The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ม.ปลาย

วิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ม.ปลาย

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
(สค31003)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 36/2554

หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม

รายวชิ า การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
(สค31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 36/2554

คํานาํ

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา
หนังสือเรียนชุดใหมน้ีขึ้น เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม
จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน
ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา
คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมท้ังแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเน้ือหา
โดยเมื่อศึกษาแลวยงั ไมเ ขาใจ สามารถกลับไปศกึ ษาใหมไ ด ผเู รยี นอาจจะสามารถเพ่มิ พูนความรูหลังจาก
ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปล่ียนกับเพื่อนในช้ันเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น
จากแหลงเรยี นรแู ละจากสื่ออนื่ ๆ

ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรว มมอื ท่ดี ีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเก่ียวของหลายทานท่ีคนควา
และเรียบเรียงเน้ือหาสาระจากสื่อตาง ๆ เพื่อใหไดส่ือที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน
ตอผเู รียนทอ่ี ยนู อกระบบอยางแทจ ริง สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี
ไว ณ โอกาสน้ี

สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน
ชดุ นจี้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรยี นการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน
สง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ขอนอ มรบั ไวดวยความขอบคณุ ย่งิ

สาํ นักงาน กศน.

สารบญั หนา

คาํ นํา 1
คําแนะนําการใชหนงั สือเรยี น 2
โครงสรา งรายวิชา 6
บทท่ี 1 การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม 9
12
เรอื่ งที่ 1 การพัฒนาตนเอง 14
เรื่องที่ 2 การพัฒนาชุมชน 15
เรอ่ื งที่ 3 การพฒั นาสงั คม 20
กิจกรรมบทท่ี 1 21
บทที่ 2 ขอมลู ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม 22
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนข องขอ มลู 23
เรอ่ื งท่ี 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครัว 24
เรื่องที่ 3 ขอมูลชมุ ชน สังคม 26
กจิ กรรมบทท่ี 2 27
บทท่ี 3 การจดั เกบ็ ขอ มลู และวิเคราะหขอ มูล 31
เรื่องท่ี 1 การจัดเกบ็ ขอมูล 33
เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหข อมลู 34
เรือ่ งที่ 3 การนาํ เสนอขอ มลู 36
กิจกรรมบทท่ี 3 40
บทที่ 4 การมีสวนรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม 41
เร่ืองที่ 1 การวางแผน 42
เรื่องที่ 2 การมีสว นรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม 52
กิจกรรมบทท่ี 4 57
บทท่ี 5 เทคนิคการมสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผน 60
เรื่องที่ 1 เทคนคิ การมสี ว นรว มในการจัดทาํ แผน
เรื่องท่ี 2 การจดั ทําแผน
เรอื่ งที่ 3 การเผยแพรส กู ารปฏบิ ัติ
กิจกรรมบทที่ 5

สารบัญ (ตอ) หนา
61
บทที่ 6 บทบาท หนา ทขี่ องผนู าํ /สมาชกิ ทดี่ ขี องชุมชน สังคม 62
เรื่องท่ี 1 ผูนาํ และผตู าม 69
เรอื่ งที่ 2 ผูนํา ผตู ามในการจดั ทาํ แผนพัฒนาชมุ ชน สังคม 72
เรือ่ งท่ี 3 ผนู ํา ผตู ามในการขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 73
กิจกรรมบทที่ 6 74
84
แนวเฉลยกิจกรรม
บรรณานุกรม



คําแนะนาํ ในการใชหนงั สือเรียน

หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคมรายวิชาการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ระดบั มัธยมศกึ ษา
ตอนปลาย เปนหนังสอื เรียนทจ่ี ดั ทําข้นึ สําหรับผเู รียนทีเ่ ปน นักศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ

ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
ผูเ รยี นควรปฏิบตั ิ ดังน้ี

1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเขาใจในหวั ขอสาระสาํ คัญ ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง และขอบขาย
เน้ือหา

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนดแลว
ตรวจสอบกับแนวเฉลยกิจกรรมทา ยเลม ถา ผเู รยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศกึ ษา และทําความเขาใจในเนื้อหานั้น
ใหม ใหเ ขา ใจกอ นที่จะศกึ ษาเรื่องตอไป

3. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทา ยบทของแตละบท เพ่ือเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาใน
เรื่องนั้น ๆ อกี ครง้ั

4. หนงั สอื เรียนเลม นีม้ ี 6 บท คอื
บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม
บทที่ 2 ขอ มลู ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม
บทท่ี 3 การจดั เกบ็ ขอ มูล และวิเคราะหข อ มูล
บทท่ี 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม
บทที่ 5 เทคนคิ การมสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผน
บทที่ 6 บทบาท หนา ทีข่ องผนู าํ /สมาชกิ ที่ดีของชุมชน สงั คม



โครงสรางรายวชิ าการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

สาระสาํ คญั
การพัฒนาตนเอง เปน การพัฒนาความสามารถของตนเองใหมีศกั ยภาพ สมรรถนะทีท่ ันตอ สภาพ

ความจําเปน ตามความกา วหนา และการเปล่ยี นแปลงของสงั คม เพ่ือใหตนเองมีชีวิตท่ีดีขึ้น ดังน้ัน การท่ี
จะพฒั นาตนอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคมได จะตองมีความรู ความเขา ใจหลกั การพัฒนาตนเอง ชุมชน
สงั คม ความสาํ คัญของขอมูล ประโยชนข องขอมลู ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม ในดา นตาง ๆ รูวิธีการ
จัดเก็บ วิเคราะหขอมูลดวยวิธีการที่หลากหลาย และการเผยแพรขอมูล การมีสวนรวมในการวางแผน
พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม รเู ทคนิคการมสี ว นรวมในการจัดทําแผนครอบครัว ชุมชน สังคม
เขาใจบทบาทหนาท่ีของผูนําชุมชน ในฐานะผูนํา และผูตามในการจัดทํา และขับเคล่ือนแผนพัฒนา
ตนเอง ชุมชน และสังคม

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง
1. เพื่อใหผูเรยี นสามารถมคี วามรู ความเขาใจหลักการพฒั นาชุมชน สงั คม
2. บอกความหมายและความสําคญั ของแผนชีวิต และแผนชุมชน สังคม
3. วิเคราะหและนําเสนอขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ดวยเทคนิคและวิธีการท่ี
หลากหลาย
4. จูงใจใหสมาชิกของชมุ ชนมสี ว นรวมในการจดั ทําแผนชีวติ และแผนชมุ ชน สงั คมได
5. เปนผูนําผตู ามในการจดั ทาํ ประชาคม ประชาพิจารณของชุมชน
6. กาํ หนดแนวทางในการดําเนนิ การเพอื่ นาํ ไปสกู ารทาํ แผนชวี ติ ครอบครวั ชุมชน สังคม
7. รว มพัฒนาแผนชุมชนตามข้ันตอน

ขอบขา ยเนือ้ หา
บทที่ 1 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
บทที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
บทที่ 3 การจดั เกบ็ ขอมูล และวิเคราะหข อมูล
บทท่ี 4 การมีสว นรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม
บทที่ 5 เทคนิคการมสี ว นรวมในการจดั ทาํ แผน
บทที่ 6 บทบาท หนา ทขี่ องผูน าํ /สมาชิกท่ีดขี องชุมชน สังคม

1

บทท่ี 1
การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม

สาระสาํ คัญ

การพฒั นา เปน การทาํ ใหดีขนึ้ ใหเ จรญิ ขนึ้ เปน การเพิ่มคณุ คา ของสง่ิ ตา ง ๆ พฒั นาจากส่ิงท่ีมี
อยเู ดิม หรอื สรา งสรรคสิ่งใหมข้ึนมา ดังน้ัน การพัฒนา จึงเร่ิมตนดวยการพัฒนาตนเอง ตอจากน้ันเปน
การพัฒนาชุมชน และทายสุดเปนการพัฒนาสังคม ซ่ึงจะตองเรียนรูความหมาย ความสําคัญ แนวคิด
หลักการ วิธกี าร พัฒนาตนเอง ชุมชน และสงั คม

ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั

เม่อื ศึกษาบทท่ี 1 จบแลว ผูเรยี นสามารถ
1. บอกความหมาย ความสําคญั ของการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน และสงั คมได
2. อธบิ ายหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได

ขอบขายเนื้อหา

เร่อื งท่ี 1 การพัฒนาตนเอง
เร่ืองที่ 2 การพัฒนาชุมชน
เร่ืองที่ 3 การพัฒนาสังคม

2

เรื่องที่ 1 การพฒั นาตนเอง
1.1 ความหมายของ “การพัฒนา” (Development)
การพฒั นา (Development) หมายถงึ การทาํ ใหด ีขนึ้ ใหเ จรญิ ข้นึ เปน การเพ่ิมคุณคาของ

ส่ิงตาง ๆ การพฒั นาอาจพฒั นาจากสง่ิ ท่มี ีอยเู ดมิ หรือสรา งสรรคส่งิ ใหมข ึ้นมากไ็ ด
1.2 ความหมายของ “การพฒั นาตนเอง”
การพัฒนาตนเอง (Self Development) หมายถึง ความตองการของบุคคลในการที่จะ

พัฒนาความรู ความสามารถของตนจากทเ่ี ปน อยู ใหมีความรู ความสามารถเพ่ิมขึ้นเกิดประโยชนตอตน
และหนวยงาน อีกทั้งยังเปนการพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพของตนใหดีขึ้น ท้ังทางรางกาย จิตใจ อารมณ
สังคม และสติปญ ญา เพ่ือเปน สมาชกิ ทมี่ ปี ระสิทธิภาพของสังคมเปนประโยชนตอผูอนื่ ตลอดจนเพ่ือการ
ดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งมคี วามสขุ

1.3 หลักการพัฒนาตนเอง
การพฒั นาตนเองเปนการพัฒนาคุณสมบตั ทิ ่ีอยใู นตวั บคุ คล เปน การจดั การตนเอง

ใหม เี ปาหมายชีวติ ท่ีดี ท้งั ในปจ จุบันและอนาคต การพัฒนาตนเอง จะทาํ ใหบคุ คลสํานึกในคณุ คา
ความเปน คนไดมากยิง่ ขน้ึ

ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป.) ไดกลาวถึง การพัฒนาตนเองเปนการเปลี่ยนแปลง
ตนเองจากศักยภาพเดิมทม่ี อี ยูไปสศู ักยภาพระดบั ทสี่ งู กวา โดย

1.3.1) บคุ คลตอ งสามารถปลดปลอ ยศักยภาพระดบั ใหมออกมา
1.3.2) มสี ่งิ ทา ทายภายนอกท่ีเหมาะสม
1.3.3) คนที่มีการพฒั นาตนเอง ควรรับรูค วามทาทายในตวั คนทง้ั หมด (total self)
1.3.4) เปนการริเร่ิมดวยตวั เอง แรงจงู ใจเบื้องตน เกดิ ขึ้นผา นผลสัมฤทธิ์ของตัวเอง
และการทําใหบรรลุความสําเรจ็ ดว ยตนเอง รางวัลและการลงโทษจากภายนอกเปนเรื่องที่รองลงมา
1.3.5) การพัฒนาตนเอง ตอ งมกี ารเรียนรู มกี ารหย่งั เชงิ อยางสรางสรรค
1.3.6) การพฒั นาตนเอง ตอ งเต็มใจท่จี ะเส่ยี ง
1.3.7) ตองมคี วามตั้งใจทเี่ ขม แขง็ เพยี งพอทจ่ี ะผา นขนึ้ ไปสศู ักยภาพใหม
1.3.8) การพฒั นาตนเองตองการคําแนะนํา และการสนับสนุนของนักพัฒนาตนเองที่มี
วุฒภิ าวะมากกวา
ดังนั้น การพัฒนาตนเองจะประสบความสําเร็จได เมื่อมีความตองการท่ีเกิดจากงาน
บุคคลควรมีความตองการในการปรับปรุงเพ่ือใหเปนผทู าํ ใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ

3

ปราณี รามสตู และจํารัส ดวงสุวรรณ (2545 : 125-129) ไดกลาวถึง หลักการพัฒนาตนเอง
แบง ออกเปน 3 ขัน้ ตอน คือ

ขั้นท่ี 1 การตระหนักรูถ งึ ความจําเปนในการปรบั ปรุงตนเอง เปนความตองการในการท่ี
จะพฒั นาตนเอง เพือ่ ชีวิตทปี่ ระสบความสําเร็จ คอื การพฒั นาตนเองในแงความรูและในทุกดานใหดีขึ้น
มากที่สดุ เทา ที่จะทําได

