใหเ้ กิดลม

2.2 ผลกระทบจากวาตภัย

พายุเป็นส่ิงแวดล้อมทางภูมิอากาศที่เก่ียวข้องกับการดารงชีวิตของมนุษย์มาก แม้ว่า
พายุจะเกิดขึ้นไม่บ่อยนักก็ตาม แต่เมื่อมีพายุเกิดขึ้นและเคลื่อนที่ผ่านบริเวณใด อาจจะเกิดความ
เสยี หายมากมาย ดงั น้ี

2.2.1 เกิดฝนตกหนักและเกิดน้าท่วมอย่างรุนแรง บ้านเรือนหลายหลังพังทลาย
ประชากรเสยี ชีวิตเปน็ จานวนมาก

2.2.2 พชื ผลทป่ี ลกู ไวแ้ ละทีน่ าหลายหม่ืนไร่ได้รบั ความเสียหาย

2.2.3 ความเสยี หายต่อกจิ การขนส่ง ทั้งทางบก ทางอากาศ และทางเรอื ดงั น้ี

1) ทางบก การเกิดน้าท่วมอย่างรุนแรง ทาให้ถนนและสะพานขาดหรือ

ชารดุ กจิ การขนส่งตอ้ งหยุดชะงัก รฐั ตอ้ งเสียงบประมาณเพอื่ ก่อสร้างและซ่อมแซมเป็นจานวนมาก

2) ทางอากาศ พายุท่ีพัดอย่างรุนแรงจะทาให้เครื่องบินได้รับอันตราย

จากฝนทต่ี กหนัก ลกู เห็บและฟ้าผา่ ท่เี กดิ ขน้ึ อาจทาใหเ้ ครื่องบนิ ตกได้

ชดุ วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 18

3) ทางเรือ การเกิดพายุข้ึนในทะเล ทาให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ และความ

แรงของพายุทาให้เรืออับปางได้ ดังน้ัน เมอ่ื เกดิ พายรุ ุนแรงข้ึนในท้องทะเลจะตอ้ งหยดุ การเดินเรอื
2.3 พ้นื ท่เี สยี่ งต่อการเกดิ วาตภัยในประเทศไทย
พ้ืนท่ีเสี่ยงวาตภัย แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ พ้ืนที่เสี่ยงวาตภัยระดับสูง พื้นท่ีเส่ียง

วาตภยั ระดับปานกลาง และพื้นท่เี ส่ยี งวาตภัยระดบั ต่า
2.3.1 พ้ืนท่ีเส่ียงวาตภัยระดับสูง เป็นพ้ืนที่ที่อยู่ในรัศมี 50 กิโลเมตร จากแนว

ศูนยก์ ลางการเคล่ือนท่ีของพายุ สภาพพื้นที่เปน็ ท่รี าบตา่ อยใู่ กล้แถบชายฝงั่ ทะเลหรอื พนื้ ท่เี กาะ
2.3.2 พ้ืนที่เสี่ยงวาตภัยระดับปานกลาง เป็นพื้นท่ีอยู่ในแนวรัศมี 50-100

กิโลเมตร จากแนวศูนย์กลางพายุ สภาพพ้ืนท่ีเป็นท่ีลอนลาดและท่ีราบเชิงเขา สภาพการใช้
ประโยชน์มักจะเป็นพน้ื ทีเ่ กษตรเปน็ ส่วนใหญ่

2.3.3 พ้ืนท่ีเสี่ยงวาตภัยระดับต่า เป็นพื้นท่ีอยู่นอกแนวรัศมี 100 กิโลเมตร
จากศูนย์กลางการเคล่ือนท่ีของพายุ สภาพพ้ืนที่เป็นภูเขาสูงเป็นส่วนใหญ่ ความเสียหายจึงเกิดขึ้น
ไมม่ าก

ชดุ วชิ าการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 19

เรอ่ื งท่ี 3 สถานการณว์ าตภัย

3.1 สถานการณว์ าตภยั ในประเทศไทย

พายุหมุนเขตร้อนท่ีมีอิทธิพลต่อลักษณะอากาศในประเทศไทย มักมาจากทะเล
จีนใต้ ประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม หรือพฤศจิกายน พายุหมุนเขตร้อนน้ี แม้มีความ
รุนแรงระดับพายุไต้ฝุ่นขณะอยู่ในทะเลจีนใต้ แต่มักจะอ่อนกาลังลงเม่ือขึ้นฝ่ัง เนื่องจากการสูญเสีย
พลงั งานและอทิ ธพิ ลจากความฝดื ของพน้ื ทวีป ดังนัน้ พายหุ มุนเขตรอ้ นที่เคล่อื นตัวเข้าสู่ประเทศไทย
และมีอิทธิพลโดยตรง จึงมักเป็นเพียงพายุดีเปรสช่ัน ท่ีมีอัตราเร็วลมไม่รุนแรงมาก และส่งผลใหฝ้ นตก
ไม่หนักมาก แต่ต่อเนื่องเป็นบริเวณกว้าง พายุหมุนเขตร้อนที่พัดเข้าสู่ประเทศไทย และก่อความ
เสียหายอย่างมากมายต่อทรัพย์สินและชีวิตของประชาชน ท่ีรู้จักกันดีมีอยู่ 2 ลูก ได้แก่ พายุโซนร้อน
“แฮร์เรียต” และพายไุ ต้ฝุ่น “เกย”์

3.1.1 พายุ “แฮร์เรียต” เป็นพายุโซนร้อนลูกแรกที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
นับตั้งแต่ พ.ศ. 2494 ท่ีมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพายุอย่างเป็นทางการ พายุน้ีเริ่มก่อตัวจาก
หย่อมความกดอากาศต่ากาลังแรงในทะเลจีนใต้ ใกล้ปลายแหลมญวน ในวันท่ี 24 ตุลาคม 2505
จากน้ันค่อย ๆ เคล่ือนตัวไปทางทิศตะวันตกเข้าสู่อ่าวไทย และมีกาลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชั่น
อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา ประมาณ 200 กิโลเมตร ในตอนเช้าของวันท่ี 25 ตุลาคม
2505 ก่อนจะค่อย ๆ เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และทวีกาลังแรงเพิ่มข้ึนเป็นพายุโซน
ร้อน เม่ือข้ึนฝั่งบริเวณแหลมตะลุมพุก อาเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในเวลาประมาณ
19.00 น. ของวันเดียวกัน โดยความเร็วลมสูงสุด วัดได้ที่สถานีตรวจอากาศนครศรีธรรมราช สูงถึง
95 กิโลเมตรต่อชั่วโมง นอกจากลมที่พัดแรงแล้ว พายุลูกน้ียังพัดคลื่นทะเลซัดเข้าฝั่ง ทาให้
นา้ ทะเลหนนุ เข้าอา่ วปากพนัง พดั พาบา้ นเรือนราษฎรเสียหายอย่างมาก มผี ู้เสยี ชวี ิตกวา่ 900 คน

3.1.2 พายุไต้ฝุ่น “เกย์” เป็นพายุหมุนเขตร้อน ท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยลูกแรก
ท่ีมีความรุนแรง ถึงระดับพายุไต้ฝุ่น พายุน้ีเริ่มก่อตัวเมื่อวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2532 ในบริเวณตอน
ใต้ของอ่าวไทย และเคล่ือนตัวขึ้นไปทางตะวันตกเฉียงเหนือค่อนไปทางเหนือ เดิมพายุลูกน้ี
มีทิศทางมุ่งเข้าหาฝ่ังของจังหวัดนครศรีธรรมราช ต่อมาในตอนเช้าของวันที่ 3 พฤศจิกายน
2532 พายุนี้ได้ทวีกาลังแรงขึ้นจนถึงระดับพายุไต้ฝุ่น และเปลี่ยนทิศทางไปทางเหนือ และเคล่ือน
ตัวผ่านฐานขุดเจาะน้ามันของบริษัทยูโนแคลในอ่าวไทยทาให้เรือขุดเจาะช่ือ “ซีเครสต์”
(Sea Crest) พลิกคว่า มีเจ้าหน้าที่ประจาเรือเสียชีวิต 91 คน พายุไต้ฝุ่น “เกย์” ทวีกาลังแรง
เพ่ิมข้ึน ด้วยอัตราความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางพายุ 100 นอต ก่อนเคล่ือนตัวขึ้นฝั่งท่ีบริเวณ

