The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จุดประกายสู่เถ้าแก่ออนไลน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

จุดประกายสู่เถ้าแก่ออนไลน์

จุดประกายสู่เถ้าแก่ออนไลน์

ETDA : e-Commerce Pocket Series

สจ.ู่..ดเุ ถป้าแรกะก่ออายนไลน์

เสน้ ทางของเถา้ แกย่ คุ ใหม่
สธู่ รุ กจิ ออนไลนท์ มี่ าแรง
ในยคุ ดจิ ทิ ลั ไมย่ ากอยา่ งทคี่ ดิ
คณุ กท็ ำ� ไดแ้ คร่ วู้ ธิ ี



สจ.ู่..ดเุ ถป้าแรกะก่ออายนไลน์

1 ใน ETDA e-Commerce Pocket Series
เราปน้ั หนังสือเล่มน้ีเพอื่ “เถ้าแกย่ คุ ไอที นกั ธุรกิจหนา้ ใหม่ SMEs/OTOP”

เลขมาตรฐานสากลประจำ� หนงั สือ ISBN 978-616-91910-7-0
สงวนลิขสทิ ธ์ิหนังสอื เล่มนี้ ตามพระราชบัญญัติลิขสทิ ธิ์ 2527
ห้ามคดั ลอกเน้ือหา ภาพประกอบกอ่ นได้รับอนุญาต
รวมทั้งดัดแปลงเป็นแถบบนั ทกึ เสียง วิดีโอ โทรทัศน์ และสอื่ อนื่ ๆ
พมิ พค์ รัง้ แรก : กนั ยายน 2557
สร้างสรรค์โดย
ส�ำนกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
อาคารเดอะไนท์ ทาวเวอร์ เลขที่ 33/4 ตกึ B ช้นั 21
ถนนพระรามเก้า แขวงหว้ ยขวาง เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ 10310
โทรศพั ท์ 0-2123-1234 โทรสาร 0-2123-1200
www.etda.or.th

สุรางคณา วายุภาพ อรณุ รุ่ง ธรี ะศักด์ิ สรสชิ เนตรนิล
ผอ.สพธอ. ผอู้ ำ� นวยการ ผ้ชู ่วยผู้อำ� นวยการ
ส�ำนกั ส่งเสริมธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สำ� นกั สง่ เสรมิ ธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์

พายพั ขาวเหลือง ปรญิ ญา สวุ รรณชนิ กลุ ทศพร โขมพตั ร

ผูจ้ ดั การ ผจู้ ดั การ Creative Content
ทมี e-Marketing ทมี พฒั นาธรุ กจิ ทมี กราฟกิ

รว่ มแรงกนั ทำ�

ก�ำหนดทศิ ทาง & แนะนำ� สุรางคณา วายุภาพ (แอน)
กำ� กบั ดูแล อรณุ รุ่ง ธรี ะศกั ดิ์ (เอ)
สรสิช เนตรนิล (กอลฟ์ )
สรรคส์ ร้างเน้อื หา พายพั ขาวเหลอื ง (ตมั้ )
ปริญญา สวุ รรณชินกลุ (เก่ง)
ทศพร โขมพัตร (โจ)
ดปู ระเดน็ กฎหมาย พิชญลกั ษณ์ คำ� ทองสกุ (หย)ี
ดูแลกราฟกิ ณฐั พงศ์ วรพิวฒุ ิ (เอ)
นภดล อษุ ณบญุ ศิริ (เฟรม)
ณฐั นยั รวดเรว็ (ฮอลล์)

ค�ำน�ำ

ทุกวันนี้ “มนุษย์เงินเดือน” จ�ำนวนมากอยากท่ีจะหลุดพ้น
จากกรอบพนั ธนาการอนั ซำ้� ซาก และกา้ วไปสอู่ สิ รภาพของชวี ติ ดว้ ยการ
มีธุรกิจเป็นของตนเอง แต่ใช่ว่าทุกคนจะท�ำได้เสมอไปเพราะการลงทุน
คอื “ความเส่ยี ง” ไหนจะคา่ เชา่ ที่ คา่ จ้างพนกั งาน ค่าน้�ำ คา่ ไฟ ตน้ ทนุ
สนิ คา้ และอีกจิปาถะ

แล้ว “ต้องทำ� อย่างไรจึงจะลดความเสีย่ งเหล่านี้ลงได?้ ”

e-Commerce...หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ

การคา้ ขายสนิ คา้ และบรกิ ารทางออนไลนเ์ ปน็ หนงึ่ ในคำ� ตอบสดุ ทา้ ยท่ี
ใครหลายคนอาจอยากลองทำ� กนั ดสู กั ตง้ั ดงั เชน่ เถา้ แกอ่ อนไลนร์ นุ่ ใหม่
ที่นำ� มาแชรป์ ระสบการณเ์ ล่าสู่กันฟังในหนงั สือเลม่ น้ี

“จุดประกาย สู่...เถ้าแก่ออนไลน์ e-Commerce
StartUP!” เปน็ 1 ใน 3 ของหนงั สือชดุ ETDA e-Commerce Pocket Series

ภายใตโ้ ครงการเพมิ่ ศกั ยภาพการทำ� ธรุ กรรมออนไลนเ์ นน้ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการ SMEs/OTOP
ของส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ
ETDA (เอ็ทด้า) ท่ีจัดท�ำขึ้นเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจด้านอีคอมเมิร์ซ ความส�ำคัญ
ของการมีมาตรฐาน (Standard) และความม่ันคงปลอดภัย (Security) เพื่อให้ผู้ท่ีสนใจ
โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs ท้ังกลุ่มท่ีท�ำอยู่แล้วและกลุ่มที่คิดจะเริ่มต้น
ได้น�ำไปเป็นแนวทางเข้าสู่ระบบการค้าออนไลน์ท่ีสามารถเพ่ิมยอดขายหรือสร้างรายได้
ให้แก่ธุรกิจได้มากขึ้น หรือแม้แต่นักศึกษาท่ีต้องการประกอบอาชีพอิสระ ก็สามารถ
น�ำไปประกอบธุรกิจของตนเองได้ ซ่ึงทั้งหมดนี้จะช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่ประเทศมากข้ึน
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การเปดิ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ในปี 2558 ซงึ่ จะทำ� ใหผ้ ปู้ ระกอบการ
มีโอกาสขยายฐานลูกค้าได้เพ่ิมขึ้นถึง 600 ล้านคน หากสามารถแสวงหาโอกาสจาก
ช่องทางออนไลน์นี้

หนงั สอื เล่มนนี้ อกจากจะนำ� เสนอตัวอยา่ งแหง่ ความส�ำเรจ็ ของเถา้ แก่ออนไลนผ์ ้ใู ช้
ชอ่ งทางอคี อมเมริ ซ์ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลแลว้ ยงั เลา่ ถงึ ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั อคี อมเมริ ซ์
เพอื่ ปพู น้ื ฐานความเขา้ ใจในหลกั การทถี่ กู ตอ้ ง วธิ กี ารทำ� ทเ่ี หมาะสมกบั สนิ คา้ /บรกิ ารของตน
การสอื่ สารการตลาดออนไลนเ์ พอ่ื เพม่ิ ยอดขายและทำ� ใหธ้ รุ กจิ เปน็ ทรี่ จู้ กั ในวงกวา้ ง อกี ทงั้
ยงั สอดแทรกเรอื่ งจรรยาบรรณของพอ่ คา้ แมข่ ายออนไลน์ เพอื่ ใหธ้ รุ กจิ ประสบความสำ� เรจ็
ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื อกี ดว้ ย นบั เปน็ เรอ่ื งราวสำ� คญั ของการใชช้ อ่ งทางอคี อมเมริ ซ์ ในการสรา้ งธรุ กจิ
สำ� หรับเถ้าแก่ยคุ ไอทรี ุน่ ใหม่นัน่ เอง

สุรางคณา วายภุ าพ

ผู้อ�ำนวยการ
ส�ำนักงานพฒั นาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์

(องคก์ ารมหาชน)

Contents 8
12
บทท่ี 1 : อคี อมเมิรซ์ …สำ� เรจ็ ไดด้ ้วยมือเรา 16
1.1 LomoKen.com…ธุรกจิ กลอ้ งโลโม่ เรียนด้วยก็รวยได ้ 19
1.2 nauschadaporn.tarad.com…ชุดลิเกก็ยงั ขายออนไลนไ์ ด้ 21
1.3 jehjong.com…เจจ๊ งหมทู อดทวติ เตอร ์
1.4 Jekmeng-noodle.com...การตลาดออนไลน์กับรา้ นก๋วยเต๋ียว
ไมน่ า่ เชือ่ แต่กเ็ ปน็ ไปแล้ว

บทที่ 2 : อีคอมเมิรซ์ ...ฝนั ให้ไกลไปใหถ้ งึ 24
2.1 รจู้ ักมักจ่ี “อคี อมเมริ ซ์ ” 27
2.2 ลัดเลาะแวดวงอคี อมเมริ ซ์ ไทย 31
2.3 พลิกเกมการตลาดผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ 33

บทท่ี 3 : ธรุ กจิ รุ่งถ้ามุง่ ...อคี อมเมิร์ซ 36
3.1 องคป์ ระกอบของอคี อมเมริ ซ์ 39
3.2 Start UP! อีคอมเมริ ์ซ...ง่ายนิดเดยี ว 42
3.3 โมบายคอมเมิรซ์ ...เทรนด์รงุ่ พงุ่ แรง 52
3.4 คุยเฟ่อื งเรอื่ งภาษอี คี อมเมริ ์ซ 55

บทท่ี 4 : เคล็ด (ไม่) ลบั ...การตลาดออนไลน์ 58
4.1 รเู้ รา…สเต็ปเทพวางแผนการตลาดออนไลน ์ 61
4.2 รู้เขา...ศกึ ษาค่แู ข่งออนไลน์ท�ำได้แค่คลกิ 76
4.3 รูร้ อบ…เทคนิคคา้ ขายออนไลน ์ 79
4.4 รมู้ ้ยั ? เอสเอม็ อกี โ็ กอินเตอรไ์ ด้ 90
92
บทท่ี 5 : อคี อมเมริ ซ์ กบั ยุคเว็บ 3.0 95
5.1 วิธีการสื่อสารใหส้ ินคา้ นา่ บอกต่อ 96
5.2 โหนกระแสส่ือสสู่ าธารณะ 97
5.3 จุดประกายคิดธรุ กจิ ใหม ่ 99
5.4 ใสใ่ จลกู คา้ ตลอดเวลา 100
102
บทท่ี 6 : จรรยาบรรณเถ้าแก่ออนไลน์ 105
6.1 ข้อมลู ลกู คา้ …รกั ษายง่ิ ชีพ 106
6.2 ทรพั ยส์ ินทางปัญญา…สมบตั ิล�้ำค่าท่ตี อ้ งรักษา 109
6.3 กลโกงออนไลน…์ รหู้ ลบเปน็ หลกี 111
6.4 ภยั คุกคามไซเบอร์…รรู้ อดกม็ ัน่ คงปลอดภัย 112

เสน้ ทางสู.่ ..เถ้าแก่ออนไลน์ e-Commerce StartUP!
เกย่ี วกับ ETDA

Contents

พฤติกรรมผู้บริโภค

เปล่ียนไปแลว้

วทิ ยา หงส์พทิ ักษพ์ งศ์

หนุ่มมาดกวน มงุ่ มัน่ ผลักดนั e-Commerce @ ETDA

อีคอมเมริ ซ์ ...
ส�ำเรจ็ ไดด้ ้วยมอื เรา

01

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ SUCCESS STORIES

1.1 LomoKen.com…
ธุรกจิ กล้องโลโม่ เรียนดว้ ยก็รวยได้

1.2 nauschadaporn.tarad.com…
ชุดลิเกก็ยงั ขายออนไลนไ์ ด้

1.3 jehjong.com…เจ๊จงหมูทอดทวิตเตอร์
1.4 Jekmeng-noodle.com...

การตลาดออนไลนก์ ับรา้ นก๋วยเตี๋ยว ไม่นา่ เชื่อ
แต่กเ็ ปน็ ไปแล้ว

10

...เสยี งนาฬิกาปลุก ผา่ นสมาร์ตโฟน บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา

ที่ตั้งเวลาไว้ดังขึ้นเป็นจังหวะ เพื่อบอกให้เจ้าของลุกข้ึน
จากท่นี อนนุ่มๆ ผา้ ห่มอันแสนอบอนุ่ และพร้อมเรมิ่ ตน้
สู่การท�ำงานวันใหม่ แต่แล้ว! ก็เอ้ือมมือกดปิดโทรศัพท์
และคลมุ โปงนอนตอ่ *_*

นคี่ งเปน็ อาการทว่ั ไปของเหลา่ มดงาน ทต่ี อ้ งตนื่ แตเ่ ชา้ ฝา่ รถตดิ
ไปทำ� งาน มเี วลาพกั กลางวนั ครง้ั ละ 1 ชวั่ โมง กลบั มาทำ� งานตอ่ เพอื่ รอ
เวลากลบั บา้ นไปพบกบั ครอบครวั อนั เปน็ ทรี่ กั ในตอนเยน็ จะมเี วลาบา้ ง
กเ็ ฉพาะวนั หยดุ เสาร-์ อาทติ ย์ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ทำ� ใหไ้ มแ่ ปลกเลย
ทผี่ คู้ นเหลา่ นมี้ กั ปรารถนาอยา่ งแรงกลา้ ทจ่ี ะหลดุ พน้ จากพนั ธนาการนี้
และก้าวขา้ มไปสูอ่ ิสรภาพของชีวิตด้วยการมีธุรกจิ เปน็ ของตนเอง

แต่นัน่ กใ็ ช่ว่าทกุ คนจะทำ� ได้เสมอไป...