ขั้นที่ 2 เปนขั้นการวิเคราะหตนเอง โดยการสังเกตตนเอง ประเมินตนเอง และสังเกต
พฤติกรรมของผอู ่นื รวมทัง้ เปรยี บเทยี บบุคลกิ ภาพทส่ี ังคมตอ งการ

ข้ันที่ 3 การวางแผนพัฒนาตนเองและการต้ังเปา หมาย
1.4 แนวทางการพัฒนาตนเอง

นอกจากหลกั การพัฒนาตนเองทกี่ ลา วมาแลว ยังมีแนวทางการพฒั นาตนเอง ดังนี้
1.4.1 การพฒั นาดา นจติ ใจ หมายถึง การพัฒนาสภาพของจติ ทีม่ ีความรูส ึกทดี่ ี
ตอตนเองและสิ่งแวดลอม มองโลกในแงดี เชิงสรางสรรค
1.4.2 การพัฒนาดานรา งกาย หมายถงึ การพฒั นารูปรางหนาตา กริ ยิ าทาทาง
การแสดงออก น้ําเสียงวาจา การส่ือความหมายรวมไปถึงสุขภาพอนามัย และการแตงกายเหมาะกับ
กาลเทศะ รูปรา งและผวิ พรรณ
1.4.3 การพฒั นาดานอารมณ หมายถงึ การพฒั นาความสามารถในการควบคุมความรสู กึ
นกึ คดิ และการแสดงออก ควบคมุ อารมณท ี่เปนโทษตอ ตนเองและผูอ่นื
1.4.4 การพฒั นาดานสตปิ ญญา และความเฉลียวฉลาดทางอารมณ หมายถึง การพัฒนา
ความรอบรู ความฉลาด ไหวพริบ ปฏิภาณ การวิเคราะห การตัดสินใจ ความสามารถในการแสวงหา
ความรู และฝก ทกั ษะใหม ๆ เรยี นรูวิถที างการดาํ เนนิ ชวี ติ ท่ีดี
1.4.5 การพัฒนาดานสงั คม หมายถงึ การพฒั นาปฏิบตั ติ น ทา ทีตอ สิ่งแวดลอม ประพฤติ
ตนตามปทสั ถานทางสงั คม
1.4.6 การพัฒนาดา นความรู ความสามารถ หมายถงึ การพฒั นาความรู ความสามารถที่มี
อยใู หก า วหนายิง่ ขึ้น
1.4.7 การพัฒนาตนเองสูความตองการของตลาดแรงงาน หมายถึง การพัฒนาความรู
ความสามารถ ทกั ษะ ความชาํ นาญทางอาชพี ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน
การพัฒนาคนในองคการ จึงจําเปนตองสรางวัฒนธรรมองคการที่สงเสริมการเรียนรู
เพ่ิมเติมอยูเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งการแสวงหาความรูโดยการอาน และการคิด เพราะความรูเปน
ทรัพยส ินท่มี ีคาทีส่ ามารถสรางคุณคาและประโยชนใ หแ กต นเองและองคการ

4

1.5 วธิ กี ารพัฒนาตนเอง
องคกร หนวยงานตาง ๆ มีจุดมุงหมายท่ีจะพัฒนาบุคลากรของตน ใหมีประสิทธิภาพ

สูงสุด เปนผูทรงคุณคา การท่ีบุคลากรไดรับการพัฒนาน้ัน จะเปนหลักประกันไดวา หนวยงานนั้นจะ
สามารถรักษาบคุ ลากรไวไดยาวนาน และเปน ทรัพยากรมนษุ ยท ่มี ีคาสูงขององคก รนัน้ ตอไป ซ่ึงมีวิธีการ
พัฒนาตนเองโดยการฝกอบรม ตามหลักวิชาการ ดังน้ี

1. การลงมือฝกปฏบิ ัติจริง
2. การบรรยายในหอ งเรยี น
3. การลงมือปฏิบัติงานจริง นอกเวลางานควบคูกันไป
4. การอบรมเพ่ิมเติม
5. การฝก จําลองเหตุการณ และใชวิธีการอ่นื ๆ
6. การศึกษา คนควาหาความรูดว ยตนเองจากแหลงความรูตาง ๆ แลวนํามาประยุกตใช
ใหเ ปน ประโยชนอ ยูเสมอ
เม่ือบคุ คลไดมีการพัฒนาตนเองไดอ ยา งสมบูรณแ ลว จะกอ ใหเกิดประโยชนต า ง ๆ
กบั ตนเอง รวมถงึ ประโยชนจากการเกีย่ วขอ งกับบุคคลอน่ื และสงั คม ดงั นี้
1. ประโยชนทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กับตนเอง

1.1 การประสบความสําเร็จในการดํารงชวี ติ
1.2 การประสบความสาํ เรจ็ ในการประกอบอาชีพการงาน
1.3 การมีสขุ ภาพอนามัยสมบรู ณ
1.4 การมคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง
1.5 การมีความสงบสขุ ทางจติ ใจ
2. ประโยชนจากการเกย่ี วขอ งกับบคุ คลอนื่ และสังคม
2.1 การไดรับความเชือ่ ถือและไวว างใจจากเพ่อื นรวมงานและบุคคลอื่น
2.2 ความสามารถรวมมือและประสานงานกับบุคคลอ่นื
2.3 ความรับผิดชอบและความมานะอดทนในการปฏิบัติงาน
2.4 ความคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรคเ พอ่ื พฒั นางาน ความเปน อยูและสภาพแวดลอม
2.5 ความจรงิ ใจ ความเสียสละ และความซื่อสัตยส จุ รติ
2.6 การรกั และเคารพหมคู ณะ และการทาํ ประโยชนเ พอื่ สวนรวม
2.7 การไดร ับการยกยอง และยอมรบั จากเพอ่ื นรวมงาน

5

การดาํ เนินการพฒั นาตนเอง เปน การลงมือปฏบิ ตั ิเพอื่ เสรมิ สรา งตนเองใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงค
ตามทก่ี ําหนดไว ควรดําเนนิ การ ดังตอไปนี้

1. การหาความรเู พมิ่ เติม อาจกระทาํ โดย
1.1 การอานหนงั สอื เปน ประจาํ และอยางตอ เนื่อง
1.2 การเขา รวมประชมุ หรอื เขา รับการฝก อบรม
1.3 การสอนหนงั สอื หรอื การบรรยายตา ง ๆ
1.4 การรว มกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนหรือองคก ารตาง ๆ
1.5 การรวมเปนทปี่ รกึ ษาแกบุคคลหรือหนว ยงาน
1.6 การศกึ ษาตอหรือเพ่มิ เตมิ จากสถาบนั การศกึ ษาหรือมหาวทิ ยาลัยเปด
1.7 การพบปะเย่ยี มเยยี นบุคคลหรอื หนวยงานตาง ๆ
1.8 การเปนผแู ทนในการประชุมตาง ๆ
1.9 การจัดทําโครงการพเิ ศษ
1.10 การปฏบิ ัตงิ านแทนหวั หนา งาน
1.11 การคน ควาหรอื วิจยั
1.12 การศกึ ษาดงู าน

2. การเพิ่มความสามารถและประสบการณ อาจกระทําโดย
2.1 การลงมอื ปฏิบัตจิ ริง
2.2 การฝกฝนโดยผูทรงคุณวฒุ ิหรอื หวั หนางาน
2.3 การอา น การฟง และการถาม จากเอกสารและหรอื ผูทรงคุณวฒุ หิ รือหวั หนา งาน
2.4 การทํางานรว มกบั บุคคลอ่นื
2.5 การคน ควาวิจยั
2.6 การหมนุ เวียนเปลย่ี นงาน

6

เร่ืองที่ 2 การพัฒนาชุมชน

การพฒั นาชมุ ชน เปน การนําคําสองคํามารวมกัน คือ คําวา “การพัฒนา” กับคําวา “ชุมชน”
ซึ่งความหมายของคําวา “การพัฒนา” ไดกลาวถึงแลวในเรื่องของการพัฒนาตนเอง ในที่นี้จะกลาวถึง
ความหมายของชุมชน

2.1 ความหมายของ “ชุมชน” (Community)
ชมุ ชน (Community) หมายถึง กลุมคนท่ีอาศัยอยูในอาณาเขตเดียวกัน มีความรูสึกเปน

พวกเดยี วกนั มคี วามศรัทธา ความเชอ่ื เชอื้ ชาติ การงาน มคี วามสนใจ และปฏิบัติตนในวิถีชีวิตประจําวัน
ท่คี ลายคลงึ กัน มคี วามเอ้อื อาทรตอกนั

2.2 ความหมายของ “การพัฒนาชมุ ชน”
การพฒั นาชุมชน (Community Development) หมายถึง การทําใหชุมชนมีการเปล่ียนแปลง

ไปในทางทด่ี ีขึน้ หรือเจรญิ ข้ึน ทง้ั ในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนการยกระดับ
คุณภาพชวี ิตของประชาชนในชุมชนใหดขี ้ึน ประชาชนในชุมชนนนั้ ๆ รวมกันวางแผนและลงมอื กระทําเอง
กําหนดวากลุมของตนและของแตละคนตองการ และมีปญหาอะไร เพ่ือใหไดมาในส่ิงท่ีตองการและ
สามารถแกไ ขปญหาน้ัน โดยใชท รพั ยากรในชุมชนใหมากที่สุด ถา จําเปนอาจขอความชวยเหลือจากรัฐบาล
และองคก รตาง ๆ สนับสนนุ

ดังนั้น เม่อื นําคาํ วา “การพฒั นา” รวมกับ “ชมุ ชน” แลว ก็จะไดความหมายวา การพัฒนา
ชุมชน กค็ อื การเปล่ยี นแปลงชมุ ชนใหด ีขึ้น หรือใหเจริญข้ึนในทุก ๆ ดาน นั่นเอง น่ันคือ จะตองพัฒนา
คน กลุมชน ส่ิงแวดลอมทางวัตถุ หรือสาธารณสมบัติ และพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใหบังเกิด
ผลดแี กประเทศชาตโิ ดยสวนรวม

2.3 ปรชั ญาขัน้ มลู ฐานของงานพฒั นาชุมชน
ปรชั ญาข้นั มลู ฐานของงานพฒั นาชุมชน สรุปไดด ังนี้
2.3.1 บคุ คลแตละคนยอมมีความสําคัญ และมคี วามเปน เอกลักษณที่ไมเหมือนกัน จึงมี

สิทธิอนั พงึ ไดรบั การปฏิบตั ดิ วยความยตุ ธิ รรม และอยา งบคุ คลมเี กียรติในฐานะทีเ่ ปน มนษุ ยป ุถชุ นผหู นึ่ง
2.3.2 บคุ คลแตล ะคนยอมมสี ทิ ธิ และสามารถที่จะกําหนดวิธีการดํารงชีวิตของตนไป

ในทิศทางท่ีตนตองการ
2.3.3 บุคคลแตล ะคนถา หากมโี อกาสแลว ยอมมคี วามสามารถทจี่ ะเรียนรู เปลี่ยนแปลง

ทัศนะ ประพฤติ ปฏิบตั ิ และพัฒนาขดี ความสามารถใหม คี วามรบั ผดิ ชอบตอสงั คมสูงขน้ึ ได
2.3.4 มนุษยทุกคนมีพลังในเร่ืองความคิดริเร่ิม ความเปนผูนํา และความคิดใหม ๆ ซึ่ง

ซอนเรนอยู และพลังความสามารถเหลานี้สามารถเจริญเติบโต และนําออกมาใชได ถาพลังท่ีซอนเรน
เหลา น้ไี ดรบั การพัฒนา

7

2.3.5 การพัฒนาพลังและขีดความสามารถของชุมชนในทุกดาน เปนสิ่งที่พึงปรารถนา
และมคี วามสําคญั ยิ่งตอชวี ติ ของบุคคล ชมุ ชน และรัฐ

2.4 แนวคิดพ้นื ฐานของการพัฒนาชุมชน
การศึกษาแนวคิดพ้ืนฐานของงานพัฒนาชุมชน เปนสิ่งสําคัญท่ีจะทําใหเจาหนาที่หรือ

นักพัฒนาไดลงไปทาํ งานกบั ประชาชนไดอยางถูกตอง และทําใหงานมีประสิทธิภาพ ซ่ึงแนวคิดพื้นฐาน
งานพฒั นาชมุ ชน มีดงั นี้

2.4.1 การมีสวนรวมของประชาชน (People Participation) เปนหัวใจของการพัฒนา
ชุมชน โดยยดึ หลกั ของการมสี วนรว มทีว่ า ประชาชนมสี ว นรว มในการคดิ ตดั สนิ ใจ วางแผน การปฏิบัติการ
รวมบํารุงรกั ษา ตดิ ตามและประเมนิ ผล