ชดุ วิชาการเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 20

รอยต่อระหว่าง อาเภอปะทิวกับอาเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ในตอนเช้าของวันท่ี 4 พฤศจิกายน
2532 ปรากฏว่า นอกจากทาให้มีผู้เสียชีวิต และทาความเสียหายอย่างมากในพ้ืนที่จังหวัดชุมพร และ
ประจวบคีรีขันธ์ โดยมีน้าท่วมและดินถล่มในหลายพื้นท่ีแล้ว พายุนี้ยังส่งผลกระทบต่อจังหวัด
ใกล้เคียงตามชายฝ่ังอ่าวไทย รวมทั้งจังหวัดตามชายฝั่งทะเลตะวันออกด้วย มีผู้เสียชีวิตกว่า 500 คน
สูญหายกว่า 400 คน ทรัพย์สินของทางราชการและเอกชนเสียหายไม่ต่ากว่า 1 หม่ืนล้านบาท
เรือกสวน ไร่ นาเสยี หายกว่า 9 แสนไร่ เรือประมงจมลงสู่ใต้ท้องทะเลประมาณ 500 ลา ศพลกู เรือ
ลอยเกลอ่ื นทะเล และสญู หายไปเป็นจานวนมาก นบั เปน็ การสญู เสียจากพายุไต้ฝุน่ ครั้งใหญ่ท่ีสุดใน
ประเทศไทย

3.2 สถิตกิ ารเกิดวาตภยั ในประเทศไทย
การเกิดพายุหมุนเขตร้อนของประเทศไทย เกิดขึ้นในทะเลทั้ง 2 ฝั่ง คือ ฝั่งทะเล

จนี ใตห้ รอื อ่าวไทย และฝัง่ ทะเลอนั ดามัน
3.2.1 พายุหมุนเขตร้อนในทะเลจีนใต้หรืออ่าวไทย เกิดในช่วงฤดูฝน ต้ังแต่เดือน

พฤษภาคมถงึ ตุลาคม หรือพฤศจกิ ายน ชว่ งระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงกรกฎาคม ปรากฏไม่มากนัก
อาจมีเพียง 1 - 2 ลูก แต่ในช่วงเดือนสิงหาคมและกันยายน อาจมีพายุถึง 3 - 4 ลูก พายุที่เกิด
ในช่วงนมี้ กั จะขนึ้ ฝงั่ บริเวณประเทศเวยี ดนาม แล้วคอ่ ย ๆ อ่อนกาลังลงตามลาดบั ไม่มีอนั ตรายจาก
ลมแรง แตพ่ ายทุ ี่เกิดในช่วงเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน ส่วนใหญ่จะผา่ นมาทางตอนใตข้ องปลาย
แหลมญวน หากเป็นพายุใหญ่จะเคลื่อนตัวเข้าสู่อ่าวไทย อาจทาให้เกิดความเสียหายได้ เช่น พายุ
เขตรอ้ น “แฮร์เรยี ต” และพายไุ ต้ฝ่นุ “เกย์” เป็นต้น

3.2.2 พายุหมุนเขตร้อนในทะเลอันดามัน เกิดได้ใน 2 ช่วงเวลาของปี คือ ช่วงท่ี
1 ในเดือนเมษายน ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ช่วงท่ี 2 ในกลางเดือนตุลาคม ถึงธันวาคม พายุหมุน
เขตร้อนท่ีเขา้ สู่ประเทศไทย เฉล่ยี ปีละประมาณ 3 ลกู

ชุดวชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 21

พายุหมุนเขตร้อนที่เคล่ือนเข้าสู่ประเทศไทย โดยมีกาลังแรงถึงข้ันพายุโซนร้อน
ขึ้นไป ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2495 - 2550 มีท้ังหมด 14 ลูก แต่ที่สร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง
มีจานวน 8 ลกู ดงั นี้

บรเิ วณ การเคล่ือนเขา้ สปู่ ระเทศไทย

ชื่อพายุ ทีพ่ ายุ ความเสยี หาย

เคลอ่ื นตัว ชนิดพายุ พน้ื ท่ี วนั /เดือน/ปี

ข้ึนฝั่ง

1. พายุไต้ฝุน่ ประเทศ โซนรอ้ น จงั หวัดตราด 22 ตลุ าคม ทาใหเ้ กดิ นา้ ท่วมหลายแหง่
ในจังหวัดชลบรุ ี จนั ทบุรี
“เว้” (Vae) เวียดนาม 2495 สมทุ รปราการ และกรุงเทพฯ
นอกจากนี้ ยังมีผู้เสยี ชีวิต
2. พายเุ ขต ประเทศ โซนร้อน บรเิ วณแหลม 26 ตลุ าคม เนื่องจากเรือใบล่มในทะเล
ร้อน ไทย ตะลมุ พุก 2505
“แฮร์เรยี ต” อาเภอปากพนงั มีผูเ้ สียชวี ติ 935 คน บ้านเรอื น
(Harriet) จังหวัด พังทลาย กวา่ 50,000 หลงั
นครศรธี รรมราช ไรน่ าเสียหายนบั แสนไร่ รวม
ค่าเสียหายกวา่ 1,000 ล้าน
บาท ในภาคใต้ ตงั้ แตจ่ งั หวดั
ประจวบครี ขี ันธ์ ลงไปถงึ
จังหวัดนราธิวาส

3. พายุไตฝ้ นุ่ ประเทศ ไต้ฝุ่น จงั หวัดชุมพร 4 พฤศจิกายน เกิดฝนตกหนัก น้าท่วม โคลน
“เกย์”(Gay) ไทยบรเิ วณ 2532 ถล่ม ในจังหวัดชุมพรและจังหวัด
ใกลเ้ คียง ทาความเสียหายต่อ
จงั หวัด 30 สงิ หาคม ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ นอกจากน้ี
ชมุ พร 2533 ยงั มเี รือลม่ อบั ปางในอ่าวไทย
นับรอ้ ยลา เน่อื งจากลมพายุมี
4. พายุ ประเทศ โซนร้อน จงั หวดั กาลงั แรง และมผี ูเ้ สยี ชีวิตใน
ทะเลอีกหลายรอ้ ยคน
ไตฝ้ ุ่น เวยี ดนาม หนองคาย
- พายุเคลื่อนผ่านประเทศลาว
ตอนบน พรอ้ มกบั อ่อนกาลังลงเปน็
พายุดเี ปรสชั่น แล้วเคลอ่ื นสู่

ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 22

บรเิ วณ การเคลอ่ื นเขา้ สู่ประเทศไทย

ชื่อพายุ ที่พายุ ความเสยี หาย

“เบกกี” เคลือ่ นตัว ชนิดพายุ พ้ืนที่ วนั /เดือน/ปี ประเทศไทยที่จังหวดั น่าน
(Becky) ก่อนท่ีจะอ่อนกาลังเป็นหย่อม
ขึ้นฝ่ัง ความกดอากาศตา่ บรเิ วณ
จังหวัดแพร่
- พายุทาให้เกิดฝนตกหนัก
และน้าทว่ มในหลายจงั หวดั
ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน และภาคเหนือ
ตอนบน เกดิ ความเสยี หายต่อ
บ้านเรือน และสาธารณปู โภค
รวมท้งั ไรน่ าจานวนมาก

5. พายุ ประเทศ โซนรอ้ น จงั หวดั นครพนม 17 สิงหาคม - พายุเคลื่อนผา่ นจังหวดั
ไตฝ้ นุ่ สกลนครและอดุ รธานี แลว้
เวยี ดนาม 2534 ออ่ นกาลงั เป็นพายุดเี ปรสชั่น
“เฟรด” ทบี่ ริเวณจังหวดั ขอนแก่น
(Fred) ตอนบน - ทาใหเ้ กดิ น้าท่วมเปน็ บริเวณ
กว้างในภาคตะวันออกเฉยี ง
เหนือและภาคเหนอื ก่อให้
เกิดความเสยี หายอย่างมาก