เพราะการลงทนุ คอื ความเสี่ยง ไหนจะค่าเช่าท่ี คา่ จ้างพนักงาน คา่ น�ำ้ ค่าไฟ
ตน้ ทนุ สนิ ค้า และอีกจปิ าถะ คำ� ถามตอ่ มาคอื …

ต้องท�ำอยา่ งไรจงึ จะลดความเส่ียงเหล่านีล้ งได?้

“e-Commerce” จึงเป็นหน่งึ ในค�ำตอบสุดท้ายที่ใครหลายคนอาจอยาก
จะลองท�ำกันดูสักต้ัง ดังเช่นเจ้าของธุรกิจตัวอย่างที่น�ำมาเล่าสู่กันฟัง ก็เป็นผู้มี
ความสามารถในการใชช้ อ่ งทางนไ้ี ปสคู่ วามสำ� เรจ็ ลองมาตดิ ตามเรอ่ื งราวทตี่ น่ื เตน้
ของพวกเขาเหลา่ น้ีเพือ่ จุดประกายไอเดยี ใหม่ๆ กนั ไดจ้ ากบรรทัดน้เี ป็นตน้ ไป

11

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ 1.1 LomoKen.com...
ธรุ กจิ กล้องโลโม่ เรยี นด้วยก็รวยได้

“การทำ� การคา้ ออนไลน์ไมต่ อ้ งคิดหนกั เลยคะ่ เพราะแทบไม่มคี วามเสี่ยงเลย
แคม่ คี วามต้ังใจและทำ� ในส่ิงที่ชอบ รับรองว่าประสบความส�ำเร็จไดไ้ มย่ าก

มคี นอกี มากทคี่ ดิ จะท�ำการค้าออนไลน์ หากเริม่ วันน้ีกจ็ ะนำ� คนอน่ื หน่ึงก้าวเสมอ”
คุณกรณิกา จิตรประมทุ เจา้ ของเวบ็ ไซต์ LomoKen.com

นักธุรกิจท่ีประสบความส�ำเร็จทุกคนมีส่ิงหน่ึงที่เหมือนกันคือ ความกล้าท่ีจะ
เร่ิมต้น ยิ่งเร่ิมต้นได้เร็วเท่าไหร่โอกาสท่ีผู้คนจะจดจ�ำและรับรู้ในส่ิงท่ีท�ำก็ย่ิงเพิ่มมากข้ึน
เท่าน้ัน โดยเฉพาะทุกวันน้ีที่อินเทอร์เน็ตได้มีบทบาทในธุรกิจอย่างมาก เนื่องจาก
เป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและรวดเร็วที่สุด หากต้องการประสบความส�ำเร็จ
จำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความกลา้ ทจี่ ะเรม่ิ ตน้ เพราะถา้ มวั แตค่ ดิ วา่ “เดยี๋ วจะทำ� ” อยา่ งไรกไ็ มส่ ำ� เรจ็
อยู่ดี เพราะระหว่างคำ� วา่ “เดีย๋ วจะทำ� ” กบั “ลงมือทำ� ” ย่อมให้ผลลัพธท์ ตี่ า่ งกันสิน้ เชงิ
เหมอื นกับตัวอยา่ งของผู้กลา้ ท่กี ้าวเข้ามาในวงการ e-Commerce ท้ังๆ ทีย่ งั เปน็ แค่
นสิ ติ นกั ศกึ ษา แตก่ ็สามารถสรา้ งรายได้ช่วยเหลือครอบครัว และประสบความส�ำเรจ็
ในการสรา้ งธรุ กจิ ท่ตี ัวเองรกั

12

คณุ กรณิกา จติ รประมุท หรอื คุณเอม ศิษยเ์ กา่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจ้าของธุรกิจกล้องโลโม่ ท่ีเร่ิมจากการสั่งซ้ือกล้องทาง
ออนไลน์มาใช้เองในวิชาที่เรียน เล่าว่า “ตอนปี 3 มีโอกาสได้เรียนวิชาถ่ายภาพ
ล้างฟิล์ม จึงหาซ้ือกล้องฟิล์มเพื่อใช้ในการเรียน ตอนน้ันเพ่ือนๆ ใช้กล้องโลโม่กัน
ก็ไม่ค่อยรู้จัก จึงลองหาข้อมูลตามเว็บไซต์ต่างๆ และได้เจอร้านขายกล้องโลโม่
บนอนิ เทอร์เนต็ จึงลองซื้อมาใช้ดู 1 ตัว หลงั จากน้ันกเ็ ริ่มสนใจเขา้ ดเู ว็บไซต์ทกุ วัน
เพื่อมองหากล้องตัวที่ 2 วันหนึ่งมีคนน�ำกล้องโลโม่มาขายแบบลดราคา แบบว่า
ถกู มากๆ แค่ 2 ตวั เท่าน้นั กเ็ ลยเหมามาหมด แลว้ น�ำมาขายต่อบนเว็บไซต์ ลองไป
โพสต์ตามกระทู้ต่างๆ ไม่ถึงอาทิตย์ก็ขายได้หมด มีลูกค้าทั้งจากกรุงเทพฯ และ
ตา่ งจงั หวดั จากนนั้ กเ็ รม่ิ นำ� เขา้ กลอ้ งโลโมจ่ ากตา่ งประเทศ และลงมอื เปดิ รา้ นคา้ ออนไลน์
อย่างจริงจังภายใตเ้ วบ็ ไซตท์ ชี่ ือ่ www.LomoKen.com”

e-Commerce เปน็ การทำ� ธรุ กจิ ทใ่ี ชเ้ งนิ ลงทนุ นอ้ ย แตส่ ามารถเปดิ รา้ น
ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ดว้ ยความท่ีคณุ เอมยังเป็นนิสติ อยใู่ นขณะนั้น ท�ำใหไ้ ม่มเี วลา
และมที นุ ไมม่ ากนกั จงึ ตดั สนิ ใจใชส้ อื่ ออนไลนเ์ ปน็ ชอ่ งทางเขา้ ถงึ ลกู คา้ “ตอนนนั้ ยงั
เรยี นอยเู่ ลยไมม่ เี วลาทจ่ี ะเปดิ หนา้ รา้ น รา้ นคา้ ออนไลนจ์ งึ เปน็ อกี ทางเลอื กทเ่ี หมาะ
กับเราที่ไม่ค่อยมีเวลาและมีเงินลงทุนไม่มาก ตอนลองขายคร้ังแรกก็มีลูกค้า
ต่างจังหวัดด้วย มันก็เป็นข้อดีเพราะลูกค้าทั่วประเทศ
จะสั่งซ้ือสินค้าจากร้านค้าเราได้ แล้วร้านก็เปิดได้
24 ชว่ั โมง ลกู คา้ จะเขา้ ถงึ รา้ นเราไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา
แต่เราไม่ตอ้ งเฝ้ารา้ นอยู่ตลอดเวลา”

13

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ เมอ่ื เปดิ รา้ นคา้ ออนไลนใ์ หมๆ่ เปน็ ธรรมดาทยี่ อดขายยงั มไี มม่ าก เพราะลกู คา้
ยังไม่เช่ือมั่น แต่คุณเอมก็มีวิธีท่ีท�ำให้ลูกค้าเช่ือถือได้อย่างรวดเร็ว “ยอมรับเลยว่า
ช่วงแรกยอดขายยังไม่มาก ร้านเรายังใหม่ลูกค้ายังไม่วางใจเรา กลัวว่าจะโดนโกงบ้าง
หรือสินค้าไม่ได้คุณภาพบ้าง ก็พยายามสร้างความน่าเชื่อถือโดยเอาใจใส่ลูกค้า
ตอบอีเมลเรว็ อพั เดตรา้ นทกุ วนั ท�ำให้ลกู คา้ รู้สึกเชื่อถอื และตัดสินใจซ้อื สินคา้ กับรา้ น
ย่ิงมีผลตอบรับดี ยอดขายกเ็ พม่ิ ขึน้ เร่ือยๆ ท�ำใหร้ า้ นเราเป็นท่รี ู้จกั กนั มากขึ้นค่ะ”

ในธุรกิจทุกประเภทต้องมีส่วนท่ียาก
แต่คุณเอมก็ผ่านจุดน้ีไปได้ด้วยความตั้งใจ
“ส่วนที่ยากส�ำหรับการขายของออนไลน์คือ
จะทำ� อยา่ งไรใหค้ นเขาเชอ่ื ใจและไวใ้ จเรา ใหเ้ ขา
ม่ันใจได้ว่าสั่งสินค้ากับเราได้ของแน่ๆ ไม่มีการ
โกง เพราะต้องยอมรับว่าคนไทยจ�ำนวนมาก
ยังไม่ไว้ใจและไม่คุ้นเคยกับการซื้อสินค้าแบบ
ออนไลน์ ส�ำหรับงานสว่ นอืน่ ๆ เป็นสิง่ ท่ีไมย่ าก
แต่ต้องอาศัยความอดทนและต้ังใจกับร้านค้า
ออนไลนข์ องเราคะ่ ”

หวั ใจสำ� คญั ทเี่ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ แหง่ ความ
ไว้วางใจคือ “การส่งมอบสินค้า” คุณเอมได้
แก้ปัญหาอย่างตรงจุด แถมยังช่วยสร้างความ
ไว้วางใจให้แก่ลูกค้าเก่าและใหม่โดย “ก่อนส่ง
สินค้า ทางร้านจะแจ้ง Tracking Number
ไว้ท่ีหน้าเว็บบอร์ดทุกคร้ัง เพ่ือให้ลูกค้าเข้ามา
ตรวจสอบสถานะการจัดส่งสินค้าของตัวเองได้
และยังท�ำให้ลูกค้าใหม่ที่จะตัดสินใจซื้อสินค้า
พอเข้ามาเหน็ ตรงจุดน้ี กร็ ู้สกึ ว่าเราโปร่งใสและ
ซื่อสัตย์ ทำ� ให้ตัดสนิ ใจซ้ือได้ง่ายข้ึน”

14

คุณเอมได้ฝากถึงผู้ที่คิดอยากท�ำร้านค้าออนไลน์แต่ บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา
ยงั ไมไ่ ดล้ งมอื ท�ำวา่ “สำ� หรับผูท้ ก่ี �ำลงั คิดจะท�ำการคา้ ออนไลน์
ไม่ต้องคิดหนักค่ะ การท�ำการค้าออนไลน์ไม่ต้องคิดหนักเลย
ค่ะ เพราะแทบไม่มีความเส่ียงเลย แค่มีความตั้งใจและท�ำ
ในสง่ิ ทช่ี อบ รบั รองวา่ ประสบความสำ� เรจ็ ไดไ้ มย่ าก มคี นอกี มาก
ที่คิดจะท�ำการค้าออนไลน์ หากเร่ิมวันนี้ก็จะน�ำคนอ่ืนหนึ่ง
ก้าวเสมอ”

ด้วยความรักในส่ิงท่ีท�ำและกล้าท่ีจะเริ่มต้นกับ
สง่ิ ใหม่ ทำ� ใหว้ นั นส้ี าวนอ้ ยตวั เลก็ ๆ ทไ่ี มเ่ ลก็ ในวงการคา้ ขาย
ออนไลน์อีกต่อไป เมื่อผลตอบแทนที่เธอได้รับไม่ใช่เพียงแค่
ยอดขาย แต่เป็นรายได้ที่น�ำมาช่วยเหลือครอบครัวและ
สรา้ งชือ่ เสียงมาใหก้ ับเธอต้ังแตอ่ ายุยงั น้อย

15

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ 1.2 nauschadaporn.tarad.com...
ชุดลเิ กกย็ งั ขายออนไลน์ได้

ย้อนกลับไปหลายปีก่อนท่ีเมืองโคราช
คณุ ณฐั ชฎาภรณ์ เนาวว์ ฒั น์ หรอื ปา้ ซม้ิ ซง่ึ จบเพยี ง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กับสามีที่มีอาชีพรับตัดชุด
การแสดงชดุ นกั รอ้ งชดุ หางเครอื่ งหรอื แมแ้ ตช่ ดุ ลเิ ก…
ในเวลาน้ันมีแค่จักรเย็บผ้าเพียงตัวเดียว คอยเที่ยว
เดนิ เรข่ ายชดุ การแสดงตามโรงเรยี นตา่ งๆ และรบั งาน
ตัดชุดการแสดงจากร้านค้าต่างๆ อีกที หากร้าน
เหลา่ นนั้ มงี านทลี่ น้ หรอื ทำ� ไมท่ นั ณ เวลานนั้ เรยี กไดว้ า่
เป็นอาชีพท่ีไม่ได้ท�ำเงินอะไรมากนัก และมีรายได้
ไม่พอใชจ้ ่าย จนกระทง่ั เมื่อปี 2550 สามีของป้าซ้ิม
เร่ิมมีโอกาสรู้จักกับการขายสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต
และได้น�ำชุดการแสดงไปโชว์ใน nauschadaporn.tarad.com โดยในช่วงแรกๆ มีคน
ส่ังซื้อทลี ะชุดสองชุด ซง่ึ เป็นลกู ค้าจากจังหวดั ลำ� ปาง ป้าซ้มิ กบั สามกี ็ดใี จมากแล้ว