2.4.2 การชว ยเหลอื ตนเอง (Aide Self-Help) เปน แนวทางในการพฒั นาทยี่ ดึ เปนหลักการ
สําคัญประการหน่ึง คือ ตองพัฒนาใหประชาชนพึ่งตนเองไดมากข้ึน โดยมีรัฐคอยใหการชวยเหลือ
สนับสนนุ ในสวนท่ีเกินขดี ความสามารถของประชาชน ตามโอกาสและหลกั เกณฑที่เหมาะสม

2.4.3 ความคิดริเริ่มของประชาชน (Initiative) ในการทํางานกับประชาชน ตองยึด
หลกั การทวี่ า ความคดิ รเิ รมิ่ ตอ งมาจากประชาชน ซ่งึ ตอ งใชวิถีแหงประชาธิปไตย และหาโอกาสกระตุน
ใหการศึกษา ใหประชาชนเกิดความคิด และแสดงออกซ่ึงความคิดเห็นอันเปนประโยชนตอหมูบาน
ตําบล

2.4.4 ความตองการของชมุ ชน (Felt-Needs) ในการพฒั นาชมุ ชนตอ งใหประชาชน และ
องคก รประชาชน คดิ และตัดสินใจบนพื้นฐานความตองการของชุมชนเอง เพ่ือใหเกิดความคิดที่วางาน
เปน ของประชาชน และจะชว ยกันดแู ลรกั ษาตอ ไป

2.4.5 การศึกษาตลอดชีวิต (Life-Long Education) ในการทํางานพัฒนาชุมชน ถือเปน
กระบวนการใหการศึกษาตลอดชีวิตแกประชาชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคน การใหการศึกษาตองให
การศกึ ษาอยา งตอเน่ืองกันไป ตราบเทา ทบี่ ุคคลยังดํารงชีวิตอยใู นชมุ ชน

2.5 หลักการพฒั นาชมุ ชน
จากปรัชญา และแนวคิดพ้ืนฐานของการพัฒนาชุมชน ไดนํามาใชเปนหลักการพัฒนา

ชุมชน ซงึ่ นักพัฒนาตองยดึ เปนแนวทางปฏบิ ตั ิ มดี งั นี้
2.5.1 หลกั ความมศี ักดิศ์ รี และศักยภาพของประชาชน และเปดโอกาสใหประชาชน ใช

ศกั ยภาพทีม่ ีอยใู หมากทสี่ ดุ จงึ ตองใหโ อกาสประชาชนในการคิด วางแผนเพ่ือแกป ญ หาชมุ ชนดว ยตัวของ
เขาเอง นักพฒั นาควรเปน ผูกระตุน แนะนาํ สง เสริม

2.5.2 หลกั การพ่งึ ตนเองของประชาชน ตอ งสนบั สนนุ ใหป ระชาชนพ่ึงตนเองได โดย
การสรา งพลงั ชมุ ชนเพื่อพฒั นาชุมชน สว นรัฐบาลจะชว ยเหลือ สนับสนุนอยูเบ้ืองหลัง และชวยเหลือใน
สว นทเ่ี กนิ ความสามารถของประชาชน

8

2.5.3 หลักการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวมคิด
ตัดสินใจ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผลในกิจกรรม หรือโครงการใด ๆ ที่จะทําใน
ชุมชน เพือ่ ใหประชาชนไดม สี วนรว มอยางแทจ รงิ ในการดาํ เนินงาน อันเปน การปลูกฝงจิตสํานึกในเร่ือง
ความเปน เจาของโครงการ หรือกจิ กรรม

2.5.4 หลักประชาธิปไตย ในการทํางานพัฒนาชุมชนจะตองเริ่มดวยการพูดคุย
ประชมุ หารือ รวมกันคิด รว มกันตัดสนิ ใจ และทํารวมกัน รวมถึงรับผิดชอบรวมกันภายใตความชวยเหลือ
ซ่งึ กนั และกนั ตามวิถที างแหง ประชาธปิ ไตย

นอกจากหลกั การพัฒนาชุมชนดังกลา วแลว องคก ารสหประชาชาติ ยังไดก าํ หนด
หลกั การดําเนินงานพฒั นาชมุ ชนไว 10 ประการ คือ

1. ตองสอดคลอ งกับความตอ งการท่ีแทจรงิ ของประชาชน
2. ตอ งเปน โครงการอเนกประสงคท่ีชว ยแกป ญหาไดห ลายดาน
3. ตอ งเปลีย่ นแปลงทศั นคติไปพรอ ม ๆ กบั การดาํ เนนิ งาน
4. ตอ งใหป ระชาชนมสี ว นรว มอยา งเตม็ ที่
5. ตองแสวงหาและพฒั นาใหเกดิ ผูนําในทองถ่นิ
6. ตองยอมรบั ใหโ อกาสสตรี และเยาวชนมสี วนรว มในโครงการ
7. รัฐตอ งเตรียมจัดบรกิ ารใหการสนบั สนนุ
8. ตองวางแผนอยา งเปน ระบบ และมปี ระสิทธิภาพทกุ ระดับ
9. สนบั สนุนใหองคกรเอกชน อาสาสมัครตาง ๆ เขามามีสว นรวม
10. ตอ งมีการวางแผนใหเกดิ ความเจรญิ แกชมุ ชนท่ีสอดคลองกับความเจริญในระดบั ชาติดว ย
จากหลักการดังกลา ว สรุปไดว า การพัฒนาชมุ ชนเปนกระบวนการทจ่ี ะพยายามเปลีย่ นแปลง
ความคิด ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมของประชาชนในชมุ ชนใหด ีขน้ึ กวาเดมิ โดยรวมมือกันพัฒนาใหชุมชน
ของตนเองเปนชุมชนที่ดี สรางความรูสึกรักและผูกพันตอชุมชนตนเอง เปาหมายสําคัญของการพัฒนา
ชมุ ชนจงึ มงุ ไปยังประชาชน โดยผานกระบวนการใหการศึกษาแกประชาชนและกระบวนการรวมกลุม
เปน สาํ คญั เพราะพลงั สําคัญทีจ่ ะบนั ดาลใหการพัฒนาบรรลุผลสําเรจ็ นน้ั อยทู ตี่ ัวประชาชน

9

เรอ่ื งท่ี 3 การพฒั นาสังคม

3.1 ความหมายของการพฒั นาสงั คม
การพัฒนาสังคม (Social Development) หมายถึง กระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีดีท้ังในดาน

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อประชาชนจะไดมีชีวิต ความเปนอยูท่ีดีข้ึน
ทง้ั ทางดานท่อี ยอู าศัย อาหาร เคร่ืองนุงหม สุขภาพอนามยั การศกึ ษา การมงี านทํา มีรายไดเพียงพอในการ
ครองชีพ ประชาชนไดร ับความเสมอภาค ความยุติธรรม มคี ณุ ภาพชีวิต ทงั้ นปี้ ระชาชนตองมีสวนรวมใน
กระบวนการเปล่ยี นแปลงทกุ ขนั้ ตอนอยางมีระบบ

3.2 ความสําคัญของการพัฒนาสงั คม
เม่ือบุคคลมาอยูรวมกันเปนสังคม ปญหาตาง ๆ ก็ยอมจะเกิดตามมาเสมอ ยิ่งสังคม

มีขนาดใหญ ปญหาก็ยิ่งจะมีมากและสลับซับซอนเปนเงาตามตัว ปญหาหนึ่งอาจจะกลายเปนสาเหตุ
อกี หลายปญ หาเกี่ยวโยงกันไปเปนลูกโซ ถาปลอยไวก็จะเพิ่มความรุนแรง เพิ่มความสลับซับซอน และ
ขยายวงกวา งออกไปเรอื่ ย ๆ ยากตอการแกไ ข ความสงบสขุ ของประชาชนในสังคมนั้นก็จะ ไมมี ดังนั้น
ความสําคัญของการพัฒนาสังคม อาจกลาวเปน ขอ ๆ ไดดงั น้ี

1. ทาํ ใหป ญ หาของสังคมลดนอยและหมดไปในท่สี ดุ
2. ปองกันไมใ หปญ หาน้นั หรอื ปญ หาในลักษณะเดยี วกนั เกิดข้นึ แกสังคมอกี
3. ทําใหเ กดิ ความเจริญกา วหนา ขนึ้ มาแทน
4. ทําใหประชาชนในสงั คมสมานสามัคคีและอยูรวมกันอยางมีความสุขตามฐานะของ
แตละบคุ คล
5. ทาํ ใหเ กิดความเปนปกแผน มัน่ คงของสงั คม
3.3 แนวคิดในการพัฒนาสงั คม
การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกวางขวาง เพราะปญหาของสังคมมีมาก และสลับซับซอน
การแกป ญ หาสังคมจึงตองทําอยางรอบคอบ และตองอาศัยความรวมมือกันของบุคคลจากหลาย ๆ ฝาย
และโดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนในสังคมนั้น ๆ จะตองรับรู พรอมที่จะใหขอมูลท่ีถูกตองและเขามา
มีสวนรวมดวยเสมอ การพัฒนาสังคมจึงตองเปนทั้งกระบวนการ วิธีการ กรรมวิธีเปล่ียนแปลง และ
แผนการดําเนินงาน ซง่ึ มีรายละเอยี ด คอื
1. กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเน่ืองกันอยางมีระบบ เพื่อให
เกิดการเปลยี่ นแปลงจากลักษณะหนึง่ ไปสอู ีกลักษณะหนึ่ง ซึง่ จะตอ งเปน ลักษณะทีด่ ีกวา เดมิ
2. วิธีการ (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความรวมมือของ
ประชาชนในสังคมนั้นกับเจาหนาท่ีของรัฐบาลท่ีจะทํางานรวมกัน และวิธีการนี้ตองเปนที่ยอมรับวา
สามารถนําการเปลี่ยนแปลงมาสสู ังคมไดอยา งถาวรและมีประโยชนต อ สังคม

10

3. กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
ใหไ ด และจะตอ งเปล่ียนแปลงไปในทางท่ดี ีขนึ้ โดยเฉพาะเนนการเปล่ียนแปลงทัศนคติของตน เพ่ือให
เกดิ สาํ นกึ ในการมีสวนรวมรับผิดชอบตอผลประโยชนของสวนรวม และรักความเจริญกาวหนาอันจะ
นําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางวตั ถุ

4. แผนการดาํ เนินงาน (Planning) การพัฒนาสงั คมจะตอ งทาํ อยา งมแี ผน มีข้ันตอน สามารถ
ตรวจสอบ และประเมินผลได แผนงานนี้จะตองมีทุกระดับ นับต้ังแตระดับชาติ คือ แผนการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ลงมาจนถึงระดับผูปฏิบัติ แผนงานจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งใน
การพัฒนาสงั คม

3.4 การพัฒนาสงั คมไทย
การพัฒนาสังคมไทย สามารถกระทําไปพรอม ๆ กันทั้งสังคมในเมืองและสังคมชนบท

แตเน่ืองจากสังคมชนบทเปนที่อยูอาศัยของชนสวนใหญของประเทศ การพัฒนาจึงทุมเทไปที่ชนบท
มากกวา ในเมอื ง และการพฒั นาสงั คมจะตอ งพัฒนาหลาย ๆ ดา น ไปพรอม ๆ กัน โดยเฉพาะท่ีเปนปจจัย
ตอการพัฒนาดานอน่ื ๆ ไดแกก ารศึกษา และการสาธารณสขุ

การพัฒนาดานการศึกษา การศึกษาเปนปจจัยสําคัญท่ีสุด ในการวัดความเจริญของสังคม
สําหรับประเทศไทยการพัฒนาดา นการศกึ ษายังไมเจรญิ กาวหนาอยางเต็มท่ี โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมใน
ชนบทของไทย จะพบประชาชนท่ีไมรูห นงั สือ และไมจ บการศกึ ษาภาคบังคบั อยูคอ นขา งมาก

ความสาํ คัญของการศึกษาท่ีมตี อบคุ คลและสังคม
การศึกษากอใหเกิดความเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดี ทําใหคนมีความรู ความเขาใจใน
วิทยาการใหม ๆ กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ตลอดท้ังมีเหตุผลในการ
แกปญ หาตา ง ๆ การพัฒนาดานการศึกษา ก็คือ การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของบุคคลและเม่ือ
บคุ คลซ่งึ เปนสมาชกิ ของสังคมมคี ณุ ภาพแลว ก็จะทาํ ใหส งั คมมกี ารพัฒนาตามไปดวย สถาบันท่ีสาํ คัญใน
การพัฒนาการศึกษา ไดแก บา น วดั โรงเรยี น หนว ยงานอ่ืน ๆ ทง้ั ของรัฐและเอกชน
การพัฒนาดา นสาธารณสุขการสาธารณสขุ เปน การปอ งกันและรกั ษาโรค ทํานุบาํ รงุ ใหประชาชน
มีสขุ ภาพและพลานามัยท่ีดี มคี วามสมบูรณทงั้ ทางรา งกายและจติ ใจ สังคมใดจะเจริญรุงเรืองกาวหนาได
จาํ เปนตองมพี ลเมืองท่ีมสี ขุ ภาพอนามัยดี อันเปนสวนสําคัญในการพัฒนาประเทศ จึงจําเปนตองจัดใหมี
การพฒั นาสาธารณสุขขนึ้ เพราะมคี วามสาํ คญั ทงั้ ตอตวั บุคคลและสงั คม