6. พายุ บรเิ วณ โซนรอ้ น จงั หวัด 15 พฤศจกิ ายน - พายุเคลือ่ นตวั ผ่านจังหวดั
จังหวดั นครศรี 2535 สรุ าษฎร์ธานี พังงา แล้วลงสู่
เขตรอ้ น นครศรธี รร
“ฟอรเ์ รสต์” มราช ธรรมราช ทะเลอันดามัน
(Forrest) - ทาความเสยี หายอย่าง
มากมายให้แกบ่ ้านเรอื น ไร่นา
ในจังหวัดนครศรธี รรมราช
และสุราษฎรธ์ านี ความเสียหาย
มากกว่า 3,000 ลา้ นบาท

ชดุ วิชาการเรยี นร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 23

บริเวณ การเคล่ือนเขา้ สู่ประเทศไทย

ชือ่ พายุ ท่ีพายุ ความเสียหาย

7. พายุ เคลอื่ นตวั ชนิดพายุ พืน้ ที่ วัน/เดอื น/ปี - พายุเคลื่อนตัวผ่านประเทศ
ไต้ฝ่นุ พม่า ไปลงทะเลอันดามัน
“ลินดา” ข้นึ ฝั่ง - ทาให้บรเิ วณอา่ วไทยมลี ม
(Linda) แรงและคลน่ื จดั เรือประมง
ประเทศ โซนร้อน อาเภอทบั สะแก 4 พฤศจิกายน อบั ปางหลายสิบลา เกดิ ฝนตก
ไทย จงั หวดั 2540 หนกั ในจังหวัดชุมพร
อาเภอทบั ประจวบครี ขี นั ธ์ ประจวบครี ขี ันธ์ เพชรบุรี
สะแก ราชบุรี กาญจนบรุ ี และระนอง
จังหวัด เกดิ นา้ ท่วมและนา้ ปา่ ไหล
ประจวบ หลาก มลู คา่ ความเสยี หาย
ครี ขี นั ธ์ มากกว่า 200 ล้านบาท

8. พายุไต้ฝนุ่ ประเทศ โซนร้อน บรเิ วณ จังหวัด 13 มถิ นุ ายน - พายุอ่อนกาลงั ลงเป็นพายุ
“จันทู” เวียดนาม อุบลราชธานี 2547 ดีเปรสชั่นก่อนเคลื่อนผ่าน
(Chanthu) ตอนกลาง จังหวัดยโสธร รอ้ ยเอ็ด
กาฬสนิ ธ์ุ อดุ รธานี และ
และอ่อน หนองคาย เข้าสปู่ ระเทศลาว
กาลังลง - ทาใหม้ ีฝนตกชกุ หนาแน่น
เปน็ พายุ เกดิ น้าทว่ มในหลายพืน้ ท่ีของ
โซนรอ้ น ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออก
เคลอื่ นตวั เฉยี งเหนอื ทาความเสียหาย
ผา่ น ใหแ้ ก่บา้ นเรือน และไรน่ าเป็น
ประเทศ อันมาก ประเมินคา่ ความ
ลาว เสยี หายกว่า 70 ล้านบาท

ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 24

เรอ่ื งที่ 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแก้ไขปัญหาผลกระทบทเ่ี กดิ จากวาตภัย

4.1 การเตรยี มการกอ่ นเกิดวาตภยั
4.1.1 ติดตามข่าวและประกาศ คาเตือนภัยเก่ียวกับลักษณะอากาศร้าย จากกรม

อตุ นุ ิยมวทิ ยา
4.1.2 เตรียมวิทยุและอุปกรณ์สื่อสารท่ีใช้ถ่านแบตเตอรี่ เพื่อติดตามข่าวในกรณี

ทีไ่ ฟฟ้าขดั ขอ้ ง
4.1.3 ตัดกิ่งไม้ท่ีอาจหักลงจากแรงลมพายุ โดยเฉพาะกิ่งไม้ท่ีมีโอกาสหักลงมาทับ

บ้านเรอื น หรือสายไฟฟ้าได้ สว่ นต้นไมท้ ย่ี นื ตน้ ตาย ควรโคน่ ลงให้เรยี บรอ้ ย
4.1.4 ตรวจเสาและสายไฟฟ้า ทั้งภายในและภายนอกบริเวณบ้านเรือน

ให้เรียบรอ้ ย ถา้ ไมแ่ ขง็ แรงใหย้ ึดเสาไฟฟ้าใหม้ นั่ คง
4.1.5 ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมทั้งยึดประตูและหน้าต่างให้มั่นคง แข็งแรง

ถา้ ประตหู น้าต่างไม่แขง็ แรง ให้ใชไ้ มท้ าบ ตตี ะปู ตรึงปดิ ประตู หนา้ ต่างไว้จึงจะปลอดภัยยงิ่ ขึน้
4.1.6 ปดิ กน้ั ชอ่ งทางลมและช่องทางตา่ ง ๆ ทลี่ มจะเขา้ มาทาให้เกิดความเสยี หาย
4.1.7 เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟให้พร้อมและนามาวางไว้ใกล้ ๆ มือ

เมือ่ เกิดไฟฟ้าดับจะไดห้ ยบิ ใชอ้ ย่างทันทว่ งที
4.1.8 เตรยี มอาหารสารอง นา้ ดม่ื อาหารกระปอ๋ งไว้เพือ่ ยังชพี ในระยะเวลา 2-3 วัน
4.1.9 ดบั เตาไฟใหเ้ รียบรอ้ ย และควรจะมอี ุปกรณ์สาหรบั ดบั เพลิงไว้ภายในบ้าน
4.1.10 เตรียมเครอ่ื งเวชภัณฑ์
4.1.11 จัดวางสิ่งของไวใ้ นทต่ี ่า เพราะอาจจะตกหลน่ แตกหักเสียหายได้
4.1.12 ลงสมอยดึ ตรึง เรือ แพ ให้มั่นคงแข็งแรง
4.1.13 ควรเตรียมพาหนะและเติมน้ามันไว้ให้พร้อม ภายหลังพายุสงบอาจต้องนา

ผปู้ ว่ ยสง่ สถานพยาบาล
4.1.14 ซักซ้อมความพร้อมของสมาชิกในครอบครัว โดยกาหนดวิธีปฏิบัติตนเมื่อเกิด

วาตภัย กาหนดจุดนัดพบท่ีปลอดภยั เมื่อมีการพลัดพรากหรือเตรียมการเพื่อการอพยพเคลื่อนยา้ ย
ไปอยทู่ ี่ปลอดภยั

4.1.15 หากอาศัยอยู่ในท่ีราบหรือริมน้า ควรรีบทาการอพยพผู้คน สัตว์เลี้ยง
และทรัพยส์ ินข้ึนไปอยู่ในทสี่ ูง ท่มี ั่นคงแขง็ แรง

ชุดวิชาการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 25

4.2 ข้อปฏิบตั เิ มอ่ื เกิดวาตภยั

ขณะเกิดวาตภัยต้องต้ังสติให้ม่ัน ไม่ควรออกมาภายนอกอาคาร และตัดสินใจช่วย
ครอบครวั ให้พน้ อนั ตรายในภาวะวกิ ฤต

4.2.1 กรณอี ยู่ท่ีนอกบ้าน
1) รีบหาอาคารทม่ี นั่ คง หรอื ทกี่ าบังเขา้ ไปหลบ หรอื เข้าไปอย่ใู นรถท่ีมี

หลงั คาแขง็ แรง
2) กรณที ่ีเลน่ นา้ ตอ้ งรีบขึ้นจากนา้ และไปให้พน้ ชายหาด
3) ถ้าอยู่ในท่ีโล่ง เช่น ทงุ่ นา ควรนง่ั ยอง ๆ ปลายเท้าชิดกนั และเขยง่

ปลายเท้าให้เท้าสัมผัสพน้ื ดนิ นอ้ ยทส่ี ดุ และโนม้ ตัวไปข้างหนา้ ไม่ควรนอนราบกบั พ้ืน
4) อยู่ให้ไกลจากโลหะท่ีเป็นส่ือไฟฟ้าทุกชนิด เช่น อุปกรณ์ทาสวน

รถจกั รยาน รถจักรยานยนต์ และรางรถไฟ
5) หา้ มอยูใ่ ต้ต้นไม้ทโ่ี ดดเดี่ยวโล่งแจง้
6) หา้ มใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถอื

4.2.2 กรณีอย่ใู นบา้ น
อยู่ให้ไกลจากอุปกรณ์ไฟฟ้า โลหะที่เป็นส่ือนาไฟฟ้าทุกชนิด และงดใช้

โทรศพั ท์

4.3 การแก้ไขปัญหาหลงั จากเกิดวาตภยั

หลังจากลมสงบแล้ว ต้องรออย่างน้อย 3 ชั่วโมง หากพ้นระยะน้ีแล้วไม่มีลมแรง
เกิดข้ึนอีก จึงจะวางใจได้ว่าพายุผ่านพ้นไปแล้ว เพราะเม่ือศูนย์กลางพายุผ่านไปแล้ว จากนั้น
จะตอ้ งมลี มแรงและฝนตกหนัก อกี ประมาณ 2 ช่ัวโมง เม่อื แน่ใจวา่ ปลอดภยั แลว้ จึงปฏิบัติ ดงั น้ี

4.3.1 หากมีผู้บาดเจ็บให้รีบช่วยเหลือและนาส่งโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล
ทใ่ี กลเ้ คยี งใหเ้ รว็ ท่ีสุด

4.3.2 ต้นไมใ้ กล้จะล้มให้รีบจัดการโคน่ ลม้ ลงเสีย มิฉะนั้นจะหักโคน่ ลม้ ภายหลงั
4.3.3 ถ้ามีเสาไฟฟ้าล้ม สายไฟขาดอย่าเข้าใกล้ หรือแตะต้องเป็นอันขาด ให้ทา
เคร่ืองหมายแสดงอันตราย และแจ้งเจ้าหน้าที่หรือช่างไฟฟ้าโดยด่วน อย่าแตะต้องโลหะท่ีเป็น
ส่อื ไฟฟา้

ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 26

4.3.4 เมอื่ ปรากฏว่าทอ่ ประปาแตกท่ีใด ใหร้ ีบแจ้งเจา้ หนา้ ที่มาแก้ไขโดยด่วน
4.3.5 อย่าเพ่ิงใช้น้าประปา เพราะน้าอาจไม่บริสุทธ์ิ เน่ืองจากท่อแตกหรือน้าทว่ ม
ถ้าใช้น้าประปาขณะนั้นมาดมื่ อาจจะเกิดโรคได้ ใหใ้ ชน้ า้ ท่ีสารองไว้ก่อนเกิดวาตภัยมาด่ืมแทน
4.3.6 ปัญหาทางดา้ นสาธารณสขุ ทีอ่ าจจะเกดิ ข้นึ ได้ ดังน้ี

1) การควบคมุ โรคติดตอ่ ทอ่ี าจเกิดระบาดได้
2) การทาน้าให้สะอาด เช่น ใชส้ ารส้ม และใชค้ ลอรนี
3) กาจดั อจุ จาระ โดยใชป้ นู ขาว หรอื น้ายาไลโซล 5% กาจัดกล่นิ และฆ่า
เช้อื โรค กาจดั พาหะนาโรค เชน่ ยุง และแมลงวัน โดยใช้ฆ่าแมลง
4) โรคต่าง ๆ ท่ีมักเกิดหลังวาตภัย ได้แก่ โรคระบบหายใจ (เช่น หวัด
เป็นต้น) โรคติดเชื้อ และปรสิต (เช่น การอักเสบ มีหนอง โรคฉ่ีหนู เป็นต้น) โรคผิวหนัง (เช่น โรคน้า
กัดเท้า กลาก เป็นต้น) โรคระบบทางเดินทางอาหาร (เช่น โรคอุจจาระร่วง) ภาวะทางจิต (เช่น
ความเครียด เป็นต้น)

ชุดวิชาการเรียนรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 27

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3
การเกิดอุทกภัย

สาระสาคญั

การเกิดอุทกภัยหรือภัยจากน้าท่วม เป็นภัยที่เกิดขึ้นได้กับประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก สาหรับ
ประเทศไทยเคยประสบเหตุการณ์อุทกภัยคร้ังใหญ่มาหลายครั้ง สาเหตุสาคัญของการเกิดอุทกภัย
เกิดได้ทั้งจากการเปล่ียนแปลงตามธรรมชาติและมนุษย์เป็นต้นเหตุ การเกิดอุทกภัยแต่ละคร้ังจะมี
ขนาดและความรุนแรงแตกต่างกัน ซึ่งความเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากหรือน้อยแตกต่างกันไป ท้ังน้ี
ขนึ้ อยู่กบั ขนาด ความรุนแรงและลักษณะพน้ื ท่ีทเี่ กดิ เหตุการณเ์ ปน็ สาคัญ

ตวั ชว้ี ดั

1. บอกความหมายของอุทกภัย
2. บอกสาเหตุและปจั จัยในการเกดิ อุทกภัย
3. ตระหนกั ถงึ ภยั และผลกระทบที่เกิดจากอุทกภยั
4. บอกสญั ญาณบอกเหตกุ อ่ นเกิดอุทกภัย
5. บอกพืน้ ท่ีเสี่ยงภัยต่อการเกดิ อุทกภยั
6. บอกสถานการณ์อทุ กภัยในประเทศไทย
7. บอกวิธกี ารเตรียมความพร้อมรับสถานการณก์ ารเกดิ อุทกภยั
8. บอกวธิ กี ารปฏบิ ัตขิ ณะเกิดอุทกภัย
9. บอกวิธีการปฏบิ ัติหลังเกิดอทุ กภัย

ชุดวชิ าการเรยี นรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 28

ขอบข่ายเนือ้ หา

เรื่องท่ี 1 ความหมายของอุทกภัย
เรอื่ งที่ 2 การเกดิ อทุ กภัย

2.1 ลกั ษณะการเกิดอทุ กภยั
2.2 สาเหตุและปจั จัยการเกิดอุทกภัย
2.3 ผลกระทบท่ีเกิดจากอุทกภัย
2.4 สัญญาณบอกเหตุก่อนเกิดอทุ กภัย
2.5 พนื้ ท่ีเสี่ยงภัยต่อการเกดิ อุทกภัย
เร่ืองท่ี 3 สถานการณอ์ ุทกภยั ในประเทศไทย
เร่อื งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบทีเ่ กิดจากอุทกภัย
4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณ์การเกิดอุทกภยั
4.2 การปฏบิ ตั ิขณะเกิดอทุ กภัย
4.3 การปฏิบตั ิหลังเกดิ อทุ กภยั

เวลาท่ีใชใ้ นการศกึ ษา 8 ชัว่ โมง
ส่อื การเรยี นรู้

1. ชุดวชิ าการเรยี นร้สู ้ภู ยั ธรรมชาติ 1
2. สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชดุ วิชาการเรียนรูส้ ู้ภยั ธรรมชาติ 1
3. เว็บไซต์

ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 29

เรื่องที่ 1 ความหมายของอทุ กภยั

อุทกภัย หรือน้าท่วม คือ ภัยหรืออันตรายที่เกิดจาก
น้าท่วม หรืออันตรายอันเกิดจากภาวะท่ีน้าไหลเอ่อล้นฝั่ง
แม่น้า ลาธารหรือทางน้าเข้าท่วมพ้ืนท่ี ซึ่งโดยปกติแล้วไม่ได้
อยู่ใต้ระดับน้า หรือเกิดจากการสะสมน้าบนพ้ืนที่ ซึ่งระบาย
ออกไมท่ นั ทาใหพ้ ้ืนทนี่ น้ั ปกคลมุ ไปด้วยน้า

เรอ่ื งท่ี 2 การเกิดอุทกภยั

อุทกภัย คือ ภัยที่เกิดจากน้าท่วมหรือน้าป่าไหล
หลาก หรือน้าไหลเอ่อล้นฝ่งั แมน่ ้าไหลทว่ มบ้านเรือนดว้ ยความ
รนุ แรง

2.1 ลักษณะการเกิดของอุทกภัย มี 4 ลักษณะ
ไดแ้ ก่

2.1.1 น้าลน้ ตล่ิง เกดิ จากฝนตกหนักตอ่ เนื่อง
ปริมาณน้าจานวนมากระบายไหลลงสู่แม่นา้ ลาธารออกสู่ทะเล
ไม่ทัน ทาให้เกิดสภาวะน้าล้นตลิ่งเข้าท่วมสวน ไร่ นา และ
บ้านเรือน ทาให้เกิดความเสียหาย ถนนและสะพานชารุด
เสน้ ทางคมนาคมถูกตดั ขาด