16

หลังจากนั้นก็เร่ิมมีลูกค้าติดต่อผ่านหน้าเว็บไซต์เข้ามามากขึ้น บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา
เรื่อยๆ โดยส่วนใหญ่จะเห็นภาพชุดการแสดงของป้าซ้ิมจากเว็บไซต์
และราคาค่าชดุ ทคี่ ่อนข้างถูกมากเพยี งแค่ 400 บาทต่อชดุ และลูกคา้
บางส่วนก็โทร.มาหาป้าโดยตรง บ้างก็มีการน�ำภาพชุดการแสดงท่ี
ต้องการให้ป้าตัดโพสต์ลงในเว็บบอร์ดเพ่ือให้ตีราคา ซึ่งป้าก็ตอบลูกค้า
ผา่ นทางเวบ็ บอรด์ และอเี มล หากลกู คา้ พอใจในราคาซง่ึ สว่ นใหญก่ พ็ อใจมาก
เพราะชุดการแสดงของป้าราคาถูกจริงๆ ลูกค้าก็จะโอนเงินให้ และป้า
กจ็ ะเริม่ ตัดชดุ ตามแบบที่ลูกค้าแจ้งมา และส่งไปใหท้ างไปรษณยี ์

หลังจากเปิดหน้าเว็บไซต์มาเพียงไม่กี่เดือน ลูกค้าก็เพ่ิมมากขึ้น
รายไดก้ เ็ พม่ิ ขน้ึ ตามมา จนตอนนม้ี ลี กู คา้ เกอื บทกุ จงั หวดั ทเ่ี คยสงั่ ซอ้ื ไปแลว้
ผ่านอินเทอร์เน็ต รวมถึงยังมีลูกค้าที่เป็นคนไทยในต่างประเทศ เช่น
สวีเดน เยอรมนี หรือแม้แต่บาห์เรน ตดิ ต่อส่งั ซื้อชุดการแสดงของป้าซมิ้
ผา่ นเวบ็ ไซตอ์ ีกดว้ ย

ป้าซ้ิมเล่าว่า “ส่ิงที่ลูกค้าประทับใจในการบริการคือ ความ
ซื่อสัตย์และตรงเวลา” และลูกค้าหลายๆ คนมักจะเขียนชมป้าใน
เวบ็ บอรด์ ทำ� ใหล้ กู คา้ ใหมๆ่ ทเ่ี หน็ คำ� ชมเกดิ ความมน่ั ใจในการใชบ้ รกิ าร
ตดั ชดุ การแสดงของปา้ ซมิ้ ทนั ที ปา้ ซมิ้ เลา่ ตอ่ วา่ “ยงั เคยมลี กู คา้ จากเวบ็ ไซต์
โอนเงนิ มาให้เป็นตัวเลขหลายหลกั โดยที่ไมเ่ คยเห็นหนา้ กันมากอ่ นเลย”

17

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ แตเ่ ชือ่ หรอื ไม่ ปา้ ซม้ิ ไมเ่ คยใชค้ อมพวิ เตอร์ เปดิ กย็ ังไมเ่ ปน็ แตป่ ้าสามารถ
ใชเ้ วบ็ ไซตข์ ายสนิ คา้ ออกไปทวั่ โลกไดอ้ ยา่ งไร เบอื้ งหลงั กค็ อื ปา้ ใหส้ ามสี รา้ งเวบ็ ไซต์
ให้สามีพิมพ์ตอบเว็บบอร์ดและอีเมลทุกฉบับ โดยป้าน่ังตอบอยู่ข้างๆ ช่างเป็น
สามที ี่นา่ รักจรงิ ๆ

สงิ่ ทท่ี ำ� ใหป้ า้ ซมิ้ ประสบความสำ� เรจ็ ได้ เกดิ จาก...

(1) มีเว็บไซต์เป็นของตนเองในการน�ำเสนอข้อมูลสินค้าให้
คนทัว่ ประเทศและท่ัวโลกดูได้

(2) ใช้ Google ในค�ำค้นหาวา่ “ชุดลิเก” “ชดุ การแสดง” ได้
ทำ� ใหม้ คี นเข้ามาท่ีเวบ็ ไซตเ์ ป็นจำ� นวนมาก

(3) พูดถึงกันในโลกอินเทอร์เน็ตมากมายส่วนใหญ่เป็นค�ำชม
ท�ำให้คนกล้าและมั่นใจในการส่ังสินค้าทางเว็บไซต์ของป้า
มากข้นึ

(4) มีราคาชุดที่ถูกถึงถูกมากๆ จนท�ำให้คนพูดถึงและบอกต่อ
เพอื่ นๆ และคนรอบข้าง

จากตวั อยา่ งการทำ� e-Commerce ของ
ปา้ ซมิ้ ทำ� ใหร้ วู้ า่ แมเ้ ราจะใชค้ อมพวิ เตอรไ์ มค่ ลอ่ ง
แต่ก็ไม่ใช่ข้ออ้างหรือข้อจ�ำกัดว่าจะไม่ประสบ
ความส�ำเร็จในการค้าขายออนไลน์ ความกลา้ ใน
การทดลองและเรมิ่ ตน้ สง่ิ ใหมต่ า่ งหาก จะชว่ ยให้
เราพบกบั ความส�ำเรจ็ ได้อย่างไม่ยากเลย

18

1.3 jehjong.com... บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา
เจจ๊ งหมทู อดทวติ เตอร์
19
ร้านหมูทอดเจ๊จง

เปน็ รา้ นขายอาหารในลกั ษณะ SMEs
ท่ีประยุกต์ใช้ Social Network
เชน่ Facebook, Twitter จนประสบ
ความส�ำเร็จ นอกจากจะมีหมูทอด
ที่รสชาติอร่อยแล้ว ยังมีบริการ
“เติมข้าวฟรีไม่อั้น”เพื่อเอาใจลูกค้า
ทสี่ ำ� คญั คอื ราคาถกู มากเมอ่ื เทยี บกบั
ร้านอ่ืนๆ จากราคาเริ่มต้นส�ำหรับ
ขายเปน็ ถงุ เปน็ ขา้ วสวยพรอ้ มหมทู อด
เพยี ง 17 บาทเท่านนั้

กลยุทธ์ฟรีไม่อั้นของเจ๊จงอาจจะดูเหมือนไม่มีก�ำไร หรือท�ำก�ำไร

ไดน้ อ้ ย แตห่ ากลองคดิ ดดู ๆี จะพบวา่ ลกู คา้ เหลา่ นจี้ ะมาอดุ หนนุ เจจ๊ งแทบทกุ วนั และ
ยงั บอกตอ่ ๆ กนั ไปในเรอื่ งของรสชาตดิ แี ละความคมุ้ คา่ จงึ ไมต่ อ้ งแปลกใจวา่ หากเราไป
ที่ร้านเจ๊จงจะพบว่ามีลูกค้ามาต่อคิวยาวเหยียด เพื่อซ้ืออาหารทั้งกินในร้านและ
กลบั ไปกนิ ทบี่ า้ น กำ� ไรทคี่ ดิ วา่ นอ้ ยจงึ ไมน่ อ้ ยอกี ตอ่ ไป เนอื่ งจากลกู คา้ ซอ้ื ซำ้� อยา่ งสมำ่� เสมอ

แม้มีลูกค้าเยอะอยู่แล้ว เจ๊จงก็ไม่หยุดคิดพัฒนากลยุทธ์การขาย โดยเพิ่ม
บริการส่งถึงท่ี (เดลเิ วอร)่ี โดยเฉพาะกบั ลกู ค้าท่สี ง่ั อาหารเป็นจำ� นวนมาก ต้องการ

ความคุ้มค่า รวมถึงรสชาติท่ีอร่อยเหมือนมากินที่ร้าน
หรือการขยายพ้ืนที่ร้านเพื่อรองรับลูกค้าทั้งกลุ่มเดิม
และกลมุ่ ใหมใ่ หส้ ามารถนงั่ ในรา้ นไดม้ ากขนึ้ จะเหน็ ไดว้ า่
เจ๊จงได้ใช้เทคนิคทางการตลาดอย่างเต็มที่แม้ไม่เคย
ได้ศึกษาอย่างจริงจัง แต่เรียกได้ว่าเจ๊จงมีสายเลือด
แหง่ ความเป็นผู้ประกอบการขนานแทเ้ ลยทีเดยี ว

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ธรุ กจิ ของเจจ๊ งเปน็ ธรุ กจิ ทเ่ี รยี กไดว้ า่ ออฟไลนข์ นานแท้ แตก่ ารเปน็ แมค่ า้
ทม่ี จี ติ วญิ ญาณของผปู้ ระกอบการอยเู่ ตม็ เปย่ี ม ทำ� ใหเ้ จจ๊ งเปดิ ตวั เองดว้ ยการออก
รายการ SME ตแี ตก เพือ่ เสนอความคดิ ความอ่านของตัวเอง และใหผ้ ู้ที่มคี วามรู้
ช่วยวิเคราะห์ธุรกิจของตนให้ก้าวหน้าข้ึน ไม่เพียงเท่านั้น เจ๊จงยังก้าวเข้าสู่
โลกไซเบอร์ด้วยการสร้างเว็บไซต์ www.jehjong.com ที่ท�ำแบบง่ายๆ
ใช้เวลาไม่มาก ภายใต้โครงการธุรกิจไทยโกออนไลน์ ท�ำให้เว็บไซต์เป็นที่รู้จัก
อย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา รวมไปถึงการเปิดตัวเข้าสู่โลกแห่งโซเชียลมีเดีย
อย่าง www.facebook.com/JehJong และ www.twitter.com/jehjong

การตอ่ ยอดการตลาดในโซเชยี ลมเี ดยี นท้ี ำ� ใหเ้ จจ๊ งสามารถเขา้ ถงึ ลกู คา้
ท้ังแบบออฟไลน์และออนไลน์ เรียกได้ว่าเจ๊จงได้ใช้เทคนิคการท�ำ Social
Commerce อย่างเต็มท่ี กระทั่งปัจจุบันน้ีไม่มีใครท่ีไม่รู้จัก “เจ๊จงหมูทอด
ทวิตเตอร”์ อกี แลว้

20

1.4 Jekmeng-noodle.com...
การตลาดออนไลนก์ ับรา้ นกว๋ ยเตี๋ยว
ไม่นา่ เชื่อแต่กเ็ ปน็ ไปแล้ว

นายธรี ศานต์ สหสั สพาศน์ หรือคณุ ไอซ์
เจ้าของธรุ กิจกว๋ ยเตี๋ยวเจ๊กเมง้
กว๋ ยเตยี๋ วเนอ้ื ต้นตำ� รบั เพชรบรุ ี
ภายใตส้ โลแกนรา้ นเก๋ๆ วา่ “หนา้ ไมง่ อ รอไมน่ าน”

เจก๊ เม้งมาแลว้ จ้า...

“ร้านก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง” เป็นร้านเก่าแก่กว่า 50 ปี ในเมืองเพชรบุรี
ตง้ั อยบู่ รเิ วณหนา้ ถนนเขาวงั เปน็ รา้ นขายกว๋ ยเตย๋ี วและอาหารหลายอยา่ ง จดุ เดน่ คอื
มีการน�ำเอาสื่อออนไลน์ทุกรูปแบบมาใช้ในการโปรโมตไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์
www.jekmeng-noodle.com, Facebook, Twitter, Mobile, E-mail
หรอื แม้แต่ QR-Code…ไมธ่ รรมดาเลยใชไ่ หมละ่

บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา

ชอ่ งทางใหบ้ รกิ ารออนไลน์ “รา้ นเจก๊ เม้ง” 21

ร้านก๋วยเตี๋ยวกับ ทีวีที่แสดงภาพอาหาร
“การตลาดเชงิ รุก”

เมอ่ื เขา้ มานง่ั ในรา้ นภายในจะเปดิ ทวี ซี ง่ึ มวี ดิ โี อ
เพลงทันสมัยมีโลโก้ร้านเจ๊กเม้งอยู่ด้านล่างไว้ตลอด
พร้อมกับมีภาพรายการอาหารจากเมนูของเจ๊กเม้ง
เพื่อให้คนในร้านน่ังดูและสามารถเห็นรายการอาหาร
อื่นๆ เพิ่มเติมเป็นการกระตุ้นและส่ือสารกับลูกค้า
อยตู่ ลอดเวลา

เชือ่ มความสมั พันธก์ บั ลกู คา้ อย่างยอดเยีย่ ม

เม่ือทานอาหารเสร็จแล้วจะมีแบบสอบถามว่าลูกค้าทานอาหารแล้วเป็นอย่างไรบ้าง
รจู้ กั รา้ นจากชอ่ งทางไหน และสง่ิ ประทบั ใจในรา้ นเจก๊ เมง้ รวมถงึ มกี ารขอขอ้ มลู ลกู คา้ เอาไวด้ ว้ ย
เช่น ท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล ซึ่งเป็นข้อมูลส�ำคัญที่ท�ำให้ร้านสามารถ “สื่อสารกลับไปหา
ลูกค้าอีกคร้ัง” ได้อย่างสะดวกและง่ายดาย นอกจากนี้ ทางร้านยังท�ำเอกสารแผ่นพับขนาด
ใหญ่ (มาก) แจกลกู คา้ ทุกคน ในแผ่นพบั จะมเี มนูอาหารข้อมลู ข่าวสารของรา้ นพรอ้ มชอ่ งทาง
การตดิ ตอ่ ทน่ี า่ ประทบั ใจคอื หลงั จากทล่ี กู คา้ ออกจากรา้ นมาแลว้ จะมกี ารสง่ SMS ไปทมี่ อื ถอื
ลกู ค้าเพื่อแทนค�ำขอบคุณ