11

การบริหารงานของทุกรัฐบาล เนนที่ความกินดีอยูดี หรือมีคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชาชน
อยากใหคนมีความสุข มีรายไดม่ันคง มีสุขภาพดี ครอบครัวอบอุน มีชุมชนเขมแข็ง และสังคมอยูเย็น
เปน สขุ มีความสมานฉันท และเอ้ืออาทรตอกัน ในดานการพัฒนาทางสังคมนั้น อาจกลาวไดวา ทําไป
เพื่อใหคนมคี วามมนั่ คง 10 ดา น คือ

1. ดา นการมงี านทาํ และรายได
2. ดานครอบครวั
3. ดา นสขุ ภาพอนามยั
4. ดานการศึกษา
5. ดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส ิน (สว นบคุ คล)
6. ดา นทอ่ี ยอู าศัยและสิง่ แวดลอม
7. ดานสิทธแิ ละความเปนธรรม
8. ดานสังคม วัฒนธรรม
9. ดา นการสนบั สนนุ ทางสังคม
10. ดานการเมอื ง ธรรมาภิบาล หรอื มีความม่ันคงทางสังคมนั่นเอง

12

กิจกรรมบทที่ 1

ใหผเู รยี นทาํ กจิ กรรมตอ ไปน้ี
ขอ 1 บอกความหมายของคําตอ ไปนี้

1) การพฒั นาตนเอง หมายถึง..............................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

2) การพฒั นาชุมชน หมายถึง...........................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) การพัฒนาสงั คม หมายถงึ ...........................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ขอ 2 บอกวิธีการพฒั นาตนเองของตวั ทาน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ขอ 3 บอกหลักการพฒั นาตนเอง
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ขอ 4 บอกประโยชนทไ่ี ดรับจากการพฒั นาตนเองทเ่ี กดิ ขึ้นกบั ตนเอง
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

13

ขอ 5 บอกวิธกี ารพฒั นาตนเองดว ยการหาความรเู พิม่ เติม กระทาํ ไดโ ดยวิธีใด
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ 6 อธบิ ายแนวคิดพืน้ ฐานของการพฒั นาชมุ ชน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ขอ 7 อธิบายหลกั การพฒั นาชุมชน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ขอ 8 อธิบายแนวคิดของการพัฒนาสงั คม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

14

บทที่ 2
ขอมูลตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม

สาระสําคญั
ขอมูล คือ ขอเทจ็ จริงของบคุ คล สตั ว สงิ่ ของ หรือเหตกุ ารณต า ง ๆ ทเี่ กิดข้ึนซึ่งอาจเปน

ขอ ความ ตวั เลข หรอื ภาพก็ได ขอ มูลมีความสาํ คัญตอ การดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ย มนุษยน ําขอ มูลตนเอง
ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม มาใชประโยชนใ นชวี ิตประจาํ วนั และการปฏิบัติงาน
ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง

เมอ่ื ศึกษาบทที่ 2 จบแลว ผเู รียนสามารถ
1. บอกความหมาย ความสําคัญ และประโยชนข องขอมลู ได
2. บอกขอมลู ของตนเองและครอบครวั ได
3. บอกขอมลู ของชมุ ชนและสังคมได
ขอบขา ยเน้ือหา
เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั และประโยชนของขอ มลู
เรือ่ งท่ี 2 ขอ มูลตนเอง ครอบครวั
เรอ่ื งท่ี 3 ขอมลู ชมุ ชน สงั คม

15

เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนข องขอ มูล
1.1 ความหมายของขอมลู

ขอมลู (Data) หมายถงึ กลุมตวั อักขระที่เม่อื นํามารวมกันแลวมีความหมายอยางใดอยางหนึ่ง

และมคี วามสาํ คญั ควรคา แกก ารจัดเก็บ เพ่อื นาํ ไปใชในโอกาสตอ ๆ ไป ขอมูลมกั เปน ขอความทีอ่ ธิบายถึง
สง่ิ ใดส่ิงหน่งึ อาจเปนตัวอักษร ตวั เลข หรอื สัญลกั ษณใด ๆ ท่ีสามารถนําไปประมวลผลดวยคอมพิวเตอรได
(IT Destination Tech Archive [00005] : 1)

ขอ มลู (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงของส่ิงตาง ๆ ท่ีอยูรอบตัวเรา ไมวาจะเปนคน สัตว
สง่ิ ของ สถานทต่ี าง ๆ ธรรมชาตทิ ว่ั ไป ลว นแลวแตมขี อมลู ในตนเอง ทาํ ใหเ รารูความเปนมา ความสําคัญ
และประโยชนข องสง่ิ เหลา น้นั ดงั น้นั ขอ มูลของทกุ ๆ สงิ่ จงึ มีความสาํ คัญมาก (ภริ มย เกตขุ วัญชัย,2552:1)

ขอมูล (data) หมายถึง ขอเท็จจริง (facts) หรือปรากฏการณธรรมชาติ (phenomena)
หรอื เหตุการณ (events) ทเ่ี กดิ ข้ึน หรือมอี ยูเ ปนอยูเองแลวตามปกติ และไดรับการตรวจพบและบันทึก
หรอื เกบ็ รวบรวมไวใชประโยชน หากขอเทจ็ จริง หรอื ปรากฏการณหรือเหตุการณเหลาน้ันไมมีผูใดได
พบเห็น ไดมกี ารบันทกึ รวบรวมไวด ว ยวธิ กี ารใดๆ กต็ าม ความเปน ขอมูลกไ็ มเ กดิ ขึ้น ตัวอยางเชน ทุก ๆ เชา
มนี กั ศึกษาเดินทางไปเรยี นคนทัง้ หลายไปทํางานมีลมพัดแรงบา ง เบาบา ง อากาศรอนบา งเย็นบา ง เปน ปกติ
แตหากมีใครบางคนทําการสังเกตแลวบันทึกวา โรงเรียนใดมีนักเรียนไปเรียนก่ีคนในแตละวัน
มผี โู ดยสารรถไปทํางานวนั ละก่คี น มีรถวิง่ กเ่ี ทย่ี ว ลมพัดดวยความเร็วเทาใด เวลาใด อุณหภูมิแตละวัน
สงู ต่าํ เพียงใด ซึ่งทตี่ รวจพบและบนั ทึกไวน ้ี เรียกวา ขอ มลู ไพโรจน ชลารกั ษ (2552 : 1)

ขอมูล หมายถึง ความจริงที่เกิดข้ึนซึ่งอาจจะเปนตัวเลขหรือขอความ หรือ
ประกอบดว ยขอมลู ทงั้ ขอความ และตัวเลข เชน

1. “นางกัลยา วานชิ ยบ ญั ชา จบปริญญาเอก สาขาสถิติ จาก University of Georgia
ประเทศสหรฐั อเมริกา” ซ่ึงเปน ขอ มูลทแี่ สดงความจรงิ ของนางกัลยา ซง่ึ อยใู นรูปขอความเพียงอยา งเดียว

2. “นางกัลยา วานิชยบ ญั ชา รบั ราชการเปนอาจารยท ี่จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั และมี
เงนิ เดือน 25,000 บาท” ซึ่งเปนขอ มลู ท่อี ยใู นรปู ขอ ความและตัวเลข

3. “ยอดขายรายวนั ของหางสรรพสนิ คา ก. ในสัปดาหท่ีผานมาเปน 5.4, 3, 4.1, 6, 3.5,
และ 4.3 ลานบาท” เปน ขอ มูลทอ่ี ยใู นรูปตัวเลข กลั ยา วานชิ ยบ ัญชา (2549 : 9)

สรุปไดวา ขอ มลู (Data) หมายถงึ ขอ เท็จจริงของคน สัตว วัตถสุ งิ่ ของที่ไดจ ากการสงั เกต
ปรากฏการณ การกระทํา หรอื ลกั ษณะตาง ๆ แลว นาํ มาบนั ทกึ เปน ตวั เลข สญั ลักษณ เสียง หรือภาพ

16

ชนิดของขอ มลู
1. จําแนกตามลักษณะของขอ มลู จาํ แนกออกไดเปน 2 ชนดิ คือ
1.1 ขอ มลู เชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ขอ มูลทีไ่ มสามารถบอกไดวามีคามาก

หรือนอย แตสามารถบอกไดวาดีหรอื ไมดี หรือบอกลักษณะความเปน กลมุ ของขอมูล เชน เพศ ศาสนา สีผม
อาชีพ คุณภาพสินคา ความพึงพอใจ ฯลฯ

1.2 ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึง ขอมูลที่สามารถวัดคาไดวามีคามาก
หรือนอย ซ่งึ สามารถวัดคาออกมาเปนตัวเลขได เชน อายุ สว นสงู นํา้ หนัก อุณหภมู ิ ฯลฯ

2. จําแนกตามแหลงทมี่ าของขอ มลู แบงออกไดเ ปน 2 ชนดิ คือ
2.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ขอมูลท่ีผูใชเปนผูเก็บรวบรวมขอมูลเอง เชน

การเก็บแบบสอบถาม การทดลองในหอ งทดลอง การสงั เกต การสัมภาษณ เปน ตน
2.2 ขอมลู ทุตยิ ภูมิ (Second Data) หมายถึง ขอมูลที่ผูใชน ํามาจากหนวยงานอื่นหรือผูอ นื่ ที่

ไดท าํ การเก็บรวบรวมไวแลวในอดีต เชน รายงานประจําปของหนวยงานตาง ๆ ขอมูลทองถ่ินซ่ึงแตละ
อบต. เปน ผรู วบรวมไว เปนตน

ตัวอยางขอมลู ในดา นตา ง ๆ
ขอมลู ดานภมู ศิ าสตร คอื ขอ มูลเก่ยี วกบั ความสมั พันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติกับ
สังคม เชน จํานวนประชากร ลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ เขตการปกครองตําบล/อําเภอ/
เทศบาล จังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม แรธาตุ แหลงนํ้า การคมนาคม ขนสงทางบก ทางน้ํา
ทางอากาศ สังคมและวัฒนธรรม เชน เช้ือชาติของประชากร การนับถือศาสนา การตั้งถิ่นฐานของ
ประชากร ความเชื่อ ขอบเขตของสถานที่ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ สภาพปญ หาและภัยธรรมชาติ
ขอมูลดา นประวัติศาสตร คือ ขอมูลเหตุการณท่ีเปนมาหรือเร่ืองราวของประเทศชาติตามท่ี
บันทกึ ไวเ ปนหลักฐาน เชน ประวตั คิ วามเปนมาของหมูบ าน/ชุมชน/ตาํ บล/จังหวัด สภาพความเปน อยูข อง
คนในอดีต การปกครองในอดตี สถานท่สี ําคัญทางประวัตศิ าสตร เปนตน
ขอมลู ดานเศรษฐศาสตร คอื ขอมูลการผลิต การบริโภค การกระจายสนิ คาและบริการ

17

ขอมูลดานการเมอื ง คือ กระบวนการและวธิ ีการ ที่จะนาํ ไปสกู ารตัดสินใจของกลุมคน คํานี้
มกั จะถูกนาํ ไปประยกุ ตใ ชก บั รัฐบาล แตกจิ กรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในทุกกลุมคนท่ีมี
ปฏิสมั พนั ธกนั ซง่ึ รวมไปถึงในบรษิ ทั แวดวงวชิ าการ และในวงการศาสนา

ขอ มูลดานการเมือง เชน ผูนาํ ชุมชน ผูนําทองถ่ิน อาสาสมัคร พรรคการเมือง คณะกรรมการ
เลอื กตั้ง การแบง เขตเลือกตั้ง องคการบริหารสวนตําบล การมีสวนรวมของประชาชน ในกิจกรรมทาง
การเมือง เปนตน

ขอ มูลดานการปกครอง เชน ผูบรหิ ารองคก รทองถ่ิน องคกรทอ งถิ่น ผูนําในดานตาง ๆ ของ
ทองถิ่น เชน กาํ นนั ผูใหญบ าน การแบงเขตการปกครอง ทีต่ ัง้ และอาณาเขตของการปกครอง