2.1.2 น้าท่วมฉับพลัน/น้าป่าไหลหลาก เป็นภาวะน้าท่วมท่ีเกิดข้ึนอย่างฉับพลัน
เน่ืองจากฝนตกหนัก มักเกิดขึ้นในบริเวณที่ราบระหว่างหุบเขา ซึ่งอาจจะไม่มีฝนตกหนักในบริเวณ
นั้นมาก่อนเลย แต่มีฝนตกหนักมากบริเวณต้นน้าที่อยู่ห่างออกไป หรือเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น
เข่ือนหรืออ่างเก็บน้าพงั ทลาย ทาให้ถนน สะพาน ชวี ิตมนษุ ย์ และสตั วไ์ ดร้ ับความเสียหาย

2.1.3 คล่ืนพายุซัดฝ่ัง คือ คล่ืนท่ีเกิดพร้อมกับพายุโซนร้อน เมฆฝนก่อตัว ฝนตก
หนัก ลมพัดแรง พื้นที่ชายฝั่งจะมีความกดอากาศต่า น้าทะเลยกตัวสูงกว่าปกติกลายเป็นโดมน้า
ขนาดใหญ่ ซัดจากทะเลเข้าชายฝั่งอย่างรวดเร็ว จนสร้างความเสียหายต่อชีวิต อาคารบ้านเรือน
และทรพั ย์สินบรเิ วณพืน้ ทช่ี ายฝ่ัง

ชุดวชิ าการเรยี นร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 30

2.1.4 น้าท่วมขัง เป็นน้าท่วมท่ีเกิดจากระบบระบายน้าไม่มีประสิทธิภาพ
มักเกิดขึ้นในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า และบริเวณชุมชนเมืองใหญ่ ๆ มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป
ซ่ึงเกิดจากฝนตกหนักในบริเวณนั้นติดตอ่ กันเป็นเวลาหลายวนั

2.2 สาเหตุและปัจจยั การเกิดอทุ กภัย

สาเหตุและปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดอุทกภัยมี 2 ประการ คือ การเกิดภัยธรรมชาติ
และการกระทาของมนษุ ย์

2.2.1 การเกดิ ภยั ธรรมชาติ ได้แก่
1) ฝนตกหนักจากพายุหรือพายุฝนฟ้าคะนอง เป็นพายุที่เกิดข้ึนติดต่อกัน

เป็นเวลานานหลายช่ัวโมง มีปริมาณฝนตกหนักมากจนไม่อาจไหลลงสู่แม่น้าลาธารได้ทัน จึงท่วม
พื้นทที่ ี่อยู่ในท่ีต่า ซ่งึ มกั เกดิ ในชว่ งฤดฝู นหรือฤดรู ้อน

2) ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน เม่ือพายุน้ีเกิดท่ีแห่งใดแห่งหน่ึง
เป็นเวลานานหรือแทบไม่เคล่ือนท่ี จะทาให้บริเวณน้ันมีฝนตกหนักติดต่อกันตลอดเวลา ย่ิงพายุ
มคี วามรนุ แรงมาก เชน่ มคี วามรนุ แรงขนาดพายโุ ซนร้อนหรือไตฝ้ ุ่น เมื่อเคล่อื นตัวไปถึงท่ใี ดก็ทาให้
ท่ีนั้นเกิดพายุลมแรง ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้างและมีน้าท่วมขัง นอกจากนี้ถ้าความถี่ของพายุ
ท่ีเคลือ่ นท่ีหรอื ผ่านเข้ามาเกิดข้นึ ต่อเน่อื งกนั ถงึ แมจ้ ะในชว่ งสั้นแตก่ ็ทาใหน้ า้ ทว่ มเสมอ

3) ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา ทาให้ปริมาณน้าบนภูเขาหรือแหล่งต้นน้า
มีมาก มีการไหลเชี่ยวอย่างรุนแรงลงสู่ท่ีราบเชิงเขา เกิดน้าท่วมข้ึนอย่างกะทันหัน เรียกว่าน้าท่วม
ฉับพลัน เกิดข้ึนหลังจากท่ีมีฝนตกหนักในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ หรือเกิดก่อนที่ฝนจะหยุดตก
มักเกิดขึ้นในลาธารเล็ก ๆ โดยเฉพาะตอนท่ีอยู่ใกล้ต้นน้าของบริเวณลุ่มน้า ระดับน้าจะสูงขึ้นอย่าง
รวดเรว็ จังหวดั ทีอ่ ยใู่ กล้เคยี งกับเทือกเขาสงู เชน่ จงั หวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เป็นต้น

4) ผลจากน้าทะเลหนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ในแนว
ท่ีทาให้ระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุด น้าทะเลจะหนุนให้ระดับน้าในแม่น้าสูงขึ้นอีกมาก ประกอบกับ
ระยะเวลาที่น้าป่าและน้าจากภูเขาไหลลงสู่แม่น้า น้าในแม่น้าจึงไม่อาจไหลลงสู่ทะเลได้ ทาให้เกิด
น้าเออ่ ล้นตลิง่ และท่วมเปน็ บริเวณกว้าง ย่ิงถา้ มฝี นตกหนักหรือมพี ายุเกดิ ข้ึนในชว่ งน้ี ความเสยี หาย
ก็ยิ่งจะมีมากขึ้น

5) ผลจากลมมรสุมมีกาลังแรง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้เป็นมรสุมที่พัดพา
ความชน้ื จากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ตง้ั แต่เดอื นพฤษภาคมถงึ เดือนตุลาคม เม่ือมกี าลัง
แรงเป็นระยะเวลาหลายวัน ทาให้เกิดคลื่นลมแรง ระดับน้าในทะเลตามขอบฝั่งจะสูงขึ้น ประกอบ

ชุดวิชาการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 31

กบั มีฝนตกหนกั ทาให้เกดิ น้าท่วมได้ ยงิ่ ถ้ามพี ายุเกดิ ขึ้นในทะเลจนี ใต้ ก็จะยิ่งเสริมให้มรสมุ ดังกล่าว
มีกาลังแรงข้ึนอีก ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย ปะทะขอบ
ฝ่งั ตะวนั ออกของภาคใต้ มรสมุ น้มี ีกาลังแรงเป็นคร้งั คราว เมอ่ื บรเิ วณความกดอากาศสงู ในประเทศ
จีนมีกาลังแรงขึ้นจะทาให้มีคล่ืนค่อนข้างใหญ่ในอ่าวไทย และระดับน้าทะเลสูงกว่าปกติ บางครั้ง
ทาใหม้ ฝี นตกหนกั ในภาคใต้ ตงั้ แต่จังหวดั ชุมพรลงไป ทาให้เกิดน้าท่วมเปน็ บริเวณกว้าง

6) ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เม่ือเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟ
บนบกและภูเขาไฟใต้น้าระเบิด เปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับความกระทบกระเทือน
ต่อเนื่องกัน บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึ้น บางส่วนจะยุบลง ทาให้เกิดคลื่นใหญ่ในมหาสมุทรซัดข้ึนฝ่ัง
เกดิ นา้ ท่วมตามหมู่เกาะและเมืองตามชายฝงั่ ทะเลได้ เกดิ ขน้ึ บ่อยคร้งั ในมหาสมุทรแปซฟิ กิ

2.2.2 การกระทาของมนษุ ย์ ได้แก่
1) การตัดไม้ทาลายป่าในพ้ืนที่เส่ียงภัย เมื่อเกิดฝนตกหนักจะทาให้อัตรา

การไหลสูงสุดเพ่ิมมากขึ้นและไหลมาเร็วขึ้น เป็นการเพ่ิมความรุนแรงของน้าในการทาลาย และยัง
เป็นสาเหตุของดินถล่มด้วย นอกจากน้ียังทาให้ดินและรากไม้ขนาดใหญ่ถูกชะล้างให้ไหลลงมา
ในท้องน้า ทาให้ท้องน้าตื้นเขินไม่สามารถระบายน้าได้ทันที ทั้งก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและ
บาดเจ็บของประชาชนทางด้านท้ายนา้