ใบปลิวเอกสารแจกลกู คา้ เจ้าของร้านสง่ SMS ขอบคุณลกู คา้

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์

22 แบบสอบถามความพึงพอใจ อลั บั้มรูปลูกค้าตง้ั โชวใ์ นร้าน
พร้อมขอข้อมูลลูกค้า

และหากลกู คา้ กลบั ถงึ บา้ นแลว้ มภี าพถา่ ยทร่ี า้ นเจก๊ เมง้ กส็ ามารถสง่ ภาพใหร้ า้ น
ทางอีเมลเพื่อพิมพ์ภาพมาใส่ในอัลบ้ัมและวางโชว์อยู่ภายในร้าน นับได้ว่าเป็นกลยุทธ์
ท่ีสรา้ งการบอกต่อ และทำ� ให้ลกู คา้ รสู้ ึกเปน็ กันเอง มสี ว่ นร่วมกับร้านอีกดว้ ย

อัลบมั้ รูปลูกค้าแบบออฟไลน์ อัลบมั้ รปู ลูกค้าแบบออนไลน์ผ่านเฟซบกุ๊

จากการสื่อสารง่ายๆ ทั้งหมดที่บอกมา เป็นเคร่ืองมือที่คนไทยส่วนใหญ่นิยม บทท่ี 1 อคี อมเมริ ์ซ...สำ� เรจ็ ได้ดว้ ยมือเรา
ใช้กัน แต่ความเจ๋งของคุณไอซ์ คือสามารถน�ำมาประยุกต์กับธุรกิจของครอบครัวได้
เจง๋ เปง้ ไปเลย! ทกุ ทา่ นกอ็ าจเปน็ อกี คนทใ่ี ชส้ อื่ อนิ เทอรเ์ นต็ อยแู่ ลว้ อยา่ งพวก Facebook,
Twitter และ “หลายๆ คนก็อาจจะใช้เวลาอยูก่ ับพวกเครือ่ งมือเหลา่ น้ี โดยไมเ่ กดิ
ประโยชน์กับตัวเองหรือธุรกิจ” ลองหันมามองดูตัวอย่างของร้านก๋วยเต๋ียวเจ๊กเม้ง
ท่ีคุณไอซ์เด็กหนุ่มคนหน่ึงเขาก็ใช้สิ่งเหล่านี้เหมือนกัน แต่สามารถประยุกต์ใช้
เพ่ิมรายได้ และมลู คา่ ใหก้ บั ธุรกจิ ของครอบครวั ได้อยา่ งยอดเยี่ยม

เม่ืออ่านมาถึงบรรทัดน้ีแล้วเชื่อว่าคงได้ไอเดียอะไรบางอย่าง ทีนี้ก็ถึงตาคุณ
แลว้ ละ่ ว่า “จะนำ� เอาเทคโนโลยตี ่างๆ ทีพ่ วกเราใช้อยูใ่ นปัจจุบนั มาประยุกตก์ ับธุรกิจ
ของตนเองได้อยา่ งไร?” ให้เวลาคิด 10 วินาทีแลว้ ค่อยอา่ นบรรทดั ถดั ไป

10...9...8...7...6...5...4...3...2...1...
(เอา้ ! อย่ามวั แตอ่ ่านสิ ใหค้ ิดไมไ่ ดใ้ หอ้ า่ นนะจ๊ะ)
คดิ ๆๆๆๆ เพราะหากไม่คิดเร่อื งราวเหลา่ นจ้ี ะไม่เกิดประโยชนก์ บั ตวั คณุ เลย!

ส�ำหรับคนท่ีคดิ ไดแ้ ลว้ จะขอบอกวา่ ขั้นตอนท่ยี ากและทา้ ทา้ ยทีส่ ดุ กค็ ือ “การ 23
ลงมอื ทำ� มนั จรงิ ๆ” ดงั นน้ั อยา่ มวั คดิ ใหป้ กั ลงไปเลยวา่ จะเรมิ่ ตน้ ทำ� มนั วนั ไหน? หรอื ถา้
งา่ ยทสี่ ดุ “กท็ ำ� มนั ซะเลยสเิ ดยี๋ วน”ี้ จะรอใหค้ นอน่ื นำ� สงิ่ ทเ่ี ราคดิ ไปทำ� กอ่ นหรอื อยา่ งไร

...ลงมือท�ำเลย!

1 ใน 8 คูแ่ ตง่ งานในอเมริกาพบกันทางอินเทอรเ์ น็ต
106 พันล้าน การค้นหาผา่ นทางกเู กลิ ทุกเดือนเทียบกับปี 2006 แค่ 2.7 พนั ลา้ น
เฟซบุ๊กมีสมาชิก 1,000 ลา้ นคน
เทียบได้กบั ประเทศใหญ่อนั ดบั 3 ของโลก รองจากจีนและอนิ เดีย
จำ�นวนปีทสี่ ่อื เข้าถึงคนได้ 50 ลา้ นคน วทิ ยุ 38 ปี ทวี ี 13 ปี
อินเทอรเ์ นต็ 4 ปี ไอพอด 3 ปี และเฟซบุ๊กเพยี ง 2 ปี
จำ�นวนอปุ กรณ์ที่ตอ่ อินเทอร์เน็ตแต่ละปคี ือ ปี 1984 จำ�นวน 1,000 ช้นิ
ปี 1992 จำ�นวน 1,000,000 ช้นิ ปี 2008 สงู ถงึ 1,000,000,000 ชน้ิ

ทราบหรอื ไม ่ วา่ ...

วิทยา หงส์พิทักษ์พงศ์

กบั ทุกวนั บนโลกออนไลน์ @ ETDA

อคี อมเมิรซ์ ...
ฝนั ใหไ้ กลไปให้ถึง

02

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ทุกวันน้ีโลกออนไลน์ได้รับการพัฒนาไปมาก
ท�ำให้มีบทบาทมากข้ึนกับหลายๆ กลุ่มผู้ใช้ ส�ำหรับ
ผ้ทู ำ� ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม หรือ SMEs กไ็ ด้
รับประโยชน์จากการพัฒนาขึ้นมาของเทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตนี้ เนื่องจากผู้ประกอบการสามารถใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์สินค้า
และธรุ กจิ รวมทง้ั การคา้ ขายกบั ลกู คา้ ผา่ นทางเครอื ขา่ ย
อนิ เทอรเ์ น็ตทเี่ รียกวา่ “e-Commerce”

e-Commerce หรือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ

การขายของออนไลนซ์ ง่ึ เปน็ แนวทางการทำ� ธรุ กจิ ยคุ ใหมท่ สี่ รา้ งโอกาสแหง่ ความสำ� เรจ็
อย่างมาก โดยเฉพาะส�ำหรับธุรกิจ SMEs อย่างกลุ่มแม่บ้านท่ีท�ำสินค้าหัตถกรรม
ตามหมู่บ้านห่างไกล แม้สินค้าเหล่าน้ันจะสวยงามและมีคุณภาพขนาดไหน ก็เป็น
เร่ืองยากท่ีจะน�ำสินค้าไปให้ถึงกลุ่มลูกค้าไกลๆ ได้ คงจะมีแต่ผู้ที่แวะเวียนมายังท่ี
หมบู่ า้ นเทา่ นัน้ แต่ถา้ หากกลุ่มแมบ่ ้านนั้นมคี วามรู้ในการขายของออนไลน์ กจ็ ะ
สามารถน�ำสินค้าเหล่านั้นไปยังกลุ่มลูกค้าได้ท่ัวโลก และลูกค้าก็สามารถสั่งซื้อ
สนิ คา้ ไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลาผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ จงึ ถอื ไดว้ า่ การขายของออนไลนน์ นั้
มีคณุ ประโยชน์กับทง้ั ผซู้ อ้ื และผู้ขายเลยทีเดยี ว

26

2.1 รจู้ ักมักจ่ี “อคี อมเมริ ซ์ ” บทที่ 2 อคี อมเมริ ซ์ ...ฝนั ใหไ้ กลไปใหถ้ งึ

“e-Commerce” คือการท�ำธุรกิจผ่านช่องทาง
ระบบอินเทอร์เน็ต และด้วยการพัฒนาของระบบอินเทอร์เน็ตน้ีเอง ท�ำให้

ผู้ประกอบการสามารถท�ำธุรกิจได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการขายสินค้าปกติ หรือ
สนิ คา้ และบรกิ ารแบบสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ยา่ งการขาย e-Book ปจั จบุ นั น้ี e-Commerce
ในไทยกำ� ลงั เจรญิ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผซู้ อื้ สว่ นใหญห่ นั มาใหค้ วามสนใจกบั การซอื้ ขาย
ออนไลน์มากข้ึนด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น ความสะดวกสบายในการซื้อ การที่สามารถ
เข้าถงึ รายละเอียดสินคา้ ไดง้ า่ ย ร้านค้าออนไลนม์ กั จะมสี ินค้าใหเ้ ลือกครบถ้วน ทำ� ให้
ไม่ต้องเดนิ ทางออกไปนอกบ้านด้วยตนเอง

ยอ้ นไปเมอื่ ปี พ.ศ. 2513 e-Commerce ไดเ้ กิดขึน้ คร้ังแรกบนโลกหลงั จากที่
เรมิ่ ใชร้ ะบบโอนเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื อเี อฟที (Electronic Fund Transfer : EFT)
ซึ่งในขณะน้ันมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่าน้ันท่ีใช้งานระบบ EFT
ต่อมาอกี ไม่นานกเ็ กดิ ระบบการส่งเอกสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื อดี ไี อ (Electronic
Data Interchange : EDI) ซงึ่ ช่วยขยายการสง่ ข้อมลู จากเดมิ ที่เปน็ ข้อมูลทางการเงิน
อยา่ งเดยี วเปน็ การสง่ ขอ้ มลู แบบอนื่ เพม่ิ ขน้ึ เชน่ การสง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งสถาบนั การเงนิ กบั
ผผู้ ลติ หรอื ผคู้ า้ สง่ กบั ผคู้ า้ ปลกี หลงั จากนนั้ กม็ รี ะบบสอื่ สาร รวมถงึ โปรแกรมอนื่ ๆ เกดิ ขนึ้
มากมาย ต้ังแต่ระบบท่ีใช้ในการซื้อขายหุ้น เรื่อยไปจนถึงระบบที่ช่วยในการส�ำรอง
ทพ่ี กั ทำ� ใหร้ ปู แบบของธรุ กจิ ทสี่ ามารถซอื้ ขายผา่ นชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ จี ำ� นวนมากขน้ึ
และเม่ือยุคของอินเทอร์เน็ตมาถึงในปี พ.ศ. 2533 จ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตก็เพิ่มข้ึน
อยา่ งรวดเรว็ e-Commerce ผ่านชอ่ งทางอนิ เทอร์เนต็ กไ็ ดเ้ กดิ ขนึ้

27

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ เหตุผลหนงึ่ ทที่ �ำให้ e-Commerce เตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ คอื โปรแกรมสนบั สนนุ
การค้าอิเล็กทรอนิกส์ได้พัฒนาขึ้นมามากมาย เช่น ระบบการช�ำระเงินผ่านช่องทาง
อิเล็กทรอนกิ ส์ การสอ่ื สารในรปู แบบภาพเคล่ือนไหว ภาพน่ิงท่ีมีคุณภาพสูง รวมถงึ ระบบ
เครือข่ายท่ีมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นด้วย จนกระท่ังช่วงปี พ.ศ.2537–2548 ก็ถือได้ว่า
ระบบ e-Commerce เป็นที่ยอมรับและไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งมากและรวดเรว็ เห็นไดจ้ าก
การที่มีบริษัทต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา หันมาท�ำธุรกิจผ่าน e-Commerce อย่างมากมาย
และเร่มิ ขยายออกไปยงั ประเทศอืน่ ๆ ท่วั โลกจนถึงทกุ วันน้ี

สำ� หรบั ในประเทศไทย จำ� นวนผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั ในสว่ นการใช้
อีเมล การค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ท�ำให้ธุรกิจต่างๆ มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์
เว็บไซต์ของตนเองมากขึ้น การพัฒนาระบบอีคอมเมิร์ซถือเป็นการเปิดตลาดไปสู่ผู้ซื้อ
หลายลา้ นคนทว่ั โลก ดว้ ยเหตนุ ี้ ทำ� ใหผ้ ทู้ ำ� ธรุ กจิ ในไทยตอ้ งเตรยี มการเพอื่ ทจี่ ะแขง่ ขนั กบั
ประเทศอน่ื ๆ โดยสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 5 ประเภทตามรปู แบบของกลมุ่ หรอื องคก์ รทที่ ำ� การ
ซ้ือขายระหว่างกัน ไดแ้ ก่