ขอมลู ดา นศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี
ดานศาสนา เชน ศาสนาท่ีประชาชนนับถือ ศาสนสถาน สถานท่ีต้ังศาสนสถาน วันสําคัญทาง
ศาสนา
ดานวัฒนธรรม เชน คานิยม ความเชื่อ ภาษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ ความรูและระบบ
การถา ยทอดความรู สภาพปญหาท่เี กยี่ วของกบั วฒั นธรรม
ดานประเพณี เชน การเกิด การบวชนาค การแตงงาน การทําบุญขึ้นบานใหม พิธีกรรมใน
วนั สาํ คญั สภาพปญ หาทเ่ี กยี่ วขอ งกับประเพณี
ขอมลู ดานหนา ทพ่ี ลเมือง
หนา ที่ หมายถึง ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่ตองปฏิบัติกิจท่ีตองทํา กิจท่ีควรทํา เปนส่ิงท่ี
กาํ หนดใหทาํ หรอื หามมใิ หกระทาํ
พลเมอื ง หมายถงึ พละกาํ ลงั ของประเทศซ่ึงมสี ว นเปนเจาของประเทศ
ขอมูลดานหนา ที่พลเมอื งเชน ความจงรักภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความรับผดิ ชอบ
ตอหนาท่ี ความมรี ะเบียบวนิ ัยความซื่อสตั ย ความเสียสละความอดทนการไมท าํ บาปความสามัคคีการรกั ษา
ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  การปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย การไปใชส ทิ ธิเ์ ลอื กต้ัง การพฒั นาประเทศ การปองกัน
ประเทศ การรับราชการทหาร การเสียภาษีอากร การชวยเหลือราชการ การศกึ ษาอบรม การพิทักษปกปอง
และสืบสานศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ และภูมิปญญาทองถ่ิน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอม

18

ขอ มูลดานสงิ่ แวดลอ ม ทรัพยากร
ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่งิ ตา ง ๆ ทอี่ ยรู อบตัวเรา ท้งั สงิ่ ท่มี ีชวี ิต ส่ิงไมมีชวี ติ เห็นไดด วยตาเปลา
และไมสามารถเหน็ ไดดว ยตาเปลา รวมทงั้ ส่ิงที่เกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาตแิ ละสิง่ ทีม่ นุษยเปน ผสู รา งขนึ้ หรือ
อาจจะกลาวไดว า ส่ิงแวดลอมจะประกอบดวยทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรที่มนษุ ยสรางขน้ึ ในชว ง
เวลาหน่ึงเพื่อสนองความตอ งการของมนุษยน ัน่ เอง
สง่ิ แวดลอ มที่เกิดข้นึ โดยธรรมชาติ ไดแก บรรยากาศ น้ํา ดนิ แรธาตุ และส่ิงมีชวี ติ ท่ีอาศัยอยู
บนโลก (พชื และสตั ว) ฯลฯ
สง่ิ แวดลอ มท่ีมนษุ ยสรา งขึน้ ไดแก สาธารณปู การตา ง ๆ เชน ถนน เขอ่ื นกัน้ น้ํา ฯลฯ หรือ
ระบบของสถาบันสงั คมมนษุ ยทด่ี ําเนินชวี ิตอยู ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ สง่ิ ตา ง ๆ (ส่ิงแวดลอ ม) ท่ีเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาตแิ ละมนษุ ย
สามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดนิ นํา้ ปา ไม ทงุ หญา สัตวป า แรธ าตุ พลังงาน และกาํ ลงั
แรงงานมนุษย เปนตน
ขอ มลู ดานส่งิ แวดลอม ทรพั ยากร ไดแ ก
1. กลมุ ขอ มูลดา นธรณวี ิทยา เชน โครงสรา งของโลก สวนประกอบของโลก คุณสมบัติของดนิ
แผน ดนิ ไหว ภูเขาไฟ น้ําพรุ อ น แหลงแร หิน และวฏั จกั ร การเคลือ่ นท่ีของแผนเปลือกโลก
2. กลุมขอ มูลทางทะเล เชน อุณหภมู ิของน้ําทะเล ตําแหนง ที่ตรวจวัดอุณหภูมิ ตัวเลขทีแ่ สดง
อณุ หภูมิ
3. กลมุ ขอมลู นเิ วศวิทยา เชน ตําแหนงทตี่ ั้งของสัตวหายาก สภาพภมู ิประเทศสภาพภูมิอากาศ
ท่มี ักพบสัตวหายาก ลักษณะการตัง้ ถ่นิ ฐาน ฤดกู าลทอ่ี พยพ
4. กลมุ ขอ มลู เกย่ี วกับนํ้า เชน ปริมาณฝนตก ปริมาณความชื้นสัมพัทธในอากาศ ตําแหนง
ทต่ี ้งั สถานีวดั ปริมาณน้าํ ฝนในแตล ะภาค
5. กลุม ขอมูลอากาศ เชน อุณหภูมิอากาศทร่ี ะดับความสงู ตา ง ๆ
6. กลมุ ขอ มลู เสน เชน ขอ มูลเสนรอบจังหวัด ขอมูลเสน ถนน และทางรถไฟ
7. กลุมขอมูลโทรสัมผัส (Remote Sensing) เชน ขอมูลภาพถายจากดาวเทียม ขอมูลทาง
ดาวเทยี มท่ีแสดงขอเท็จจรงิ ของสภาพพื้นทขี่ องเกาะ หรือภูเขา

ขอมลู ดา นสาธารณสุข เชน จาํ นวนโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานีอนามัยประจํา
ตําบล จาํ นวนแพทย พยาบาล เจา หนาท่สี าธารณสขุ จาํ นวนคนเกดิ คนตาย สาเหตุการตาย โรคท่ีพบบอย
โรคระบาด

19

ขอมลู ดา นการศึกษา เชน จํานวนสถานศกึ ษาในระดับตาง ๆ รายช่ือสถานศึกษา จํานวนครู
จํานวนนักเรียนในสถานศึกษาน้ัน ๆ จํานวนผจู บการศึกษา สภาพปญ หาดา นการศกึ ษา

1.2 ความสาํ คัญของขอ มลู
ความสําคญั ของขอ มลู ตอตนเอง
1. ทําใหม นษุ ยสามารถดํารงชวี ติ อยรู อดปลอดภยั มนุษยรูจักนําขอ มลู มาใชในการดํารงชีวิต
แตโ บราณแลว มนษุ ยร จู กั สงั เกตสิง่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูรอบตวั เชน สังเกตวาดนิ อากาศ ฤดกู าลใดทเี่ หมาะสมกับ
การปลูกพืชผักกินไดชนิดใด พืชชนดิ ใดใชเปน ยารักษาโรคได สะสมเปนองคค วามรแู ลวถายทอดสืบตอ
กนั มา ขอมูลตาง ๆ ทําใหมนุษยสามารถนําทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชเปนอาหาร ส่ิงของเคร่ืองใช ท่ีอยูอาศัย
และยารกั ษาโรค เพอื่ การดาํ รงชพี ได
2. ชวยใหเรามีความรูความเขาใจเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นรอบตัว เชน เร่ืองรางกาย จิตใจ
ความตอ งการพฤตกิ รรมของตนเอง และผอู ่นื ทําใหมนษุ ยส ามารถปรบั ตัวเอง ใหอ ยรู ว มกบั คนในครอบครัว
และสงั คมไดอยา งมีความสุข
3. ทําใหตนเองสามารถแกป ญหาตาง ๆ ทเ่ี กิดข้นึ ใหผ า นพนไปไดด วยดี การตดั สินใจตอการ
กระทําหรอื ไมก ระทาํ ส่ิงใด ท่ไี มมขี อมลู หรอื มขี อมูลไมถ ูกตองอาจทาํ ใหเกดิ การผิดพลาดเสียหายได
ความสาํ คัญของขอ มลู ตอ ชมุ ชน/สงั คม
1. ทําใหเ กิดการศกึ ษาเรยี นรู ซึง่ การศึกษาเปน สง่ิ จําเปนตอ การพัฒนาชุมชน/สังคมเปนอยางยิ่ง
ชุมชน/สงั คมใดท่มี ีผูไดรับการศกึ ษา การพฒั นากจ็ ะเขาไปสูชมุ ชน/สงั คมนน้ั ไดง ายและรวดเร็ว
2. ขอมลู ตา ง ๆ ทสี่ ะสมเปนองคค วามรนู นั้ สามารถรักษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน
ตอ ๆ ไปในชุมชน/สังคม ทําใหเกิดความรูความเขาใจ วฒั นธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตางสังคมได
กอใหเกิดการอยรู วมกันไดอยางสงบสุข
3. ชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆในดานตาง ๆ ท้ังทางดานเทคโนโลยี การศึกษา
เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณิชย ฯลฯ ทเี่ ปนพ้นื ฐานตอ การพัฒนาชมุ ชน/สังคม
1.3 ประโยชนของขอมูล

1. เพื่อการเรียนรู
2. เพอื่ การศึกษาคน ควา
3. เพือ่ ใชเ ปนแนวทางในการพฒั นา
4. เพอื่ ใชในการนํามาปรับปรุงแกไ ข
5. เพอ่ื ใชเปนหลกั ฐานสําคญั ตาง ๆ
6. เพือ่ การสอื่ สาร
7. เพื่อการตดั สินใจ

20

ขอ มูลในชีวติ ประจาํ วนั มีจาํ นวนมากท่นี าํ ไปใชป ระโยชนตา ง ๆ กนั เชน
ขอมูลภูมิอากาศ ใชป ระโยชนในดา นการพยากรณอากาศ
ขอ มูลประชากร ใชป ระโยชนท างดา นการวางแผนพัฒนาประเทศ
ขอมูลดานการเงนิ ใชประโยชนใ นการพัฒนาเศรษฐกจิ
ขอ มลู วทิ ยาศาสตร ใชป ระโยชนในดานการวิจัย
ขอมูลดา นทรพั ยากร ส่ิงแวดลอม ใชป ระโยชนใ นดา นการตดิ ตามสถานภาพของสง่ิ แวดลอม
การตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร การวางแผนการพัฒนาทองถ่ิน หรือการทองเที่ยว
การวางแผนการจดั การดา นสิง่ แวดลอม
ขอมูลดา นภูมิศาสตร ใชป ระโยชนในการประเมินคาความเสียหายของการเกิดภัยทางธรรมชาติ
ประเมินภาษีปาย โรงเรือน ท่ดี ิน วเิ คราะหก ารลงทุนสรา งสาธารณูปโภค

เรื่องท่ี 2 ขอ มลู ตนเอง ครอบครวั
2.1 ขอ มูลตนเอง คือ ขอมลู ความเปนตวั เราซง่ึ มีสิง่ ท่ีแสดงใหเ หน็ ถงึ ความแตกตางจากผูอ่ืน

ท้งั ภายนอกท่ีสามารถมองเห็นได เชน ชือ่ – นามสกุล วัน เดอื น ปเ กิด อายุ สัญชาติ เชื้อชาติ สถานภาพ สีผิว
รูปรา ง สว นสงู นา้ํ หนกั อาชีพ รายได และภายในตัวเรา เชน อารมณ บุคลิกลักษณะ ความคิดความรูสึก
และความเชอื่ เปน ตน

2.2 ขอมูลครอบครวั เปนขอ มูลของกลมุ คนตัง้ แต 2 คนข้นึ ไปทม่ี คี วามสัมพันธเกี่ยวของกัน
ทางสายโลหิต การสมรส หรอื การรับผอู ื่นไวใ นความอุปการะ เชน บตุ รบุญธรรม คนใช ญาติพ่ีนอง มาอาศัย
อยดู ว ยกันในครัวเรอื นเดียวกนั

ขอมูลครอบครัว เชน จํานวนสมาชิกในครอบครัว ขอมูลตนเองของทุกคนในครอบครัว
สภาพที่พักอาศัยและสิ่งแวดลอม ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน รายได – รายจายรวมของครอบครัว :
เดอื น ป เปน ตน

21

เรือ่ งที่ 3 ขอ มลู ชุมชน สังคม
3.1 ขอ มลู ชุมชน
ชุมชน หมายถึง อาณาเขตบริเวณหน่งึ ทมี่ ีกลมุ คนซึ่งมีวถิ ชี วี ิตเกี่ยวของกัน อาศัยอยูรวมกัน

มาเปนเวลานาน มีการติดตอสื่อสารกันเปนปกติอยางตอเน่ือง มีวัฒนธรรม ความเชื่อ จารีตประเพณี
เดียวกัน ใชสาธารณสถานและสถาบันรว มกัน