2) การขยายเขตเมืองลุกล้าเข้าไปในพ้ืนที่ลุ่มต่า ซ่ึงเป็นแหล่งเก็บน้า
ธรรมชาติ ทาให้ไมม่ ที ี่รับน้า เม่ือนา้ ลน้ ตลง่ิ กจ็ ะเข้าไปท่วมบริเวณท่ีเป็นพ้ืนท่ีลมุ่ ต่า ซ่งึ เป็นเขตเมือง
ทขี่ ยายใหมก่ อ่ น

3) การก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้าธรรมชาติ ทาให้มีผลกระทบต่อการ
ระบายนา้ และก่อให้เกดิ ปญั หาน้าท่วม

4) การออกแบบทางระบายน้าของถนนไม่เพียงพอ ทาให้น้าล้นเอ่อ
ในเมือง ทาความเสียหายให้แก่ชมุ ชนเมืองใหญ่ เนื่องจากการระบายน้าไดช้ า้ มาก

5) การบริหารจัดการน้าท่ีไม่ดี เป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาให้เกิดน้าท่วม
โดยเฉพาะบริเวณดา้ นทา้ ยเขอื่ นหรอื อ่างเก็บนา้

ชดุ วิชาการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 32

2.3 ผลกระทบท่ีเกิดจากอทุ กภัย
อุทกภัยไม่เพียงแต่สร้างความเสียหายต่อชีวิตผู้คน ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน

เทา่ นน้ั แตย่ ังเกิดผลกระทบตามมาอีกหลาย ๆ ด้าน เชน่

2.3.1 ผลกระทบทางดา้ นการศกึ ษา
สถานศึกษาท่ีถูกน้าท่วมเกิดความเสียหาย เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน

นักศึกษา และลดปัญหาการเดินทาง ทาให้ต้องปิดการเรียนการสอน ซึ่งจาเป็นต้องมีการสอน
ชดเชย หรอื การปิดภาคเรยี นไมต่ รงตามเวลาทกี่ าหนด

2.3.2 ผลกระทบทางดา้ นการเกษตร
เมื่อเกดิ อทุ กภัย จะทาใหผ้ ลผลติ ทางด้านการเกษตร เช่น ขา้ ว พืชไร่ พืชสวน

ตลอดจนพืชผลทางการเกษตรทุกชนิดที่ได้รับผลกระทบ ได้รับความเสียหาย ส่วนด้านการประมง
การปศุสัตว์ ก็ได้รับผลกระทบท้ังส้ิน นอกจากนี้เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ จะได้รับ
ความเสียหาย ส่งผลกระทบต่อราคาข้าว พืชไร่ พืชสวน สัตว์น้าและผลผลิตอื่น ๆ ทาให้การผลิต
การขนส่งมีต้นทุนสูงข้ึนกว่าปกติ ท้ังในระดับประเทศและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงเกษตรกร
ทีไ่ มม่ ีเงินทนุ สารองจะต้องกูห้ นีย้ ืมสนิ เพือ่ ลงทุนทาการเกษตรตอ่ ไป

2.3.3 ผลกระทบด้านอตุ สาหกรรม
นิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งที่ได้รับผลกระทบจากการเกิดอุทกภัย ทาให้

เกิดความขัดข้องในการผลิตและการขาดแคลนปัจจัยเพื่อป้อนโรงงานท่ัวโลก ประเทศท่ีมีฐาน
การผลิตในประเทศไทย เช่น ญี่ปุ่น ก็ได้รับผลกระทบ ส่งผลให้กาไรของบริษัทลดลงตามไปด้วย
รายได้ลูกจ้างในไทยก็ได้รับผลกระทบด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการส่งออก เพราะขาด
วัตถดุ ิบในการผลิตสนิ คา้

2.3.4 ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ
จากการขาดวัตถุดิบในการผลิตสินค้า อาจทาให้สินค้าขาดตลาด ประกอบ

กับการจัดส่งที่ยากลาบาก จะย่ิงทาให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้นและอาจส่งผลกระทบทั่วโลก เพราะไทย
เป็นแหล่งผลิตใหญ่ของโลกในปัจจุบัน อุทกภัยยังส่งผลให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง
เนื่องจากความเสียหายทางด้านทรัพย์สินและความสูญเสียจากค่าเสียโอกาส เช่น การผลิต
การส่งออก เปน็ ต้น

ชุดวชิ าการเรยี นรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 33

นอกจากน้ี ธุรกิจการท่องเที่ยวก็ได้รับความเสียหายในรูปแบบของการ
สูญเสียรายได้เข้าสู่ประเทศ รวมถึงช่ือเสียงของประเทศ เนื่องจากรัฐบาลของหลายประเทศ
ได้เตือนภัยให้นักท่องเที่ยวของตนเอง ระมัดระวังในการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย
ทาใหน้ ักท่องเทีย่ วต่างชาติลดลง

2.3.5 ผลกระทบด้านการสาธารณสขุ
เม่ือเกิดน้าท่วมติดต่อกันยาวนาน มักจะพบกับปัญหาเกิดส่ิงปนเป้ือน

ของแหล่งน้าและโรคท่ีมากับน้า ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรคตาแดง โรคไข้ฉ่ีหนู โรคอุจจาระร่วง
น้ากัดเท้า น้ากัดเล็บ ฯลฯ จึงส่งผลให้ประสบปัญหาการขาดยาและเวชภัณฑ์ รวมถึงสุขภาพจิต
ของประชาชนมีเพม่ิ ขึ้นดว้ ย

2.4 สัญญาณบอกเหตกุ ่อนเกดิ อุทกภัย

ก่อนการเกิดอุทกภัยคร้ังใด มักจะมีสัญญาณบอกเหตุให้เราทราบล่วงหน้าอยู่เสมอ
สัญญาณบอกเหตุดังกล่าว มีทั้งสัญญาณที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาติ และจาก
พฤตกิ รรมของสตั ว์

2.4.1 สญั ญาณบอกเหตจุ ากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
โดยธรรมชาติแล้ว เม่ือจะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง สามารถสังเกต

ได้จากสภาพของอากาศร้อนผิดปกติ เกิดฝนตก ฟ้าคะนองอย่างต่อเนื่องและเป็นเวลานาน โดยมี
สญั ญาณบอกเหตุ ดังน้ี

1) ในเวลากลางวัน ถา้ มีเมฆจานวนมาก ท้องฟ้ามีแสงสีแดง ลมสงบ ผวิ น้า
ทะเลไมม่ ีระลอกคลื่น เป็นสัญญาณเตือนว่า กาลงั จะมีพายลุ มแรงและจะมฝี นตกหนักมาก

2) ในเวลากลางคืน ถ้ามองไม่เห็นดวงดาว ท้องฟ้ามีแสงสีแดง ลมสงบ
เปน็ สญั ญาณเตือนวา่ ภายในคนื นี้จะมพี ายลุ มแรงและจะมีฝนตกหนักมาก

3) เวลากลางวันในฤดูร้อน ถ้าอากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกันสองวัน พอเข้า
วันที่สาม มีเมฆมากตามแนวขอบฟ้า ลมสงบ ก้อนเมฆใหญ่ข้ึน สูงขึ้นเรื่อย ๆ เป็นสัญญาณเตือนว่า
ตอนเย็นจนถงึ ใกลค้ ่าจะมพี ายุฤดรู อ้ นจะมฝี นฟ้าคะนองรนุ แรง มีฟ้าแลบ ฟ้ารอ้ ง ฟ้าฝา่ ลมกระโชก
แรง และอาจจะมีพายงุ วง (ลมงวง) ลงมาจากฐานเมฆ

4) ฤดูร้อนในตอนบ่าย ถ้ามีลมค่อนข้างแรงพัดเข้าสู่ภูเขาจนถึงเย็น
เป็นสญั ญาณเตือนว่า คืนนี้จะมีฝนตกหนกั

ชดุ วชิ าการเรยี นรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 34

2.4.2 สัญญาณบอกเหตุจากพฤติกรรมสัตว์ โดยสามารถสังเกตพฤติกรรมได้
ดังน้ี

1) ฤดูร้อนปีใด พบรังผึ้ง รังมดแดง ทารังบนยอดไม้ เป็นสัญญาณเตือนว่า
ในหนา้ ฝนปีนัน้ ฝนจะนอ้ ย