1. การค้าขายออนไลน์ระหว่างผู้ขายกับผู้ซ้ือทั่วไป หรือบีทูซี (Business-to-
Consumer : B-to-C) คอื ประเภททผ่ี ซู้ อื้ ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ในการซอ้ื สนิ คา้ จากธรุ กจิ
ทด่ี ำ� เนนิ กิจการซอ้ื ขายบนอนิ เทอร์เนต็

2. การคา้ ขายออนไลนร์ ะหวา่ งผู้ขายด้วยกัน หรอื บีทบู ี (Business-to-Business :
B-to-B) คือ ประเภทที่ผู้ประกอบการธุรกิจติดต่อซ้ือขายสินค้าระหว่างกันผ่าน
ระบบอินเทอร์เนต็

3. การค้าขายออนไลน์ระหว่างผู้ขายกับรัฐบาล หรือบีทูจี (Business-to-
Government : B-to-G) คอื ประเภททผ่ี ปู้ ระกอบการตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงานราชการ
เพอ่ื ทำ� การซ้ือขายสินค้าผา่ นทางระบบอินเทอร์เนต็

4. การค้าขายออนไลน์ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล หรือจีทูจี (Government-to-
Government : G-to-G) คอื ประเภททหี่ นว่ ยงานรฐั บาลหนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหนงึ่
ติดต่อกับหน่วยงานรัฐบาลอีกหน่วยงานหนึ่งเพื่อท�ำการซื้อขายสินค้ากัน
ผา่ นทางระบบอินเทอร์เนต็

5. การคา้ ขายออนไลนร์ ะหวา่ งผซู้ อื้ กบั ผซู้ อ้ื หรอื ซที ซู ี (Consumer-to-Consumer :
C-to-C) คือ ประเภทท่ีผู้ซ้ือประกาศขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ตเพื่อท�ำการ
ขายสินค้าให้แก่ผู้ซ้ืออีกรายหนึ่ง เช่น การซื้อขายผ่าน www.ebay.com,
www.dealfish.com เปน็ ต้น

28

เนอื่ งจากองคป์ ระกอบของ e-Commerce
คือ ผู้ซื้อ ผู้ขาย และตัวสินค้า ดังน้ัน ปัจจัยที่
สง่ ผลให้ e-Commerce ประสบความสำ� เรจ็ คอื
การทผ่ี ซู้ อื้ สามารถเขา้ ถงึ สนิ คา้ ของผขู้ ายได้ และ
ผซู้ ้อื ตอ้ งไวว้ างใจผู้ขาย

การทำ� การตลาดเปน็ แนวทางหนง่ึ ทจี่ ะทำ� ใหผ้ ซู้ อื้ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู บทที่ 2 อคี อมเมริ ซ์ ...ฝนั ใหไ้ กลไปใหถ้ งึ
สินค้าของผู้ขายได้ ปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้การตลาดประสบผลสำ� เร็จคือ การ
กำ� หนดกลมุ่ เปา้ หมาย การคำ� นงึ ถงึ สภาวะแวดลอ้ มของตลาดสนิ คา้ และบรกิ าร
การประชาสมั พนั ธแ์ ละการสง่ เสรมิ การขาย การกำ� หนดราคา การสง่ มอบสนิ คา้
และเทคโนโลยีที่เหมาะสมส�ำหรับ e-Commerce นั้น การท�ำการตลาดท่ี
เหมาะสมควรเปน็ รปู แบบการตลาดออนไลน์ หรอื e-Marketing ซงึ่ เปน็ สว่ นผสม
แนวความคิดทางการตลาดและทางเทคนิครวมเข้าไว้ด้วยกัน ท้ังด้านการ
ออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การโฆษณาและการขาย
(Advertising and Sales) เปน็ ต้น

ตวั อยา่ งกจิ กรรมการตลาดออนไลน์ เชน่ Search Engine Marketing,
e-Mail Marketing, Affiliate Marketing, Viral Marketing เพอ่ื ทจี่ ะสรา้ ง
มูลค่าเพ่ิมให้แก่ธุรกิจและลูกค้า เน่ืองจากระบบทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถ
สนับสนุนการร้องขอข้อมูลของลูกค้า การจัดเก็บประวัติ และพฤติกรรม
ของลูกค้าเอาไว้ รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าได้ส่งผลต่อการเพ่ิม
และรักษาฐานลกู คา้ (Customer Acquisition and Retention) และอ�ำนวย
ประโยชนใ์ นการประกอบธุรกจิ อยา่ งครบถว้ น

29

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ความมนั่ ใจของผซู้ อื้ ตอ่ ผขู้ าย คอื การทผ่ี ซู้ อ้ื มน่ั ใจวา่ เมอ่ื ตนไดท้ ำ� การ

จ่ายค่าสินค้าแล้วจะต้องได้รับสินค้าในลักษณะและคุณภาพเดียวกันกับท่ีได้เห็นผ่านทาง
เว็บไซต์ รวมทั้งข้อมูลของผู้ซ้ือจะมีการน�ำไปใช้ตามความจ�ำเป็นตามวัตถุประสงค์เท่านั้น
ดงั นนั้ การทผี่ ซู้ อ้ื จะมคี วามมนั่ ใจไดน้ น้ั ขนึ้ อยกู่ บั ความมน่ั คงปลอดภยั ของระบบ และประวตั ิ
พฤตกิ รรมของผขู้ ายเปน็ หลกั การเสรมิ สรา้ งความมนั่ ใจตอ่ ผซู้ อ้ื นน้ั สามารถทำ� ไดโ้ ดยการ
พฒั นาเวบ็ ไซตโ์ ดยใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี สรมิ สรา้ งความมน่ั คงปลอดภยั รวมทง้ั การออกแบบ
เว็บไซต์ให้น่าสนใจและดึงดูดใจลูกค้า ท่ีส�ำคัญคือการด�ำเนินธุรกิจอย่างซื่อสัตย์และ
มธี รรมาภิบาล

จะเหน็ ไดว้ า่ การทำ� e-Commerce นนั้ มคี วามแตกตา่ งจากธรุ กจิ ทวั่ ไปในสว่ น
ทผี่ ซู้ อื้ และผขู้ ายไมไ่ ดพ้ บหนา้ กนั จรงิ ดงั นนั้ การจะประสบความสำ� เรจ็ ในชอ่ งทางนไี้ ด้
ก็คือการที่เราสามารถท�ำให้ผู้ซ้ือรู้สึกได้ว่า การซ้ือของผ่านอินเทอร์เน็ตน้ันไม่ต่างกับ
การซอื้ สนิ คา้ ทห่ี นา้ รา้ นจรงิ ผซู้ อื้ สามารถตดิ ตอ่ สอบถามและพดู คยุ กบั ผขู้ ายไดเ้ หมอื น
การพดู คุยที่หน้าร้านจริง ท�ำให้ผซู้ อื้ มน่ั ใจและพร้อมจะซ้ือสินค้า

30

2.2 ลดั เลาะแวดวง บทที่ 2 อคี อมเมริ ซ์ ...ฝนั ใหไ้ กลไปใหถ้ งึ
อคี อมเมริ ์ซไทย

จากการส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยปี 2557
ซึ่งจัดท�ำโดย ETDA หรือส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน) พบว่า การใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยน้ันเปลี่ยนไป
จากแต่ก่อนมาก โดยคนไทยมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตมากขึ้นถึงกว่า
รอ้ ยละ70และประมาณรอ้ ยละ10ใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ มากกวา่ 100ชวั่ โมง
ต่อสัปดาห์ นอกจากน้ี กว่าคร่ึงหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างเคยซื้อสินค้าและ
บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ตัวเลขนี้คงพอท�ำให้มองเห็นถึงอนาคตของ
การท�ำ e-Commerce ว่าจะได้รับความนิยมจากผู้ซ้ือเพ่ิมมากข้ึน
อย่างแน่นอน เน่ืองจากจุดเด่นท่ีส�ำคัญคือ การท่ีสามารถท�ำการ
ค้าขายได้ตลอดเวลา อีกท้ังลูกค้าก็ยังสามารถเลือกซื้อสินค้า
ได้ตลอดเวลาด้วยเช่นกัน โดยเม่ือท�ำการวิเคราะห์จุดแข็งและ
จุดอ่อน e-Commerce โดยใช้เทคนิค SWOT (Strength-
Weakness-Opportunity-Threat) สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี

31

Strength (จุดแข็ง) Weakness (จดุ ออ่ น)

• สามารถดำ� เนนิ ธรุ กจิ ได้ 24 ชวั่ โมงตลอด 7 วนั • การโตต้ อบระหว่างผู้ขายกับผ้ซู อื้ มนี อ้ ย
• สามารถดำ� เนนิ ธรุ กจิ ไดจ้ ากทกุ พ้ืนท่ี • ผซู้ ือ้ ไมส่ ามารถทดลองหรือสัมผสั สนิ คา้ จริงได้
• ผซู้ ือ้ สามารถเข้าถึงสนิ ค้าได้รวดเร็วและ • อัตราคา่ ขนสง่ สงู ในบางพ้นื ท่ี เชน่ การส่งสินคา้
มปี ระสทิ ธิภาพ ระหวา่ งประเทศ
• สามารถลดต้นทนุ ในการดำ� เนนิ ธรุ กิจได้
• สามารถลดจ�ำนวนพนกั งานลงไปได้ Threat (อุปสรรค)
• สามารถเริ่มตน้ ธรุ กจิ ได้ง่าย
• การตรวจสอบการด�ำเนินธุรกิจท�ำได้ยาก ท�ำให้
Opportunity (โอกาส) มีโอกาสที่ผู้ขายรวมทั้งผู้ซ้ืออาจจะท�ำธุรกรรม
อยา่ งไม่ซือ่ สตั ย์หรือผดิ กฎหมายได้
• จ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง โดย
จำ� นวนผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื ซอ้ื สนิ คา้ ในประเทศไทย
มถี ึง 10.2% ในปี พ.ศ. 2556
• เทคโนโลยีด้านความมั่นคงปลอดภัยมีการพัฒนา
ปรับปรุงดีข้ึนเรื่อยๆ ท�ำให้ลูกค้ามีความมั่นใจ
มากยง่ิ ขน้ึ
• ภาครัฐส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้งานอินเทอร์เน็ต
เช่น โครงการ Free-WiFi ท�ำให้ลูกค้าสามารถ
เขา้ ถงึ อนิ เทอร์เน็ตเพ่ือซือ้ สินค้าไดง้ ่ายขน้ึ

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ จากการวิเคราะห์ข้างต้น ท�ำให้เห็น
ไดว้ า่ e-Commerce ได้สรา้ งโอกาสแกผ่ ขู้ าย
รวมท้ังส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม
แต่ถ้าหากพิจารณาถึงจุดอ่อนแล้ว e-Commerce
กย็ งั มขี อ้ จำ� กดั ทสี่ ำ� คญั คอื การโตต้ อบระหวา่ งผซู้ อ้ื และผขู้ ายยงั มนี อ้ ยอยู่ ซงึ่ สว่ นใหญจ่ ะเปน็ การ
ท�ำธุรกิจในลักษณะที่ผู้ซ้ือเลือกซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์และจ่ายเงินผ่านอินเทอร์เน็ตโดยไม่มี
โอกาสไดแ้ สดงความคดิ เหน็ หรอื โตต้ อบกบั เจา้ ของรา้ นไดเ้ ลย ในทางตรงกนั ขา้ มเจา้ ของรา้ นเอง
กไ็ มส่ ามารถถามถงึ ความคดิ เหน็ ใดๆ ดว้ ย ดงั นนั้ แนวโนม้ การพฒั นาในอนาคตจะเปน็ การทำ�
e-Commerce ทผ่ี ซู้ อ้ื และผขู้ ายสามารถตดิ ตอ่ โตต้ อบกนั ได้ อยา่ งการทำ� e-Commerce
ผ่านโซเชียลเนต็ เวริ ์กตา่ งๆ ซึ่งช่วยเพิ่มโอกาสในการส่อื สารระหว่างผู้ซอ้ื และผขู้ าย และ
เพม่ิ โอกาสการตรวจสอบและรอ้ งเรยี นปญั หาจากผซู้ อ้ื ถงึ ผขู้ ายและผซู้ อ้ื คนอน่ื ๆ ดว้ ย ทำ� ให้
การท�ำ e-Commerce ในอนาคตจะตอ้ งไมม่ ีการคดโกงใดๆ เพ่อื ทผ่ี ู้ซือ้ จะชี้แจงและเผยแพร่
ข้อมลู ไปยังผูซ้ ้ือคนอน่ื ๆ ได้ง่ายขน้ึ

จะเห็นได้ว่าแนวโน้มการพัฒนาของ e-Commerce ในอนาคตจะต้องเกิดข้ึน
อย่างแน่นอน และจะเป็นการค้าขายที่มีการโต้ตอบมากขึ้น ซึ่งจะท�ำให้การซ้ือสินค้า
บนอนิ เทอร์เน็ตไมแ่ ตกตา่ งจากการซอื้ สนิ คา้ ทีม่ หี น้ารา้ นคา้ แต่อยา่ งใด