ชุมชนมีลักษณะหลายประการเหมือนกับสังคม แตมีขนาดเล็กกวา มีความสนใจรวมท่ี
ประสานสัมพนั ธก นั ในวงแคบกวา

ขอ มลู ชุมชน ประกอบดวยขอ มูลดานตา ง ๆ ดังน้ี คือ ขอมูลดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตรและ
ความเปน มา ขอ มูลดานเศรษฐกิจ – สังคม ขอมูลดานการเมืองและการปกครอง ขอมูลดานศาสนาและ
วัฒนธรรม และขอมูลดานสิ่งแวดลอม เปนตน

3.2 ขอ มลู สังคม
สังคม หมายถึง กลุมคนมากกวา สองคนขึน้ ไป อยอู าศัยรว มกนั เปน เวลาอนั ยาวนานในพื้นท่ี
ที่กาํ หนด คนในกลุมมีความสมั พนั ธเกยี่ วของกัน มีระเบียบแบบแผนรวมกันเพ่ือใหการดํารงอยูเปนไป
ดวยดี มีกิจกรรมรว มกัน มปี ระเพณีและวัฒนธรรมทเ่ี หมือนกันเปน แนวทางในการดําเนนิ ชีวิตอยูรวมกัน
ในสงั คมอยา งสงบสขุ
ขอมูลทางสังคม เชน ขอมูลดานการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี สาธารณสุข
อาชญากรรม สาธารณภัย ทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เศรษฐศาสตร การเมืองการปกครอง หนาท่ี
พลเมือง ประวัตศิ าสตร ภมู ิศาสตร เปนตน

22

กจิ กรรมบทท่ี 2

ใหผ เู รยี นทาํ กจิ กรรมตอ ไปนี้
1. ขอ มูล หมายถงึ อะไร
2. ขอ มลู มีความสาํ คัญอยา งไร
3. จงบอกถึงประโยชนข องขอ มลู
4. จงกรอกขอมูลตนเองลงในแบบพิมพท่ีกําหนด

ข้อมูลตนเอง

. ชือ-นามสกลุ ……………………………………………………………………..………………
เลขประจําตวั ประชาชน
เกิดวนั ท…ี ……..… เดือน ……………..…………. พ.ศ. ……..……….. อายุ ………….. ปี
สถานทีเกิด จงั หวดั ................................................................

. กลมุ่ เลอื ด.........................................................สีผิว.......................................................
3. สว่ นสงู .........................................เซนตเิ มตร นําหนกั .......................................กิโลกรมั
4. สญั ชาต.ิ ................................ เชือชาติ................................... ศาสนา..............................
5. ชือบิดา..................................................... มารดา..........................................................
6. สถานทีอยปู่ ัจจบุ นั

บ้านเลขที.....................หมทู่ ี...................หมบู่ ้าน/อาคาร..................................................
ถนน.....................................ตําบล.................................. อําเภอ....................................
จงั หวดั .....................................................รหสั ไปรษณีย์...................................................
หมายเลขโทรศพั ทบ์ ้าน................................หมายเลขโทรศพั ท์มือถือ................................
7. จบการศกึ ษาระดบั ...................................... จากสถานศกึ ษา...........................................
ตําบล..................................อาํ เภอ................................จงั หวดั .....................................
ปัจจบุ นั กําลงั ศกึ ษาระดบั ............................ทีสถานศกึ ษา................................................
ตําบล................................อาํ เภอ......................................จงั หวดั ..................................
. ประกอบอาชีพ............................................รายได้เดือนละ...............................................
สถานทีประกอบอาชีพ บริษัท/หนว่ ยงาน..........................................................................
ตําบล.....................................อําเภอ.....................................จงั หวดั ...............................
. สถานภาพ  โสด  สมรส  หยา่  หม้าย
. จํานวนบตุ ร........................................คน

23

บทท่ี 3

การจดั เกบ็ ขอ มลู และวเิ คราะหขอ มูล
สาระสําคญั

สังคมไทยในปจ จบุ นั มกี ารเปลยี่ นแปลงอยางรวดเรว็ ท้ังในดานขา วสาร เศรษฐกจิ
การประกอบอาชพี และการดําเนนิ ชวี ติ ในแตละวนั การพจิ ารณาตดั สินใจในการดาํ เนนิ ชวี ติ หรือ
ประกอบอาชพี จาํ เปน จะตองใชข อ มูลหลาย ๆ ดา น นํามาวเิ คราะหข อ มลู เพอ่ื หาแนวโนม
ผลการเรียนรูทค่ี าดหวัง

เมื่อศกึ ษาบทที่ 3 จบแลว ผเู รียนสามารถ
1. บอกวิธกี ารเก็บรวบรวมขอมูลและเกบ็ รวบรวมขอ มลู ได
2. วิเคราะหข อ มลู ได
3. นําเสนอขอ มลู ได
ขอบขายเนื้อหา
เร่อื งที่ 1 การจัดเก็บขอมลู
เร่ืองท่ี 2 การวเิ คราะหข อมลู
เรอื่ งที่ 3 การนําเสนอขอ มลู

24

เรื่องท่ี 1 การจดั เก็บขอมลู
การเกบ็ รวบรวมขอมูล เปน ข้ันตอนท่ใี หไ ดมาซึ่งขอมูลที่ตองการมีความหมายรวมทั้งการเก็บ

ขอ มลู ขน้ึ มาใหม และการรวบรวมขอมลู จากผอู ื่นทีไ่ ดเ กบ็ ไวแ ลว หรอื ไดร ายงานไวในเอกสารตา ง ๆ เพ่ือ
นาํ มาศกึ ษาตอไป

ตัวอยา ง เชน เมื่อตอ งการเกบ็ รวบรวมขอ มูลพ้นื ฐานเรื่องอาชีพและรายไดครัวเรือนของคนใน
หมบู าน อาจเริ่มตนดวยการออกแบบสอบถามสําหรับการไปสํารวจขอมูล เพื่อใหครอบครัวตาง ๆ ใน
หมูบานกรอกขอมูล มีการสงแบบสอบถามไปยังผูกรอกขอมูล เพ่ือทําการกรอกรายละเอียด มีการเก็บ
รวบรวมขอ มลู ซงึ่ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู มีเทคนิคและวธิ กี ารหลายวธิ ี ดงั น้ี

1. การเก็บรวบรวมขอ มลู จากรายงาน (Reporting System) เปนผลพลอยไดจากระบบการ
บรหิ ารงาน เปนการเกบ็ รวบรวมขอ มูลจากรายงานที่ทําไวห รือจากเอกสารประกอบการทํางานซ่ึงการเก็บ
รวบรวมขอ มูลจากรายงานสวนมากใชเ พียงครง้ั เดียว จากรายงานดงั กลาว อาจมีขอมูลเบ้ืองตน บางประเภท
ท่ีสามารถนาํ มาประมวลเปนยอดรวมขอ มลู สถิติได วิธีเก็บรวบรวมขอมูลจากรายงานของหนวยบริหาร
นบั วา เปน วิธีการรวบรวมขอ มูลสถติ ิโดยไมตอ งสน้ิ เปลอื งคาใชจายในการดาํ เนินงานมากนัก คาใชจายท่ี
ใชสวนใหญก็เพอื่ การประมวลผล พิมพแบบฟอรมตา ง ๆ ตลอดจนการพิมพรายงาน วิธีการน้ีใชกันมาก
ท้ังในหนวยงานรัฐบาลและเอกชน หนวยงานของรัฐท่ีมีขอมูลสถิติท่ีรวบรวมจากรายงาน ไดแก
กรมศุลกากร มีระบบการรายงานเกี่ยวกับการสงสินคาออก และการนําสินคาเขา และกระทรวงศึกษาธิการ
มีรายงานผล การปฏิบัติงานของโรงเรียนภายในสังกัด ซึ่งสามารถนํามาใชในการประมวลผลสถิติทาง
การศกึ ษาได

2. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู จากทะเบยี น (Registration) เปนขอมูลสถิติท่ีรวบรวมจากระบบ
ทะเบียน มีลักษณะคลายกบั การรวบรวมจากรายงานตรงท่ีเปนผลพลอยไดเชนเดียวกัน จะตางกันตรงที่
แหลงเบอื้ งตน ของขอมลู เปนเอกสารการทะเบียนซ่ึงการเกบ็ มีลกั ษณะตอ เน่อื ง มีการปรับแกห รอื เปลี่ยนแปลง
ใหถ ูกตอ งทันสมัย ทําใหไ ดสถติ ทิ ตี่ อเน่ืองเปน อนกุ รมเวลา ขอมลู ท่ีเก็บโดยวิธีการทะเบียน มีขอรายการ
ไมมากนัก เนื่องจากระบบทะเบียนเปนระบบขอมูลที่คอนขางใหญ ตัวอยางขอมูลสถิติท่ีรวบรวมจาก
ระบบทะเบยี น ไดแก สถิตจิ ํานวนประชากรท่ีกรมการปกครอง ดําเนินการเก็บรวบรวมจากทะเบียนราษฎร
ประกอบดวย จํานวนประชากร จาํ แนกตามเพศเปนรายจังหวัด อําเภอ ตําบล นอกจากทะเบยี นราษฎรแลว
ก็มีทะเบียนยานพาหนะของกรมตํารวจท่ีจะทําใหไดขอมูลสถิติจํานวนรถยนต จําแนกตามชนิดหรือ
ประเภทของรถยนต เปนตน

25

3. การเก็บรวบรวมขอ มูลโดยวธิ ีสํามะโน (Census) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติของทุก ๆ
หนวยของประชากรทีส่ นใจศกึ ษาภายในพน้ื ทท่ี กี่ ําหนด และภายในระยะเวลาที่กาํ หนด การเก็บรวบรวม
ขอ มลู สถิติดวยวิธีน้ี จะทําใหไ ดข อมลู ในระดับพ้นื ทีย่ อ ย เชน หมูบาน ตาํ บล อาํ เภอ และทําใหไดขอมูลที่
เปน คาจริง

ตามพระราชบัญญัติสถติ ิ พ.ศ. 2508 ไดบัญญัติไววา สํานักงานสถิติแหงชาติเปนหนวยงาน
เดียวท่ีสามารถจัดทําสาํ มะโนได และการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีการสํามะโน เปนงานท่ีตองใช
เงนิ งบประมาณ เวลาและกําลังคนเปน จํานวนมาก สวนใหญจะจัดทาํ สาํ มะโนทุก ๆ 10 ป หรือ 5 ป

4. การเก็บรวบรวมขอ มูลโดยวิธีสาํ รวจ (Sample Survey) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลสถิติ
จากบางหนว ยของประชากรดวยวิธีการเลือกตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูลสถิติดวยวิธีน้ี จะทําใหได
ขอมูลในระดับรวม เชน จังหวัด ภาค เขตการปกครอง และรวมทั่วประเทศ และขอมูลที่ไดจะเปนคา
โดยประมาณ การสํารวจเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีใชงบประมาณ เวลา และกําลังคนไมมากนัก
จึงสามารถจัดทาํ ไดเ ปน ประจาํ ทกุ ป หรอื ทุก 2 ป ปจ จบุ ันการสาํ รวจเปน วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู สถติ ิทีม่ ี
ความสาํ คัญ และใชก ันอยางแพรหลายมากท่สี ดุ ท้งั ในวงการราชการและเอกชน ไมวาจะเปนการสํารวจ
เพื่อหาขอมูลทางดานการเกษตร อุตสาหกรรม สาธารณสุข การคมนาคม การศึกษา และขอมูลทาง
เศรษฐกจิ และสงั คมอ่ืน ๆ เปนตน

5. วธิ ีการสังเกตการณ (Observation) เปนวิธีเก็บขอมูลโดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกิริยา
ทาทาง หรือเหตุการณ หรือปรากฏการณ ที่เกิดข้ึนในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไวโดยไมมีการ
สัมภาษณ วิธีนี้ใชกันอยางกวางขวางในการวิจัย เชน จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผูขับรถยนตบนทองถนน
ภายใตส ภาพการณจ ราจรตาง ๆ กัน กอ็ าจจะสงเจาหนาที่ไปยืนสังเกตการณได การสังเกตจํานวนลูกคา
และบนั ทกึ ปรมิ าณการขายของสถานประกอบการ โดยพนกั งานเก็บภาษขี องกรมสรรพากร เนอ่ื งจากการ
ไปสัมภาษณผปู ระกอบการถงึ ปริมาณการขาย ยอมไมไ ดข อ มูลที่แทจ ริง