2) ฤดูร้อนปีใด ไม่พบรังนกบนต้นไม้ หรือนกย้ายไปทารังตามถ้า ตามใต้
หนา้ ผา ซอกเหลอื บหินบนภูเขา เป็นสญั ญาณเตือนว่า ฤดูฝนปีน้นั จะมีพายลุ มแรง ฝนตกหนกั มาก

3) ฤดูรอ้ นปีใด มดท่ีขดุ รูอาศัยใต้ดิน ขนเอาขุยดินขนึ้ มาทาเป็นแนวกันดิน
กลม ๆ รอบรไู ว้ เป็นสญั ญาณว่าฤดฝู นปีนี้ จะมีฝนดี

4) ในช่วงฤดูฝน มดดาขนไข่ อพยพข้ึนไปอยู่ท่ีสูง เป็นสัญญาณเตือนว่า
ภายในสองวัน จะมีฝนตกหนกั จนนา้ ทว่ ม

5) ฤดูฝน ถ้าลงไปเก็บหอยในดินโคลนริมฝั่งแม่น้า แล้วพบว่าหอยต่าง ๆ
ย้ายลงไปอยู่ในแนวร่องน้าลึกกลางแมน่ ้า เป็นสัญญาณเตือนว่าปีนน้ี า้ แล้ง

6) ฤดูฝน ถ้านกนางแอ่นมาเกาะเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้า จานวนมาก เป็น
สัญญาณเตอื นว่า ในทะเลจะมีพายลุ มแรง

2.5 พื้นทเี่ สยี่ งภยั ตอ่ การเกดิ อุทกภัย

ในอดีตประเทศไทยมีป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ แต่จากการบุกรุก แผ้วถางป่าเพื่อทาไร่
เลื่อนลอย และการตัดไม้เพ่ือการค้าของกลุ่มนายทุน ทาให้ปัจจุบันพืน้ ท่ีป่าไม้ลดลงอย่างนา่ ใจหาย
และนับเป็นสาเหตุหน่ึงท่ที าใหเ้ กิดอุทกภยั หรือภยั จากนา้ ทว่ มขน้ึ ประเทศไทยมีโอกาสเสยี่ งต่อการ
เกิดอุทกภัยได้ แต่ระดับความเส่ียงจะมากน้อยเพียงใดน้ัน ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบที่แตกต่างกันไป
ในแตล่ ะภูมิภาค

2.5.1 พืน้ ท่ีล่มุ นา้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
ก า ร แ บ่ ง ร ะ ดั บ พื้ น ท่ี เ สี่ ย ง ต่ อ ก า ร เ กิ ด อุ ท ก ภั ย ส า ห รั บ พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ า ภ า ค

ตะวันออกเฉยี งเหนอื พจิ ารณาจาก
1) พ้ืนที่เส่ียงอุทกภัยระดับสูง กาหนดให้เป็นพื้นที่ท่ีเกิดอุทกภัยรุนแรงมาก

และทาความเสยี หายต่อชีวติ และทรพั ย์สนิ ตลอดจนสงิ่ ก่อสร้าง
2) พ้ืนที่เส่ียงอุทกภัยระดับปานกลาง กาหนดให้เป็นพ้ืนท่ีท่ีเกิดอุทกภัย

รนุ แรงปานกลาง และทาความเสยี หายต่อทรพั ย์สนิ ของประชาชนมากแตไ่ ม่มีการสูญเสียชวี ติ

ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 35

3) พ้ืนท่ีเสี่ยงอุทกภัยระดับต่า กาหนดให้เป็นพื้นท่ีท่ีเกิดอุทกภัยรุนแรง
นอ้ ย และทาความเสียหายต่อทรพั ยส์ ินของประชาชนไม่มาก

4) พื้นท่ีไม่เส่ียงอุทกภัย กาหนดให้เป็นพื้นที่ที่เกดิ อุทกภัยไม่รนุ แรงและไม่
ทาให้สูญเสยี ชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน

2.5.2 พน้ื ทลี่ ่มุ น้าภาคใต้
การแบ่งระดับพ้ืนท่ีเส่ียงต่อการเกิดอุทกภัยสาหรับพื้นที่ลุ่มน้าภาคใต้

พจิ ารณาจาก
1) พ้ืนท่ีเสี่ยงจากดินโคลนไหลทับถม มักเป็นพ้ืนที่บริเวณเชิงเขาที่น้าป่า

ไหลหลากพาดินโคลน หนิ ต้นไม้ลงมาทับถม
2) พ้ืนที่เสี่ยงจากน้าไหลหลาก เป็นพ้ืนท่ีถัดจากเชิงเขาท่ีโคลนไหลมา

ทับถม คือ มีโคลนน้อยกว่าและค่อนข้างราบกว่าพ้ืนที่เชิงเขา แต่น้าป่าไหลหลากผ่านไปอย่าง
รวดเรว็ พร้อมทง้ั มโี คลนบางสว่ นตกตะกอน

3) พื้นท่ีเสี่ยงจากน้าท่วมขัง เป็นพื้นท่ีราบลุ่มริมฝั่งแม่น้าตาปี และแม่น้า
พมุ ดวง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ซ่งึ ระบายน้าลงสทู่ ะเลไมท่ นั

4) พ้ืนท่ีเสี่ยงจากน้าท่วมซ้าซาก เป็นพื้นท่ีท่ีประสบกับน้าท่วมขังเป็น
ประจาเกอื บทุกปี แตอ่ าจไมท่ ่วมขังตลอดปีหรอื เกิดขน้ึ ปีเว้นปี โดยเฉพาะอย่างย่งิ ช่วงฤดฝู น

5) พืน้ ทชี่ มุ่ นา้ เปน็ พื้นท่รี าบตา่ มนี ้าทว่ มขงั หรือมีสภาพช้นื แฉะตลอดเวลา

ชดุ วชิ าการเรียนรู้สภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 36

เร่ืองที่ 3 สถานการณ์อทุ กภัยในประเทศไทย

อทุ กภยั ร้ายแรงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศไทย ในอดีตมอี ทุ กภยั หลายเหตุการณ์
1. อุทกภัยจากพายุอีรา เข้าสู่ประเทศไทยท่ี จังหวัดอุบลราชธานี เม่ือวันท่ี 4

ตลุ าคม 2533
2. อุทกภัยจากพายุดีเปรสชั่น เข้าประเทศไทย ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อ

วนั ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2536
3. อุทกภัยจากพายุซีตา เคล่ือนผ่านประเทศเวียดนามตอนบน และประเทศลาว

เขา้ สู่ประเทศพม่า ใกลก้ ับภาคเหนอื ของประเทศไทย ชว่ งวันท่ี 23 - 24 สิงหาคม 2540
4. อุทกภัยจากพายุลินดา เข้าประเทศไทยท่ี จ.นครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 4

พฤศจกิ ายน 2540
5. อุทกภัยท่ีจังหวัดสงขลา เน่ืองจากฝนตกหนัก ในช่วง 20 - 22 พฤศจิกายน

2543
6. ในปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยเกิดอุทกภัยที่รุนแรงท่ีสุด หรือที่เรียกกันว่า

“มหาอุทกภัย” ซ่ึงเกิดจากพายุโซนร้อน “นกเตน” ที่ขึ้นฝั่งทางตอนเหนือของเวียดนาม ส่งผลให้
เกิด ฝนตกหนกั ทางภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย และทาให้เกดิ น้าท่วม
ในหลายจังหวัด ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในส่วนของภาคเหนือ เมื่อเกิดฝนตกหนักอย่าง
ตอ่ เนอ่ื งประกอบกับมีน้าป่าไหลหลาก ทาใหเ้ กดิ น้าท่วมอย่างฉับพลัน เมือ่ นา้ ไหลลงสู่ทรี่ าบภาคกลาง
จึงทาให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา เพราะได้รับน้าปริมาณมาก
จากแม่น้าสาขา เข่ือนจึงมีระดับน้าใกล้ความจุท่ีเข่ือนจะสามารถรับได้ ฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก
และต่อเน่ือง จึงต้องปล่อยน้าออกจากเข่ือนภายในเวลาไม่นาน อุทกภัยก็ลุกลามขยายออกไป
กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายทุกภูมิภาคของประเทศ

การเกิดอุทกภัยท่ีรุนแรงคร้ังน้ี ทาให้พื้นท่ีด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมกว่า 150
ล้านไร่ ซ่ึงเป็นพื้นท่ีท้ัง ใน 65 จังหวัด 684 อาเภอ เกิดความเสียหายประชาชนได้รับความ
เดือดร้อน 4,086,138 ครัวเรือน ประชาชนได้รับผลกระทบกว่า 12.8 ล้านคน ความสูญเสียท่ีมีต่อ
ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในชาติมีมากมายมหาศาล ธนาคารโลกประเมินมูลค่าความ
เสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท และภัยพิบัติครั้งนี้มีมูลค่าความเสียหายมากที่สุดเป็นอันดับสี่
ของโลก

ชดุ วชิ าการเรียนรูส้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 37

นา้ ท่วมภายในวดั ไชยวัฒนาราม จ.พระนครศรอี ยุธยา

ภาพถ่ายดาวเทยี ม แสดงมวลนา้ เขา้ ทว่ มทา่ อากาศยานดอนเมอื งและบริเวณใกล้เคยี ง กรุงเทพฯ
วนั ท่ี 31 ตุลาคม 2554

ชดุ วิชาการเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ 1 - 38

เรือ่ งท่ี 4 แนวทางการปอ้ งกนั และการแกไ้ ขปญั หาผลกระทบท่ีเกิดจากอทุ กภัย

อุทกภัยหรือภัยจากน้าท่วม นับเป็นภัยใกล้ตัวที่อาจเกิดขึ้นได้ในทุกพ้ืนท่ี ทุกเวลา
โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงฤดูฝน เม่ือเกิดอุทกภัยครั้งใดย่อมส่งผลต่อความเสียหาย ทั้งทรัพย์สิน
อาคารบา้ นเรอื น รวมทงั้ ชวี ติ ของประชาชน ดังนน้ั การเรยี นรู้เพือ่ เตรียมรับมือกับอุทกภยั ทั้งการ
เตรียมความพร้อมก่อนเกิดอุทกภัย การปฏิบัติขณะเกิดอุทกภัยและหลังการเกิดอุทกภัย
เพอื่ ควบคุมหรอื ลดอันตรายและความเสียหายทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดความเสียหายนอ้ ยท่ีสุด
จงึ มีความสาคญั และจาเป็นอยา่ งยง่ิ โดยมแี นวทางปอ้ งกนั ดังนี้

4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรบั สถานการณก์ ารเกดิ อทุ กภยั
เม่ือเกิดน้าท่วม จะมหี นว่ ยงานสาหรบั เตอื นภัย โดยมีการเตือนภัย 4 ประเภท คอื

ประเภท ความหมาย ระดับการปฏบิ ตั ิ
1. การเฝา้ ระวงั นา้ ท่วม มีความเปน็ ไปได้ทจี่ ะเกิดน้าท่วม ต้องตดิ ตามข่าวสารอยา่ งใกลช้ ิด
(Flood Watch) และอยู่ในระหว่างสงั เกตการณ์
2. การเตือนภยั นา้ ท่วม เตอื นภัยจะเกิดนา้ ท่วม ควรเตรียมแผนและควรป้องกันนา้ ทว่ ม
(Flood Warning) บา้ นเรือนและทรัพย์สินของตนเอง
3. การเตือนภยั นาทว่ ม การเตอื นภยั น้าทว่ มรุนแรง เตรยี มอพยพ นาสมั ภาระที่จาเปน็ ตดิ ตัว
รนุ แรง (Severe Flood เกิดนา้ ทว่ มอยา่ งรุนแรง และอยา่ นาไปมากเกนิ ไป ให้คิดวา่ ชวี ิต
Warning) สาคัญทสี่ ุด ตดั ไฟฟา้ ปิดบา้ นให้
เหตกุ ารณ์กลับสู่ภาวะปกติ หรือ เรียบร้อย
4. ภาวะปกติ เป็นพื้นที่ไม่ไดร้ บั ผลกระทบ สามารถกลับเขา้ ส่บู า้ นเรอื น
(All Clear) จากภาวะน้าทว่ ม ของตนเองได้

หลังจากได้รับการเตอื นภัยจากหน่วยงานดา้ นเตอื นภยั น้าทว่ มแลว้ ส่งิ ท่ตี ้องรบี ดาเนนิ การ คือ
4.1.1 ติดตามการประกาศเตอื นภัยจากสถานีวิทยุท้องถิ่น โทรทัศน์ หรือรถฉุกเฉิน

อย่างตอ่ เน่ือง
4.1.2 ถ้ามีการเตือนภัยนา้ ท่วมฉับพลัน และอยใู่ นพ้ืนทีห่ ุบเขาให้ปฏิบัติ ดงั นี้
1) ปนี ขึน้ ทสี่ งู ให้เรว็ ท่สี ดุ เทา่ ทจี่ ะทาได้
2) อย่านาสมั ภาระติดตัวไปมาก ให้คดิ ว่าชวี ติ สาคญั ท่สี ดุ

ชดุ วิชาการเรยี นรสู้ ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 39

3) อยา่ พยายามว่ิงหรอื ขบั รถผ่านบริเวณทางนา้ หลาก
4.1.3 ถ้ามีการเตือนการเฝ้าระวังน้าท่วม ยังพอมีเวลาในการเตรียมแผนรับมือ
นา้ ทว่ ม
4.1.4 ดาเนินการตามแผนรับมอื นา้ ทว่ มทว่ี างไว้
4.1.5 ถ้ามกี ารเตือนภยั น้าทว่ มและอยใู่ นพื้นทีน่ า้ ท่วมถงึ ควรปฏิบัติ ดงั นี้

1) อุดปิดชอ่ งทอ่ นา้ ท้ิง อา่ งลา้ งจาน พน้ื หอ้ งนา้ และสุขภณั ฑ์ท่นี ้าสามารถ
ไหลเขา้ บ้านได้

2) ปิดอุปกรณเ์ คร่อื งใช้ไฟฟ้าและแก๊สถา้ จาเป็น
3) ล็อคประตบู ้าน อพยพขึน้ ท่สี งู หรอื สถานท่ีหลบภัยของหน่วยงานตา่ ง ๆ
4.1.6 หากบ้านพักอาศัยไม่ได้อยู่ในท่ีน้าท่วมถึง แต่อาจมีน้าท่วมในห้องใต้ดิน
ควรปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
1) ปิดอปุ กรณเ์ ครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ในห้องใตด้ นิ
2) ปิดแกส๊ หากคาดวา่ น้าจะทว่ มเตาแก๊ส
3) เคลื่อนย้ายสง่ิ ของมคี า่ ข้ึนช้นั บน
4) ห้ามอยใู่ นหอ้ งใต้ดนิ เมอ่ื มีน้าท่วมถึงบ้าน

การเตรียมความพร้อมของประชาชนท่ีอยู่ในบริเวณที่จะเกิดอุทกภัย นับว่ามี
ความสาคัญและจาเป็น เมอื่ ไดร้ บั สญั ญาณเตือนอทุ กภัย ควรตดิ ตามข่าวสารและปฏบิ ตั ิตนเมื่อเกิด
เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ได้แก่

1) เชื่อฟังคาเตอื นอย่างเครง่ ครดั เพ่ือติดตามข่าวสารทางราชการ
2) เคลื่อนย้ายคน สัตว์เล้ียง และส่ิงของไปอยู่ในท่ีสูง ให้พ้นระดับน้าท่ีเคย
ทว่ มมาก่อน
3) ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง หรือแพไม้ไว้ใช้ เพื่อเป็นยานพาหนะในขณะ
นา้ ทว่ มเปน็ เวลานาน
4) เตรยี มไฟฉาย ถ่านไฟฉาย เทยี นไข และไม้ขีดไฟ ไวใ้ ชเ้ ม่ือไฟฟา้ ดับ
5) เตรียมวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉาย เพื่อติดตามฟังรายงานข่าวของลักษณะ
อากาศ จากกรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา
6) เตรียมโทรศัพท์มือถือ พร้อมแบตเตอร่ีสารองให้พร้อม เพื่อติดต่อ
ขอความช่วยเหลือ

ชดุ วิชาการเรียนร้สู ภู้ ยั ธรรมชาติ 1 - 40


Click to View FlipBook Version