32

2.3 พลิกเกมการตลาด
ผา่ นช่องทางออนไลน์
แม้ว่าปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตของไทย
อาจยังไม่สามารถเข้าถึงได้จากทุกพื้นที่ แต่ด้วย
การสนับสนุนท่ีดีของหน่วยงานภาครัฐท�ำให้ระบบ
อินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาข้ึนเร่ือยๆ ส่งผลถึง
โอกาสในการเติบโตข้ึนของ e-Commerce ไทย
นอกจากการพฒั นาของระบบอนิ เทอรเ์ นต็ แลว้
สงั เกตสญั ลกั ษณ์ https เพือ่ เกิดความ การเกดิ ขน้ึ ของเทคโนโลยตี า่ งๆ กส็ ง่ ผลตอ่ โอกาสทดี่ ี
มน่ั ใจในการเขา้ รหสั ข้อมลู บนเว็บไซต์ ของการเตบิ โตและพฒั นาของe-Commerceเชน่ กนั

อยา่ งเชน่ การพฒั นาระบบ Digital Signature หรอื เทคโนโลยี SSL ทช่ี ว่ ยในการเขา้ รหสั ขอ้ มลู
อยา่ งมนั่ คงปลอดภยั ทำ� ใหไ้ มถ่ กู ขโมยขอ้ มลู โดยผไู้ มห่ วงั ดจี ากการทำ� ธรุ กรรมบนอนิ เทอรเ์ นต็
สง่ ผลตอ่ ความมน่ั ใจในการซอื้ ขายสนิ คา้ บนอนิ เทอรเ์ นต็ ของผซู้ อื้ ได้ และทำ� ใหจ้ ำ� นวนของผซู้ อ้ื
บนอินเทอรเ์ นต็ มากขึ้นตามไปดว้ ย
โซเชยี ลเน็ตเวิรก์ หรือสังคมออนไลน์เปน็ ชอ่ งทางหนงึ่ ทไี่ ดร้ ับการพัฒนาข้ึน
และเปน็ ทนี่ ยิ มจากผใู้ ชม้ หาศาล เพราะชว่ ยใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ในสง่ิ ทส่ี นใจรว่ มกนั ได้
เพราะทุกคนสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรอื ตง้ั คำ� ถามในเรอ่ื ง
ต่างๆ เพ่ือให้คนที่สนใจหรือมีค�ำตอบได้ช่วยกันตอบค�ำถามหรือเสนอความคิดเห็น ซ่ึงจาก
การสำ� รวจพฤตกิ รรมผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ของไทยปี 2556 โดย ETDA พบวา่ มากกวา่ รอ้ ยละ 20*
เคยใชโ้ ซเชยี ลเนต็ เวิรก์ ในการซอื้ สนิ คา้ ชใ้ี หเ้ หน็ ไดว้ า่ เปน็ ช่องทางสำ� คญั ทท่ี ำ� ใหผ้ ขู้ ายสามารถ
เข้าถงึ ผซู้ ื้อได้

พูดคุย แบ่งปนั ความรู้ 21.8 64.6 85.7 พฤติกรรมการใชโ้ ซเชียลเน็ตเวริ ก์ บทที่ 2 อคี อมเมริ ซ์ ...ฝนั ใหไ้ กลไปใหถ้ งึ
อัพเดตข้อมูลข่าวสาร 19.7 60.2 90 ของไทย พ.ศ. 2556
อพั โหลด แชรร์ ูปภาพ/วิดโี อ 3.6
60 70 80
ซอื้ สนิ ค้า/บรกิ าร 10 20 30 40 50
หาเพ่อื นใหม่/เก่า ร้อยละ

อืน่ ๆ

0

*อ้างอิงข้อมูลจากรายงานผลการส�ำรวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตใน 33
ประเทศไทย พ.ศ. 2556 โดยสำ� นกั งานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (องคก์ าร
มหาชน) หรอื สพธอ.

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ คุณสมบัติที่ดีของโซเชียลเน็ตเวิร์กนี้เอง ส่งผล
ต่อโอกาสอันดีของอีคอมเมิร์ซท้ังในส่วนของผู้ซ้ือและ
ผขู้ าย ผซู้ อ้ื สามารถใชช้ อ่ งทางนเี้ พอื่ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็
เกย่ี วกบั สินคา้ และบริการ รวมทัง้ พฤติกรรมของผู้ขาย ซง่ึ
ข้อมูลท่ีเกิดจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นน้ีจะส่งผลให้
ผซู้ อื้ สามารถตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คา้ ไดง้ า่ ยขน้ึ รวมทงั้ ยงั สามารถ
เพม่ิ ความม่ันใจใหแ้ กผ่ ู้ซอื้ ไดม้ ากข้นึ ด้วย ในสว่ นของผขู้ าย
สามารถใชโ้ ซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ เชน่ Facebook, Twitter หรอื
Instagram เพอื่ เปดิ ตลาดการคา้ ออนไลนไ์ ดท้ นั ที เนอ่ื งจาก
สามารถสมัครและใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีความรู้ทาง
ด้านอินเทอร์เน็ตมากนัก นับเป็นช่องทางส�ำคัญที่จะช่วย
ให้ผู้ประกอบการท่ีปกติท�ำธุรกิจแบบออฟไลน์ (Offline)
ไดเ้ ปดิ ตลาดออนไลนไ์ ด้ นอกจากน้ี การเกดิ ขนึ้ ของโซเชยี ล
เนต็ เวริ ก์ สง่ ผลใหส้ ามารถทำ� การตลาดในรปู แบบใหม่ หรอื
การตลาดยุค 3.0 หรือยุค Values-driven Marketing
ทม่ี งุ่ เนน้ การขบั เคลอื่ นดว้ ยคา่ นยิ ม ไมไ่ ดม้ องผซู้ อื้ เปน็ เปา้ นงิ่
ทถี่ กู ถาโถมดว้ ยสอ่ื การตลาด แตม่ องในฐานะคนทมี่ คี วามคดิ
จิตใจและจิตวิญญาณ ทั้งน้ีผู้ซื้อไม่เพียงเป็นฝ่ายตั้งรับ
ในการสื่อสารทางการตลาด แต่สามารถแสดงออกถึง
ความคิดเห็น (Two-Way Communication) ของตน
ตลอดจนมีส่วนร่วมไม้ร่วมมือด้วยจิตอาสาในการพัฒนา
สินค้าหรือบริการให้ตอบสนองความต้องการของตนให้ดี
ย่ิงข้ึน ซ่ึงมีความแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับยุคเว็บก่อนหน้า
ทเี่ ปน็ การสอื่ สารทางเดยี ว (One-Way Communication)

34

จดุ หลกั สำ� คญั ของการตลาดยคุ 3.0 นนั้ ผซู้ อ้ื ไมไ่ ดเ้ ปน็ บทที่ 2 อคี อมเมริ ซ์ ...ฝนั ใหไ้ กลไปใหถ้ งึ
เพยี งฝ่ายต้ังรบั แต่เพียงฝ่ายเดยี ว แต่สามารถสอ่ื สารโตต้ อบ
กลับไปยังผู้ขายรวมถึงการส่ือสารระหว่างผู้ซ้ือด้วยกันเอง
โซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ จงึ เปน็ เครอื่ งมอื สำ� คญั ของผซู้ อื้ ทจ่ี ะสะทอ้ นถงึ
ความตอ้ งการทแี่ ทจ้ รงิ ของตนรวมไปถงึ ลกึ เขา้ ไปถงึ จติ วญิ ญาณ
ทสี่ ง่ ผลใหร้ ะบบเศรษฐกจิ และสงั คมสามารถพฒั นาไปในทางที่
ดขี ึน้ ได้

การที่ผู้ซ้ือสามารถแสดงความคิดเห็นไปสู่สาธารณะโดย
โนม้ นา้ วความคดิ และความรสู้ กึ ของผซู้ อ้ื รายอน่ื ๆใหค้ ลอ้ ยตามกเ็ หมอื น
กับการท่ีเพื่อนแลกเปล่ียนประสบการณ์และให้ค�ำแนะน�ำกับเพื่อน
ซ่ึงส่งผลต่อความเชื่อและการตัดสินใจได้มากกว่าการท�ำการตลาด
ผ่านทางส่อื อืน่ ๆ เชน่ โทรทัศน์ วทิ ยุ หนังสอื พิมพ์ ดงั น้นั โซเชยี ล
เน็ตเวิร์กจึงเป็นเทคโนโลยีที่ท�ำให้ความเห็นของผู้ซ้ือแพร่หลาย
กว้างขวางและทรงพลังมากข้ึน ซึ่งผู้ขายสามารถน�ำความเห็น
เหล่านี้มาเป็นแนวทางในการท�ำการตลาด หรือวางแผนการท�ำ
ธุรกิจตอ่ ไป

35

การซือ้ ขายออนไลน์
จะเป็นวิธที ่ีนยิ มมากทีส่ ุด
พร้อมเปลี่ยนธุรกิจหนา้ ร้าน...
สู่อคี อมเมริ ซ์ เต็มรูปแบบหรือยัง?

สรสชิ เนตรนิล กัญญาณฐั เปรมแสง

หนมุ่ อารมณด์ ี เชยี่ วชาญโซเชยี ล เลขานุการ CEO สวย เกง่
พร้อมยกระดับธรุ กรรมออนไลน์ของประเทศ @ ETDA ทำ� อีคอมเมริ ์ซเป็นงานอดิเรก @ ETDA

ธุรอกจิ ีครุ่งอถ้ามมุง่ เ...มริ ์ซ
03

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ก่อนท่ีจะเริ่มต้นท�ำ e-Commerce ต้องเข้าใจถึง
องค์ประกอบตา่ งๆ ท่จี �ำเป็น เพื่อทีจ่ ะได้เตรียมความพรอ้ มส�ำหรบั
การทำ� ธรุ กจิ ตอ่ มาคอื การเขา้ ใจถงึ ขนั้ ตอนตา่ งๆ ในการดำ� เนนิ งาน
เพื่อจะไดว้ างแผนงานใหด้ ีกอ่ นที่จะเรมิ่ ต้นทำ� ธรุ กจิ ส่ิงสำ� คัญในการ
วางแผนงานคือ การท�ำความเข้าใจกับลูกค้าว่าลูกค้าต้องการอะไร
เพื่อหาวิธีการที่จะตอบสนองความต้องการด้วยการตั้งค�ำถาม 6
ข้อ (5W+1H) ซึ่งถ้าตอบค�ำถามทั้งหมดได้ และสามารถวางแผน
ประมาณการด้านรายได้ รายจ่าย และก�ำไรขาดทุนของธุรกิจ
ในแตล่ ะเดอื นและทงั้ ปอี อกมาได้แล้ว ข้อมลู ทง้ั หมดนจ้ี ะยง่ิ ช่วยให้
ตัดสินใจได้ว่า ธุรกิจอีคอมเมิร์ซท่ีเราจะเริ่มต้นมีความเป็นไปได้
มากน้อยแค่ไหน

38

3.1 องคป์ ระกอบของอคี อมเมิรซ์

หากมีการเตรียมพร้อมท่ีดีก็จะท�ำให้มีโอกาสได้รับผลประกอบการที่ดีเช่นกัน
สำ� หรบั องคป์ ระกอบท่ีจำ� เป็นสำ� หรับการท�ำอคี อมเมริ ซ์ มี ดงั นี้

เวบ็ ไซต์ (Website) หรอื รา้ นค้าออนไลน์ท่สี ามารถประกาศขายสินคา้ ได้
อาจเปน็ เพยี งหนา้ โฆษณาธรรมดาทไ่ี ปฝากไวก้ บั เวบ็ ไซตอ์ นื่ หรอื จะมเี วบ็ ไซตเ์ ปน็
ของตนเองกไ็ ด้ บางครง้ั จะเรยี กเวบ็ ไซตข์ องเราวา่ ระบบหนา้ รา้ น ซง่ึ ควรออกแบบ
ใหม้ คี วามนา่ สนใจและดงึ ดดู ใจแกผ่ เู้ ยย่ี มชม โดยอาจใชเ้ ทคนคิ เรยี กลกู คา้ งา่ ยๆ
จากการคดิ คำ� สำ� คญั ทโ่ี ดนใจลกู คา้ เชน่ “ลดราคา” หรอื “Sale” เปน็ ตน้ ตวั อยา่ ง
รปู ดา้ นลา่ ง (www.tohome.com) ใชค้ ำ� วา่ “Super Deals” เพอื่ เชญิ ชวนลกู คา้
อีกท้ังมีการแสดงรูปภาพสินค้าท่ีชัดเจนก็สามารถเรียกความสนใจได้ไม่น้อย
นอกจากน้ี หากสงั เกตทเี่ มนดู า้ นซา้ ยจะเหน็ วา่ มกี ารจดั แบง่ หมวดหมสู่ นิ คา้ อยา่ ง
ชดั เจน ทำ� ใหล้ กู คา้ สามารถคน้ หาสนิ คา้ ไดง้ า่ ย นบั เปน็ สง่ิ สำ� คญั อกี ประการหนงึ่
ทที่ ำ� ใหล้ กู คา้ เขา้ มาเลอื กซอื้ สนิ คา้ ไดบ้ อ่ ยขนึ้ เนอื่ งจากความสะดวกเหลา่ นนี้ น่ั เอง

Homepage ของ www.tohome.com บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์