6. วิธีการบันทึกขอมูลจากการวัดหรือนับ วิธีน้ีจะมีอุปกรณเพื่อใชในการวัดหรือนับตาม
ความจําเปนและความเหมาะสม เชน การนบั จาํ นวนรถยนตท ีแ่ ลนผานทจี่ ุดใดจุดหน่ึง ก็อาจใชเคร่ืองนับ
โดยใหรถแลน ผานเครอื่ งนบั หรอื การเก็บขอ มลู จํานวนผูมาใชบริการในหองสมุดประชาชน ก็ใชเครื่อง
นบั เมอื่ มีคนเดนิ ผานเคร่อื ง เปนตน

26

เรื่องท่ี 2 การวิเคราะหข อ มูล
การวิเคราะหขอมูลเปนข้ันตอนการนําขอมูลที่ไดมาประมวลผลและทําการวิเคราะหโดย

เลือกคาสถิตทิ ีน่ ํามาใชใหเ หมาะสม คา สถิตทิ นี่ ยิ มใชในการวเิ คราะหข อ มูล ไดแก
1. ยอดรวม (Total) คอื การนาํ ขอ มูลสถิตมิ ารวมกันเปนผลรวมทงั้ หมด เชน จํานวนนกั ศกึ ษา

กศน. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ในจังหวัดตราด จาํ นวนประชากรทั้งหมดในจงั หวดั ระยอง จาํ นวนคนท่ี
เปน ไขเลือดออกในภาคตะวนั ออก จํานวนคนวางงานทง้ั ประเทศ เปนตน

2. คาเฉลยี่ (Average, Mean) หมายถึง คาเฉล่ียซ่งึ เกิดจากขอมูลของผลรวมท้ังหมดหารดวย
จํานวนรายการของขอมูล เชน การวัดสวนสูงของนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา ศรช. บานเพ
จาํ นวน 10 คน วดั ไดเปน เซนติเมตร มดี ังนี้
คนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
สวนสงู 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171
สว นสงู โดยเฉลี่ยของนกั ศกึ ษา กศน. ระดบั ประถมศึกษา ศรช. บา นเพ คือ

= 155 165 152 170 163 158 160 168 167 171
10

= 1629

10

= 162.9 เซนติเมตร
3. สัดสวน (Proportion) คือ ความสัมพนั ธของจํานวนยอ ยกับจาํ นวนรวมทั้งหมด โดยใหถือวา

จาํ นวนรวมท้ังหมดเปน 1 สวน เชน การสาํ รวจการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษา-
ตอนตน จังหวัดนครนายก จํานวน 500 คน ลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาภาษาไทย จํานวน 300 คน
ลงทะเบียนเรียนในหมวดวชิ าภาษาอังกฤษ จํานวน 200 คน ดังนั้น สัดสวนของนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียน
ในหมวดวิชาภาษาไทย = 300 = 0.60

500

และสัดสว นของนักศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นเรียน
ในหมวดวิชาภาษาอังกฤษ = 200 หรอื 1- 0.60 = 0.40

500

4. อัตรารอยละหรือเปอรเซ็นต (Percentage or Percent) คือ สัดสวน เมื่อเทียบตอ 100
สามารถคํานวณได โดยนาํ 100 ไปคณู สัดสว นท่ตี องการหาผลลัพธก็จะออกมาเปน รอยละ หรอื เปอรเ ซ็นต

ตัวอยาง ใน กศน. อําเภอแหงหน่ึง มีนักศึกษาทั้งหมด 650 คน แยกเปนนักศึกษาระดับ
ประถมศึกษา จาํ นวน 118 คน นกั ศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 250 คน และนักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 282 คน เราจะหารอ ยละหรอื เปอรเ ซน็ ตข องนักศึกษาแตล ะระดบั ไดด งั น้ี

27

ระดบั ประถมศึกษา = 118 100 = 18.15 %
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน = 38.46 %
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 650 = 43.38 %
100 %
รวมทั้งหมด = 250 100

650

= 282 100

650

เรื่องที่ 3 การนาํ เสนอขอ มลู (Presentation of Data)
การนําเสนอขอ มลู (Presentation of Data)โดยทวั่ ไปแบงเปน 2 วธิ ี คอื การนําเสนอขอ มลู
อยา งไมเปนแบบแผน และการนําเสนอขอมูลอยา งเปน แบบแผน ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี
1. การนําเสนอขอ มลู อยา งไมเปนแบบแผน

การนาํ เสนอขอมูลอยางไมเ ปน แบบแผน หมายถงึ การนาํ เสนอขอมูลทไี่ มต อง
ถกู กฎเกณฑและแบบแผนอะไรมากนกั นยิ มใช 2 วธิ ี คือ
1.1 การนาํ เสนอขอ มลู ในรูปขอความ เปนการนําเสนอขอมูลโดยการบรรยายเกย่ี วกับ
ขอ มูลนัน้ ๆ เชน
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา อัตราสวนนักเรียนตออาจารยใน
ปการศึกษา 2548 คือ 19 ตอ 1 ในปการศึกษา 2549 อัตราสวน คือ 21 ตอ 1 และในปการศึกษา 2550
อัตราสวน คือ 22 ตอ 1 จะเหน็ ไดว า อัตราสว นของนกั เรยี นตอ อาจารย มีแนวโนม เพิ่มขึน้ อยางเห็นไดช ดั
1.2 การนาํ เสนอขอ มูลในรูปขอ ความกึง่ ตาราง เปน การนําเสนอขอมลู โดยการแยก
ขอ ความและตัวเลขออกจากกัน เพอื่ ไดเปรยี บเทียบความแตกตางของขอ มลู ไดชดั เจนยง่ิ ข้ึน เชน
จากการสํารวจตลาดสดแหง หนงึ่ ผลไมบ างชนิดขายในราคา ตอไปนี้
สม เขยี วหวาน กโิ ลกรัมละ 35 บาท
ชมพู กิโลกรัมละ 25 บาท

มะมว ง กโิ ลกรมั ละ 40 บาท
สับปะรด กิโลกรมั ละ 25 บาท
เงาะ กโิ ลกรัมละ 15 บาท
มังคดุ กิโลกรัมละ 25 บาท

28

2. การนาํ เสนอขอ มลู อยางเปน แบบแผน
การนําเสนอขอมูลอยางเปน แบบแผน เปนการนาํ เสนอท่จี ะตองปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑ
ท่ีไดกําหนดไวเปนมาตรฐาน ตัวอยางการนําเสนอแบบน้ี เชน การนําเสนอในรูปตาราง กราฟ และ
แผนภูมิ เปน ตน
2.1 การนําเสนอในรูปตาราง (Tabular Presentation) ขอมูลตา ง ๆ ทีเ่ กบ็ รวบรวมมาได
เม่อื ทาํ การประมวลผลแลว จะอยูใ นรปู ตาราง สว นการนาํ เสนออยา งอ่ืนเปนการนาํ เสนอโดยใชข อมูล
จากตาราง จาํ นวนขาราชการ ในโรงเรยี นแหงหนงึ่ มี 22 คน จาํ แนกตามคณุ วุฒสิ ูงสุด ดังนี้

คุณวฒุ ิสูงสุด จํานวนขาราชการ(คน)
ปรญิ ญาเอก 1
ปริญญาโท 16
ปริญญาตรี 5
ตํ่ากวา ปรญิ ญาตรี 0
22
รวม

2.2 การนําเสนอดวยกราฟเสน (Line graph) เปนแบบที่รูจักกนั ดแี ละใชก นั มากท่ีสุด
แบบหน่งึ เหมาะสาํ หรบั ขอมลู ท่อี ยูในรปู ของอนุกรมเวลา เชน ราคาขาวเปลอื กในเดือนตาง ๆ ปรมิ าณ
สนิ คาสง ออกรายป ราคาผลไมแตล ะป เปน ตน
ราคาขายปลกี ลองกอง ท่ตี ลาดกลางผลไมต าํ บลตะพง 5 ป มีดังน้ี

ป พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552

ราคา (บาท) : กโิ ลกรมั 120.- 95.- 80.- 65.- 40.-

สามารถนําเสนอแนวโนม ของราคาขายปลีกลองกอง 5 ป ดว ยกราฟเสน ไดดงั นี้

29

ราคา ราคาลองกอง

140

120

100

80

60

40

20

0
พ.ศ. 2548 พ.ศ.2549 พ.ศ.2550 พ.ศ.2551 พ.ศ.2552

2.3 การนาํ เสนอดว ยแผนภูมแิ ทง (Bar Chart) ประกอบดวยรปู แทงสเี่ หลี่ยมผนื ผา ซ่ึงแตละแทง
มคี วามหนาเทา ๆ กัน โดยจะวางตามแนวตงั้ หรือแนวนอนของแกนพกิ ดั ฉากกไ็ ด

ตัวอยาง นกั ศกึ ษา กศน. ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ในภาคตะวันออกที่สอบผานในหมวด
วิชาคณติ ศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย และพฒั นาสงั คมและชมุ ชน

นกั ศกึ ษา กศน .ม.ตน้ ทสี อบผา่ น
คน

8000 5600 6734
หมวดวชิ า
7000 2350 2135 2035
6000
5000 คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
4000 ร์
ภาษา ัองกฤษ
3000 ษ
ภาษาไทย
2000 ัพฒนาสังคมฯ
1000

0

30

ตัวอยา ง จํานวนนกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นเรยี นหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษา-
ขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในจังหวดั ชลบรุ ี และจงั หวดั ระยอง แบง ตามระดบั การศกึ ษา

คน 700 ประถม
ม.ตน
600 ม.ปลาย
500
400 ระยอง จงั หวัด
300
200
100

0
ชลบรุ ี

2.4 การนําเสนอดว ยรปู แผนภมู วิ งกลม (Pie Chart) เปน การแบงวงกลมออกเปนสวนตาง ๆ
ตามตวั อยางแผนภมู ิแสดงผลการสอบของนักศกึ ษาท่สี อบผานจาํ แนกตามหมวดวิชา

พัฒนาสังคมฯ นกั ศกึ ษา กศน.ม.ตน ท่ีสอบผา น คณติ ศาสตร
วิทยาศาสตร
36% คณิตศาสตร ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย
12% พฒั นาสังคมฯ

วิทยาศาสตร

11%

ภาษาองั กฤษ

11%

ภาษาไทย

30%

31

กิจกรรมบทท่ี 3

ใหผเู รยี นทาํ กิจกรรมตอ ไปน้ี
ขอ 1 ถาครูตองการศกึ ษาพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ ของนกั ศกึ ษา ครคู วรจะเกบ็ รวบรวม

ขอ มูลดวยวิธใี ดจึงจะเหมาะสม
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ขอ 2 ใหผ ูเ รียนเกบ็ รวบรวมขอมูลครอบครวั ของตนเองตามแบบสาํ รวจ ตอไปน้ี

แบบสาํ รวจขอมูลครอบครวั
1. จาํ นวนสมาชกิ ในครอบครวั ........................คน
2. หัวหนา ครอบครัว
2.1 ช่ือ................................................อาย.ุ .............ป
2.2 อาชพี หลกั ......................................รายไดต อ ป....................บาท
2.3 อาชีพรอง/อาชพี เสรมิ ..............................รายไดตอป............บาท
2.4 รายไดร วมตอ ป.................................บาท
2.5 การศึกษาสงู สุดของหวั หนา ครอบครัว..................................................
2.6 บทบาทในชุมชน (กาํ นัน, ผใู หญบา น, สมาชิก อบต. ฯลฯ)...................................................
3. โปรดใสร ายละเอยี ดเก่ียวกบั สมาชกิ ภายในครอบครัวทกุ คนทอี่ าศัยอยรู ว มกนั ในตารางตอ ไปน้ี

ความสัมพันธ อาชีพ อาชีพรอง/ รายไดเ ฉล่ยี การศกึ ษา กาํ ลัง บทบาทใน

ชอ่ื – ชอ่ื สกุล อายุ กับหวั หนา หลัก เสริม ตอ ป สูงสดุ ศกึ ษา ชุมชน

ครอบครวั ระดบั

32

4. การถือครอง/การใชป ระโยชนของทด่ี นิ  มี  ไมมี
การถอื ครองทด่ี นิ  เปน ของตนเอง  รบั การจดั สรรจากทางราชการ
การใชประโยชนทด่ี ิน คอื .......................................................................
ปญหาทีด่ ิน...........................................................................................

5. การเพาะปลูกพืช/การกระจายผลผลติ .......................................................
จากการขาย................................................................บาท/ป

6. การเล้ยี งสตั ว/การกระจายผลผลิต.............................................................
รายไดจ ากการขาย...................................................บาท/ป

7. รายไดเ งินสด จากการทําการเกษตร และนอกเหนือจากการทําการเกษตร
รายไดเ งนิ สดจากการทําการเกษตร...............................................บาท/ป
รายไดเ งนิ สดนอกเหนือจากการทาํ การเกษตร................................บาท/ป

8. รายจายหลกั ในการประกอบอาชพี ................................................บาท/ป
รายจายประจาํ เดอื นภายในครวั เรือน............................................บาท/ป
รายจา ยอืน่ ๆ..............................................................................บาท/ป

9. ครอบครวั ของทาน มคี วามเช่ยี วชาญ หรือความสามารถพเิ ศษ ในเรอื่ งใดบาง
........................................................................................................................................