39

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) เป็นระบบที่ให้ลูกค้าคลิก
เพือ่ ซอื้ สนิ คา้ บนหน้าเวบ็ ซงึ่ ระบบตะกรา้ สินคา้ จะบันทกึ ข้อมลู สนิ ค้า
และจ�ำนวนสินค้าท่ีเราเลือกทั้งหมดไว้ก่อนจะท�ำการจ่ายค่าสินค้า
เปรียบเหมือนตะกร้าจริงท่ีใช้ใส่สินค้าท้ังหมดท่ีเลือกในร้านก่อนจะ
จา่ ยค่าสินคา้ น่นั เอง

ระบบรักษาความม่ันคงปลอดภัยในการรับช�ำระเงิน เป็น
ระบบค�ำนวณเงินและจ่ายค่าสินค้าท่ีม่ันคงปลอดภัย โดยส่วนใหญ่
จะเป็นการรับจ่ายเงินด้วยบัตรเครดิต อย่างไรก็ตาม ควรจัดเตรียม
รปู แบบการรบั ชำ� ระเงนิ ทห่ี ลากหลายเพอ่ื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ
ของลูกค้าแต่ละกลุ่มเป้าหมาย เช่น การจ่ายเงินผ่านระบบธนาคาร
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การโอนเงนิ ผ่านตู้ ATM เปน็ ตน้
ระบบการจัดส่งสนิ คา้ เปน็ การจัดสง่ สนิ ค้าใหล้ กู ค้าหลงั ช�ำระเงิน
เรยี บรอ้ ยแลว้ ซง่ึ ควรจะใหข้ อ้ มลู ทคี่ รบถว้ นเพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มนั่ ใหแ้ ก่
ลกู คา้ ในการสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ วา่ จะไดร้ บั สนิ คา้ อยา่ งแนน่ อน เชน่ มรี ะบบท่ี
ชว่ ยใหล้ ูกคา้ ติดตามสถานะของสินคา้ วา่ อยทู่ ี่ใดแล้ว และจะสง่ ถึงมือ
ลูกค้าตรงเวลาหรอื ไม่

ระบบ Track & Trace ของไปรษณียไ์ ทย

40

ระบบรบั ประกนั ความเสยี่ ง เปน็ ระบบทช่ี ว่ ยสรา้ งความเชอ่ื มนั่ บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์
ให้แกล่ ูกค้า เชน่ ระบบส�ำรองขอ้ มูล ระบบรบั ประกนั ความมั่นคง
ปลอดภยั ในการจา่ ยเงนิ ซง่ึ สามารถปอ้ งกนั ผบู้ กุ รกุ ไมใ่ หเ้ ขา้ มาแกไ้ ข
หรอื ขโมยข้อมลู เพือ่ น�ำไปใช้ในทางทไ่ี ม่ถกู ต้อง
ซอฟตแ์ วรส์ ำ� หรบั ทำ� ธรุ กจิ หรอื ระบบหลงั รา้ นทท่ี ำ� การเชอื่ มตอ่
ใหค้ รบวงจร ทง้ั ระบบการจา่ ยเงนิ การจดั การสนิ คา้ คงคลงั การสงั่ ซอ้ื
สนิ คา้ และบรกิ าร ระบบการจดั สง่ เปน็ ตน้ เพอื่ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ
ธุรกจิ เชน่ รูไ้ ดท้ ันทีวา่ สินค้าในร้านมีจำ� นวนคงเหลือเทา่ ไร ควรจะ
สั่งเพ่ิมเติมหรือไม่ หรืออาจจะเป็นระบบท่ีช่วยให้ทราบถึงยอด
การส่ังซอ้ื สนิ คา้ ของลูกคา้ แตล่ ะราย รวมทัง้ สถานะการชำ� ระเงิน
โดยสรุปแล้ว องค์ประกอบส�ำคัญของการท�ำอีคอมเมิร์ซก็คือ
การมเี วบ็ ไซตท์ ม่ี กี ารออกแบบทด่ี แี ละเหมาะกบั สนิ คา้ ทข่ี าย โดยควรแสดง
ขอ้ มลู ทค่ี รบถว้ น ทง้ั ในสว่ นของการอธบิ ายรายละเอยี ดสนิ คา้ วธิ กี ารชำ� ระเงนิ
การจัดส่งและรับประกันสินค้า นอกจากน้ี ยังต้องมีระบบสารสนเทศ
เพอ่ื สนบั สนนุ การขาย เชน่ ระบบตะกรา้ สนิ คา้ เพอื่ ชว่ ยอำ� นวยความสะดวก
ในการเลือกสินค้า ระบบรับช�ำระเงินออนไลน์เพ่ืออ�ำนวยความสะดวก
ในการจา่ ยคา่ สนิ คา้ รวมทงั้ ระบบสารสนเทศอนื่ ๆ ทช่ี ว่ ยในการดำ� เนนิ ธรุ กจิ
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เชน่ ระบบตรวจสอบปรมิ าณสินค้าท่เี หลืออยู่ เป็นต้น

41

3.2 Start UP!
อีคอมเมิร์ซ...งา่ ยนดิ เดียว

หลังจากเข้าใจกับองคป์ ระกอบของอีคอมเมริ ์ซแล้ว ตอ่ ไปคอื การรูจ้ กั
ขัน้ ตอนส�ำคญั หากตอ้ งการจะเรมิ่ ตน้ ทำ� ธรุ กจิ อีคอมเมิร์ซ

รูจ้ ักกับโมเดล e-Commerce

ก่อนจะเร่ิมต้นท�ำ e-Commerce สิ่งแรกที่ควรท�ำความเข้าใจ คือ
รูปแบบโมเดลท่ีเหมาะสมกับธุรกิจซึ่งจะส่งผลต่อการออกแบบเว็บไซต์
ซึง่ มี 2 รปู แบบด้วยกัน คอื

1) คลกิ และมอร์ตา้ ร์ (Click and Mortar) คอื รูปแบบท่ีผสมผสานกัน
ระหว่างผู้ท่ีมีร้านค้าจริงและมีเว็บไซต์ เป็นอีกช่องทางในการขาย
โดยสามารถเชอ่ื มตอ่ การซอื้ ขายทง้ั สองชอ่ งทางดว้ ยกนั ลกู คา้ สามารถสงั่ ซอื้
สินคา้ ผา่ นเว็บไซตแ์ ละไปรบั สินค้าทีห่ น้าร้านได้ เชน่ บมจ.ออฟฟศิ เมท
ธุรกิจจ�ำหน่ายเครื่องใช้ส�ำนักงานใหญ่ที่สุดของไทย ใช้เว็บไซต์ชื่อ
www.officemate.co.th เป็นช่องทางให้ลูกค้าสั่งซื้อสินค้าได้อย่าง
สะดวกด้วยตวั เอง และทางรา้ นค้าจะจดั ส่งสินค้าไปให้ หรือจะซ้อื ผ่าน
Shop ตา่ งๆ ทก่ี ระจายอยทู่ ว่ั ประเทศ ถอื เปน็ การนำ� เวบ็ ไซตม์ าผสมผสาน
กับธุรกิจได้อย่างลงตัว ท�ำให้เกิดศักยภาพทางการค้าขายสูงข้ึน
จากเดิมมาก

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ สัง่ ซอื้ ผา่ นหนา้ ร้านคา้ ส่งั ซ้ือผา่ นเว็บไซต์

42

โมเดลคลกิ และมอรต์ า้ ร์ (Click and Mortar) เหมาะกบั ผทู้ มี่ ธี รุ กจิ บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์
การค้าเดิมอยู่แล้วและต้องการขยายช่องทางการค้าไปยังทั่วประเทศหรือ
ทว่ั โลกจดุ เดน่ คอื มคี วามชำ� นาญในธรุ กจิ นนั้ ๆอยกู่ อ่ นแลว้ ทำ� ใหก้ ารทำ� งานตา่ งๆ
รวดเรว็ การมฐี านลกู คา้ เดมิ อยทู่ ำ� ใหส้ ามารถเรมิ่ ตน้ จากกลมุ่ ลกู คา้ เดมิ ไดแ้ ละ
ขยายออกไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ รวมถงึ จะดนู า่ เชอ่ื ถอื และสรา้ งความมน่ั ใจใหแ้ ก่
ลกู คา้ ไดด้ ว้ ย เพราะมตี วั ตนและหลกั แหลง่ ทต่ี ดิ ตอ่ แนน่ อน แตก่ ม็ ขี อ้ จำ� กดั คอื
ผู้ที่ทำ� ไดจ้ ะต้องเปน็ ผทู้ ่ีมธี ุรกจิ อย่แู ล้วเทา่ น้ัน หากยังไม่มธี ุรกจิ และต้องการ
ท�ำในรูปแบบนี้จะต้องลงทุนสูงและยังจะต้องใช้คนเป็นจ�ำนวนมากในการ
บริหารจัดการระบบต่างๆ ท้งั หนา้ รา้ นคา้ และเว็บไซต์ การทำ� งานส่วนใหญ่
จะยึดติดกับระบบหน้าร้านค้า เช่น เปิดปิดเป็นเวลาจันทร์ถึงศุกร์ หาก
นอกเหนอื เวลานกี้ ็จะไม่มคี นมาคอยดแู ลลกู ค้า

2) คลกิ และคลกิ (Click and Click) เปน็ รปู แบบการคา้
ผา่ นเวบ็ ไซตเ์ พยี งชอ่ งทางเดยี วเทา่ นนั้ ไมม่ หี นา้ รา้ นคา้
จรงิ เมอื่ ลกู คา้ สงั่ ซอื้ สนิ คา้ ผา่ นเวบ็ ไซตก์ จ็ ะสง่ สนิ คา้ ให้
ตามท่ีอยู่ทแ่ี จ้งไว้ เช่น เวบ็ ไซต์ www.tohome.com
โดยโมเดลนี้เหมาะส�ำหรับผู้ที่ต้องการจะเริ่มต้นท�ำ
ธรุ กจิ ใหม่ มจี ดุ เดน่ คอื ลงทนุ นอ้ ยและสามารถเรมิ่ ตน้
ได้ทันที เพราะเพียงแค่มีเว็บไซต์ก็เร่ิมต้นท�ำการ
คา้ ขายไดแ้ ลว้ เปน็ รปู แบบการทำ� งานทอี่ สิ ระไมย่ ดึ ตดิ
กับรูปแบบบริษัท ท�ำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการ
บริหารจัดการ แต่ก็มีข้อจ�ำกัดคือ การเริ่มต้นได้ง่าย
และรวดเร็ว ท�ำให้บางคร้ังอาจขาดประสบการณ์
หรือความเข้าใจในธุรกิจท่ีท�ำอยู่รวมถึงการสร้างฐาน
ลกู คา้ ใหมท่ งั้ หมด ซงึ่ ตอ้ งอาศยั ระยะเวลาในการสรา้ ง
ความน่าเชอ่ื ถอื เพราะธรุ กจิ ทงั้ หมดอยบู่ นเว็บไซต์ ซ่ึง
บางคร้ังลูกค้าอาจไม่เชื่อมั่นที่จะท�ำการค้าขาย
กับธุรกิจท่ีมีเพียงเว็บไซต์เหมือนกับธุรกิจท่ีมีหน้า
รา้ นคา้ จรงิ ๆ

43

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ การวางกแ่อผนนท�ำ

-Commerce

ก่อนจะเริ่มต้นท�ำเว็บไซต์ e-Commerce ควรวางแผนให้ดีก่อน
สง่ิ สำ� คญั คอื ตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจกบั ลกู คา้ ซงึ่ จำ� เปน็ ตอ้ งรวู้ า่ ลกู คา้ ของเราตอ้ งการ
อะไร เพ่ือหาวิธีตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้มากท่ีสุด โดยพิจารณา
คำ� ถาม 6 ขอ้ (5W+1H) ดงั น้ี

(1) W-Who: ใครคอื ลกู ค้า

สิ่งแรกที่จะต้องก�ำหนดให้ได้คือ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของธุรกิจท่ีท�ำ เช่น
เพศ อายุ อาชพี ฐานเงนิ เดอื น พนื้ ที่ พฤตกิ รรม ขอ้ มลู เหลา่ นจ้ี ะชว่ ยใหร้ ะบกุ ลมุ่ ลกู คา้
เป้าหมายได้ชัดเจนเพื่อท่ีจะวางแผนการตลาดสร้างสินค้าหรือบริการท่ีสามารถ
ตอบสนองกับพฤติกรรมของกลุ่มคนเหลา่ น้ีไดอ้ ย่างลงตวั มากท่สี ุด
คิด...คดิ ...แลว้ ก็คดิ

• ลกู คา้ ของเรา “เพศ” อะไร
• ลูกค้าของเรา “อาย”ุ เทา่ ไหร่
• ลกู ค้าของเรา “อาชพี ” อะไร
• ลกู ค้าของเรา “ระดับรายได”้ เท่าไหร่
• ลกู ค้าของเรา “ระดับการศกึ ษา” เปน็ อย่างไร
• ลูกค้าของเรา “โสดหรอื แตง่ งาน”
• ลกู คา้ ของเรา “อย่ทู ไ่ี หน”
• ลูกค้าของเรา “พฤติกรรม” เปน็ อย่างไร

44

(2) W-What: อะไรคือสง่ิ ท่ีลกู คา้ ต้องการ

สิ่งถัดมาควรทราบว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบใดที่จะสามารถตอบสนอง
กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมากท่ีสุด เพราะลูกค้าบางกลุ่มอาจไม่ได้สนใจเรื่องราคาสินค้า
เปน็ หลัก แตใ่ หค้ วามส�ำคัญกับคณุ ภาพสนิ คา้ หรือความแปลกใหม่ไมซ่ ำ้� ใคร

แสวงหาความต้องการที่แทจ้ รงิ ของลูกค้าให้พบ
• ความแตกต่าง
• ความภาคภูมใิ จ
• ความสะดวกสบาย
• ราคาถูก / ราคาแพง
• สนิ คา้ เกรดเอ / สนิ คา้ ก๊อบเกรดเอ
• สุขภาพดี
• บรกิ ารเป็นเลศิ

(3) W-Where: ลกู คา้ อยูท่ ีใ่ ด

หลังจากก�ำหนดกลุ่มลูกค้าได้แล้ว ต้องพิจารณาถึงพ้ืนท่ีที่สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
เปา้ หมาย เชน่ อาจจำ� แนกกลมุ่ ลกู คา้ ตามประเทศ จงั หวดั สถานที่ ภมู อิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ สงั คม
และวัฒนธรรม ซึ่งหากสามารถระบุได้ชัดเจน จะช่วยให้การวางแผนประชาสัมพันธ์ธุรกิจ
เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธผิ ลมากย่ิงขน้ึ

หากลุม่ ลกู ค้าส่วนใหญ่ใหเ้ จอ บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์
• บา้ น / ทท่ี �ำงาน
• โรงเรยี น / สถาบนั การศึกษา
• โรงแรม / รา้ นอาหาร / สถานทที่ อ่ งเท่ยี ว
• ผับ / โรงเบียร์ / สถานบันเทงิ
• ภูเขา / น้ำ� ตก / ทะเล
• ในประเทศ / ตา่ งประเทศ

45

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ (4) W-When: เมื่อไหร่ที่ลกู ค้าต้องการ

ควรจะทราบว่าลูกค้าต้องการสินค้าและบริการเม่ือใด บ่อยแค่ไหน เช่น ปีละครั้ง
เดอื นละครง้ั สปั ดาหล์ ะครงั้ หรอื เปน็ ประจำ� ทกุ วนั ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู ทจี่ ะชว่ ยกำ� หนดแผนงานตา่ งๆ
ได้ตรงกับความตอ้ งการของลกู คา้ ได้ดีย่งิ ข้ึน

หาจังหวะเข้าถึงใจลกู ค้าใหไ้ ด้
• เวลาเช้า / กลางวัน / เย็น • อารมณ์ดี / โกรธ / รกั / เหงา
• หวิ / อ่มิ • รวย / จน
• เทศกาลส�ำคญั • ฤดกู าล
• ภาวะฉกุ เฉิน

(5) W-Why: เหตใุ ดทลี่ กู คา้ ตอ้ งซอื้ หรอื ใชบ้ รกิ ารจากเรา

เราต้องพยายามหาจุดเด่นซึ่งเป็นข้อแตกต่างระหว่างธุรกิจของเรากับคู่แข่งขัน
เช่น เป็นสินค้าที่มีราคาถูกท่ีสุด หรือแม้แต่ราคาแพงท่ีสุด หายากที่สุด คุณภาพดีที่สุด
บรกิ ารล้�ำเลศิ ทส่ี ดุ ซงึ่ หากสามารถสรา้ งจดุ เดน่ นัน้ ได้จรงิ กค็ อื โอกาสทจ่ี ะไดล้ กู คา้ เพิ่มขน้ึ
นั่นเอง อย่างไรก็ตาม การแสวงหาจุดแข็งน้ีก็ควรให้มีความสอดคล้องกับกลุ่มลูกค้า
เปา้ หมายดว้ ย สมมตวิ า่ ลกู คา้ เปน็ กลมุ่ คนทม่ี ฐี านะดี ดงั นนั้ การสรา้ งจดุ เดน่ คงไมใ่ ชพ่ จิ ารณา
เร่ืองราคาสินค้า แต่ควรมุ่งเน้นไปแข่งขันท่ีคุณภาพสินค้า และการบริการท่ีดีมากกว่า
เปน็ ต้น

จดุ แขง็ ในธรุ กิจเราคอื อะไร...เพอื่ ดงึ มาใช้
• ราคาสนิ คา้ • คุณภาพสนิ คา้
• ความแตกต่างจากคู่แข่ง • บรกิ ารหลังการขาย
• โปรโมชันเด็ด • การใหข้ ้อมูลครบถว้ น
• ตราสนิ ค้า • ช่อื เสยี งบรษิ ัท

46

(6) H-How: จะเขา้ ถึงลูกคา้ ไดอ้ ย่างไร บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์

เป็นการก�ำหนดวิธีที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่วางไว้อย่างแม่นย�ำ
และมีประสิทธผิ ลมากทส่ี ุด ซง่ึ โดยปกตแิ ล้วนยิ มใช้เทคนคิ การโฆษณา และประชาสมั พนั ธ์
ในช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นส่ือออฟไลน์ หรือออนไลน์ก็ตาม แต่หัวใจส�ำคัญก็คือ
ควรตระหนกั ถงึ กลมุ่ ลกู คา้ เปน็ สำ� คญั เชน่ สมมตวิ า่ กลมุ่ ลกู คา้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ผสู้ งู อายุ การสอื่ สาร
ให้กลมุ่ น้ีรูจ้ ักสินคา้ /บรกิ าร ก็ควรใช้สอื่ ออฟไลนเ์ ป็นหลัก เช่น โฆษณาทางโทรทศั น์ วทิ ยุ
หนังสอื พมิ พ์ เป็นต้น

กำ� หนดแผนการตลาด...เพอื่ มัดใจลูกคา้
• การใช้พนักงานขาย
• การสง่ เสริมการขาย (ลด / แลก / แจก / แถม)
• การโฆษณาออฟไลน์
• การโฆษณาออนไลน์
• การประชาสมั พนั ธ์

เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการวางแผน
ท�ำอีคอมเมิร์ซ จะขอยกตัวอย่างการตอบค�ำถาม
5W+1H ของเว็บไซต์ www.enginou.com
ซึ่งเป็นธุรกิจขายของเด็กเล่นออนไลน์ของไทย
แหง่ หน่งึ

47

www.enginou.com ธุรกจิ ขายของเด็กเลน่

ค�ำถาม ค�ำตอบ
Who กลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายเปน็ คณุ พอ่ คณุ แมม่ อื ใหมท่ ม่ี ฐี านะระดบั ปานกลางถงึ สงู และตอ้ งการ
หาซอ้ื ของเล่นเด็กทมี่ ีคุณภาพ เหมาะสมกบั ช่วงวัยของลกู
What เป็นเว็บไซต์ขายของเลน่ สำ� หรบั เดก็ ชว่ งอายุ 0-12 ขวบ เป็นสนิ คา้ แปลกใหมไ่ ม่ซ�ำ้ ใคร
สนิ คา้ มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐานความปลอดภยั และไดร้ บั การรบั รองจากสถาบนั ชน้ั นำ� ตา่ งๆ
Where ลูกค้ากลุ่มนี้มักจะอยู่ในเว็บไซต์เกี่ยวกับแม่และเด็ก เช่น www.thaibabyguide.net
รวมทง้ั หนงั สือและนิตยสารเก่ียวกบั เด็ก
When ลูกค้าจะเข้ามาในเว็บไซต์เมื่อต้องการหาข้อมูลหรือซ้ือของเล่นให้แก่ลูก โดยส่วนใหญ่
ตอ้ งการจะซอ้ื ของเลน่ ใหมท่ เ่ี หมาะสมกับช่วงวยั ของเด็ก
Why จดุ เดน่ ทม่ี ดั ใจลกู คา้ คอื บนเวบ็ ไซตม์ กี ารแบง่ หมวดหมขู่ องเลน่ ตามชว่ งอายขุ องเดก็ ทำ� ให้
คน้ หาสนิ คา้ ตา่ งๆ บนเวบ็ ไซตไ์ ดง้ า่ ย อกี ทงั้ มกี ารใสร่ ายละเอยี ดสนิ คา้ ทค่ี รบถว้ น สามารถ
ตัดสินใจซ้ือได้ทันทีโดยไม่ต้องโทรศัพท์สอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม พร้อมมีการรับประกัน
ความพงึ พอใจในคุณภาพสินคา้ ดว้ ยการคืนสนิ คา้ ไดฟ้ รภี ายใน 30 วัน และมีเว็บบอร์ด
ส�ำหรับคุณพ่อคุณแม่เข้ามาพูดคุยสอบถามปัญหาเรื่องของเล่นส�ำหรับลูก ท�ำให้ลูกค้า
เกดิ ความม่ันใจในการซือ้ สนิ คา้ ผา่ นเว็บไซต์นมี้ ากย่ิงข้ึน
How วธิ กี ารเขา้ ถงึ ลกู คา้ ทำ� ไดโ้ ดยการโฆษณาออนไลนผ์ า่ นเวบ็ ไซตเ์ กยี่ วกบั แมแ่ ละเดก็ รวมทง้ั
ลงโฆษณาในนติ ยสารเกีย่ วกบั เดก็

จดุ ประกาย ส่.ู ..เถา้ แก่ออนไลน์ ดว้ ยคำ� ถาม 6 ขอ้ นี้ (5W+1H) หากสามารถตอบคำ� ถามไดค้ รบทกุ ขอ้ จะชว่ ยให้
เขา้ ใจและวางแผนธรุ กจิ เวบ็ ไซตข์ องตนไดช้ ดั เจนมากขนึ้ และหากสามารถวางแผน
ประมาณการดา้ นรายได้ รายจา่ ย และกำ� ไรขาดทนุ ของธรุ กจิ ในแตล่ ะเดอื นและทง้ั ปี
ออกมาได้แล้ว ข้อมูลท้ังหมดน้ีจะยิ่งช่วยให้ตัดสินใจได้ว่า ธุรกิจอีคอมเมิร์ซท่ีจะ
เรม่ิ ต้นนัน้ มีความเป็นไปไดม้ ากนอ้ ยแค่ไหน

48

การท�ำเว็บไซต์ บทท่ี 3 ธุรกจิ ร่งุ ถ้าม่งุ ...อีคอมเมริ ซ์
ส�ำหรับ

-Commerce

e-Commerce เริ่มต้นได้ด้วยงบลงทุนไม่ถึงพันบาทจนไปถึงหลักแสนบาท หรือจะ
เรมิ่ ตน้ แบบงา่ ยๆ โดยทีไ่ ม่ต้องลงทุนสักบาทก็ได้ ท้งั น้ขี ึ้นอยู่กบั ขอบเขตของ e-Commerce
วา่ มีรายละเอยี ดและการตอบสนองตอ่ ธุรกิจได้มากนอ้ ยแคไ่ หน ไดแ้ ก่

การทำ� อคี อมเมริ ์ซโดยไมต่ อ้ งมเี วบ็ ไซต์

ผู้ท่ีเพิ่งจะเริ่มต้นขายสินค้าออนไลน์หรือมีสินค้าจ�ำนวนไม่มากและไม่ก่ีประเภท
สามารถค้าขายในโลกออนไลน์อย่างง่ายๆ โดยไม่จ�ำเป็นต้องมีเว็บไซต์ของตัวเองเลย
เพราะสามารถนำ� ขอ้ มลู สนิ คา้ หรอื บรกิ ารของคณุ ไปลงประกาศไวต้ ามเวบ็ ไซตท์ ใ่ี หบ้ รกิ ารประกาศ
ซ้ือ-ขายสนิ ค้าไดฟ้ รๆี หรอื ท่เี รียกว่า e-Marketplace เช่น www.ThaiSecondhand.com
หลงั จากลงประกาศขอ้ มลู ไปแลว้ กจ็ ะมหี นา้ แสดงขอ้ มลู สนิ คา้ และขอ้ มลู ประกาศสนิ คา้ ชนิ้ นนั้
แสดงในเว็บไซต์นน้ั ๆ ซึ่งเว็บไซต์ลกั ษณะน้ีจะมีคนเขา้ มาเป็นจำ� นวนมากหลายแสนคน ทำ� ให้
มีโอกาสขายสินค้าออกไปยังกลุ่มคนเหล่านี้ได้โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายเลย บริการ
ลักษณะน้ีมีความเหมาะสมกับผู้เพ่ิงเร่ิมต้นและอยากทดลองการขายสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ต
เนอื่ งจากมขี อ้ ดที สี่ ำ� คญั คอื ลงทนุ ตำ่� มาก รวมทง้ั ยงั มคี วามสะดวกสามารถเรมิ่ ตน้ ธรุ กจิ ไดท้ นั ที
อย่างไรก็ตาม เว็บไซต์ลกั ษณะน้ีจะมขี ้อจ�ำกดั ทางด้านข้อมูลท่ีจะประกาศ และยังมคี วาม
จ�ำเป็นท่ีจะต้องติดตามอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากจะมีสินค้าของผู้ประกาศคนอื่นๆ ขึ้นมา
แทนทไี่ ด้ และการประชาสมั พนั ธอ์ าจจะทำ� ไดล้ ำ� บากเพราะไมม่ ชี อ่ื เวบ็ ไซตเ์ ปน็ ของตนเอง

การประกาศขายสนิ ค้าผ่านเว็บไซต์
ThaiSecondhand.com

49


Click to View FlipBook Version