10. ความตอ งการในการพฒั นาอาชีพ/ฝกอาชีพ/ประกอบอาชพี
.........................................................................................................................................

ขอ 3 จากขอมูลการสอบปลายภาคเรียน หมวดวิชาภาษาไทย นักศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา
จํานวน 7 คน ไดค ะแนนดงั นี้ 33 36 25 29 34 28 37 จงหาคะแนนเฉลี่ยของหมวดวิชาภาษาไทย
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ขอ 4 ในชมุ ชน ๆ หนง่ึ มผี ูประกอบอาชพี เล้ยี งไก 26 คน เลี้ยงววั 30 คน ทาํ ไรขาวโพด
15 คน ทําสวนผลไม 50 คน จงนาํ เสนอขอ มูลในรูปของตาราง
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

33

บทท่ี 4
การมสี วนรว มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม

สาระสาํ คัญ
การพฒั นาตนเอง การพฒั นาครอบครวั นาํ ไปสูก ารพัฒนาชุมชน และการเขาไปมีสวนรวม

ในการวางแผนพฒั นาทุกภาคสวนของสังคม โดยการเขา รว มแสดงทศั นะ รว มเสนอปญ หาในประเดน็
ทีเ่ กย่ี วของ รวมวางแนวทาง รว มแกไขปญหา และรวมในกระบวนการตัดสนิ ใจ เปน แรงบนั ดาลใจในการ
สรางสรรคส งิ่ ที่ดีงาม และเกดิ ประโยชนสูงสดุ ตอ สังคมและประเทศชาติ
ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง

เมื่อศึกษาบทที่ 4 จบแลว ผูเรียนสามารถ
1. รูแ ละเขา ใจวิธกี ารวางแผนพฒั นาตนเอง พัฒนาครอบครัวและการพัฒนาชมุ ชน
2. มสี วนรว มในการจดั ทาํ แผนพัฒนาชุมชนและสงั คม
ขอบขายเน้อื หา
เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผน
เรื่องท่ี 2 การมสี ว นรว มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม

34

เรอ่ื งที่ 1 การวางแผน
แผนเปนสิ่งท่ีแสดงใหเห็นวาองคกรพยายามที่จะทําส่ิงที่ทําอยูใหไดผลออกมาดีที่สุดและ

ประสบความสําเรจ็ ฉะนนั้ การวางแผนเปนการตัดสนิ ใจลว งหนา กอนเหตุการณน ั้นเกิดข้ึนจรงิ
การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกาํ หนดวตั ถุประสงค เพอื่ การตดั สินใจ

เพื่อเลอื กแนวทางในการทํางานใหด ที ีส่ ดุ สําหรบั อนาคตและใหองคกรไดบ รรลุตามวัตถุประสงค
ความสาํ คัญของการวางแผน
1. เพอื่ ลดความไมแ นนอนและความเสีย่ งใหเหลือนอ ยท่สี ดุ
2. สรา งการยอมรบั ในแนวคดิ ใหม ๆ
3. เพือ่ ใหก ารดําเนินงานบรรลุเปา หมาย
4. ลดขัน้ ตอนการทํางานทซ่ี ับซอน
5. ทาํ ใหเ กดิ ความชดั เจนในการทาํ งาน
วตั ถปุ ระสงคใ นการวางแผน
1. ทําใหรทู ิศทางในการทาํ งาน
2. ทาํ ใหลดความไมแนนอนลง
3. ลดความเสียหายหรือการซ้ําซอ นของงานทีท่ ํา
4. ทําใหรูมาตรฐานในการควบคุมใหเปนไปตามทกี่ ําหนด
ขอดีของการวางแผน
1. ทาํ ใหเกดิ การปรบั ปรงุ การทาํ งานใหด ีข้ึน
2. ทาํ ใหเ กดิ การประสานงานดยี ่งิ ขึ้น
3. ทาํ ใหการปรบั ปรงุ และการควบคุมดขี ้ึน
4. ทําใหเ กดิ การปรบั ปรงุ การบริหารเวลาใหด ีขึน้ ซงึ่ เปน สวนที่สาํ คัญที่สุดในการวางแผน
หลกั พน้ื ฐานการวางแผน
1. ตอ งสนบั สนนุ เปาหมายและวัตถปุ ระสงคข ององคก ร
2. เปน งานอันดบั แรกของกระบวนการจดั การ
3. เปน หนาท่ีของผูบริหารทุกคน
4. ตองคํานงึ ถงึ ประสทิ ธภิ าพของแผนงาน

กระบวนการในการวางแผน 35
กําหนดวตั ถปุ ระสงค กําหนดขอ ตกลงตาง ๆ ท่ี
เปนขอบเขตในการวางแผน

พจิ ารณาขอ จาํ กดั ตา ง ๆ ที่
อาจเกิดขน้ึ ในการวางแผน

นาํ แผนสกู ารปฏิบตั ิ พัฒนาทางเลือก
- ทาํ ตารางการปฏบิ ตั ิงาน (แสวงหาทางเลือก)
- มาตรฐานการทาํ งาน ประเมนิ ทางเลือก
- ปรับปรงุ / แกไข (พจิ ารณาความเสีย่ ง)

ลกั ษณะของแผนทด่ี ี
1. มีลักษณะช้เี ฉพาะมากกวา มลี กั ษณะกวาง ๆ หรือกลาวทวั่ ๆ ไป
2. มกี ารจาํ แนกความแตกตางระหวา งสิง่ ที่รแู ละไมร ูใหช ัดเจน
3. มกี ารเช่ือมโยงอยา งเปนเหตุเปนผล และสามารถนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด
4. มีลักษณะยืดหยนุ สามารถปรบั ปรุงและพฒั นาได
5. ตองไดร ับการยอมรบั จากกระบวนการท่ีเกยี่ วของ

36

ตัวอยา งแผนการมสี ว นรว มของประชาชน (คนเกบ็ ขยะ)
การทํางานของเทศบาลนครพิษณุโลก จะเนนที่การมีสวนรวมของประชาชน นอกจากจะให
ประชาชนรว มคดิ เชน การใหป ระชาชนมสี ว นในการทําแผนพัฒนาเทศบาลแลว ยังไดขยายลงไปถึงการทํา
แผนพัฒนาชุมชนประจําป ซ่ึงเปนการจัดทําประชาคม ใหสมาชิกในชุมชนมีสวนรวมในการทํา
แผนพฒั นาชมุ ชนของตวั เองและไดเ รียงลาํ ดับความสาํ คญั หรอื ความตอ งการของชุมชนนั้น ๆ
ประชาชนเขามามีสวนรวมต้ังแตขั้นตอนการวางแผน ทางเทศบาลไดมีการจัดทําแผนเฉพาะ
การจัดการขยะมลู ฝอยของเทศบาล โดยใหป ระชาชนและผทู ี่เก่ยี วของทง้ั หมดเขา มามีสว นรว มในการทาํ แผน
และไดเ รมิ่ ขยายการจดั ทาํ แผนการจดั การขยะมลู ฝอยลงในชมุ ชนบางแหง มีการอบรมใหความรูดานการ
จดั การขยะมูลฝอยแกประชาชนในชมุ ชนและกลมุ ตา ง ๆ เชน ชมรมสตรีอาสาพัฒนา กลุมผูประกอบการ
อาหาร สถานศึกษาในพ้ืนที่ กลุมเยาวชน กลุมออกกาํ ลงั กายเพือ่ สุขภาพ ฯลฯ พรอมท้งั ขอความรว มมือใน
การจัดการขยะมูลฝอย เชน ชว ยในการคดั แยกของขายได (หรอื ขยะรีไซเคิล) ระดับครัวเรอื น ชว ยคดั แยก
ขยะอนิ ทรียหรอื ขยะชีวภาพ ทําปยุ หมกั ที่บา นหรือรวมมือกนั ทําระดับชมุ ชน ชว ยจัดหาถังขยะของแตละ
ครัวเรือนเอง นาํ ถังขยะออกมาใหสัมพันธกับเวลาจัดเก็บ ทําใหชุมชนปลอดถังขยะหรือถนนปลอดถังขยะ
เทศบาลสามารถลดความถ่ีในการจัดเก็บขยะมูลฝอยลงได บางชุมชนนัดหมายเทศบาลมาเก็บขยะสัปดาห
ละคร้ัง หรืออยางนอยก็สามารถลดลงไดเปนวันเวนวัน ทั้งยังใหความรวมมืออยางดีในการชําระ
คาธรรมเนยี มขยะมูลฝอย
ภาครัฐควรใสใจและทําการประชาสมั พนั ธและรณรงค เพื่อส่อื สารทําความเขาใจกับประชาชน
รวมทัง้ ขอความรว มมือจากประชาชน ถาประชาชนเขาใจและเหน็ ประโยชนท ่ีจะเกิดขนึ้ ท้งั ตอตนเองและ
สว นรวมแลว จะสงผลใหเ กดิ ความรว มมือเปนอยางดี ทําใหการงานตาง ๆ สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค
และกอ ใหเ กิดประโยชนต อ ทุกฝาย

เรื่องที่ 2 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม
การมสี วนรวม หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในทุกขั้นตอนของการ

พัฒนาทั้งในการแกไขปญหาและปองกนั ปญ หา โดยเปด โอกาสใหม สี วนรว มในการคดิ รเิ ร่ิม รวมกําหนด
นโยบาย รว มวางแผน ตัดสนิ ใจและปฏบิ ตั ติ ามแผน รว มตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับรวมติดตาม
ประเมินผลรับผิดชอบในเร่ืองตาง ๆ อันมีผลกระทบกับประชาชน ชุมชนและเครือขายทุกรูปแบบใน
พนื้ ที่

การมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) หมายถึง กระบวนการที่ประชาชนและ
ผูทเี่ กยี่ วของมโี อกาสไดเขารวมในการแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหา ประเด็นสําคัญท่ีเกี่ยวของ รวมคิด
แนวทาง รวมแกไ ขปญหาและรวมในกระบวนการตัดสินใจ

37

ประชาชนกับการมีสว นรว มในการพัฒนาสังคม
มนุษยถ ูกจดั ใหเ ปน ทรพั ยากรทีม่ ีคณุ ภาพทีส่ ุดในสงั คม และยงั เปนองคประกอบที่ถูกจัดให
เปนหนวยยอยของสังคม สงั คมจะเจริญหรอื มกี ารพฒั นาไปไดหรอื ไมข้นึ อยูกับคณุ ภาพของประชาชน
ท่เี ปนองคป ระกอบในสังคมน้ัน ๆ
การท่ีสังคมจะพัฒนาไดอยางมีคุณภาพจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองเร่ิมตนที่จะทําการพัฒนา
หนวยที่ยอยที่สุดของสังคมกอน ซึ่งไดแก การพัฒนาคน การพัฒนาในลําดับตอมาเร่ิมกันท่ีครอบครัว
และตอยอดไปจนถึงชุมชน สงั คม และประเทศ
1. การพฒั นาตนเอง และครอบครวั
การพฒั นาตนเอง หมายถงึ การพัฒนาตนเองดว ยตนเอง หรือการสอนใจตนเองในการสราง
อุปนิสัยท่ดี ี ซึง่ จะสง ผลใหเกดิ ประโยชนตอ ตนเองและทําใหสงั คมเกดิ ความสงบสุข
การเปด โอกาสใหทุกคนทกุ กลุม ในหมบู า นมสี ว นเกีย่ วขอ งในการตดั สินใจทจ่ี ะดาํ เนนิ การใด ๆ
เพอื่ หมูบ า น แตละคนตองเขามามีสวนรวม ซึ่งลักษณะการทํางานดังกลาวจะมีลักษณะของ “หุนสวน”
ระหวางเจาหนา ทรี่ ัฐกบั ประชาชน ซ่ึงจะเปน ผไู ดร ับผลจากการพัฒนา การทํางานลักษณะนี้จะตองอาศัย
ประชาชนทกุ คนมามีสวนรว มตั้งแตก ารตัดสนิ ใจการดาํ เนินงาน การตรวจสอบผลงาน และการประเมินผลงาน
ดงั น้นั ประชาชนแตละคนตองเพิ่มความรู ความสามารถพัฒนาตนเองใหเปนผูรอบรู เพื่อชวยกันแสดง
ความคดิ เห็นทีเ่ ปนประโยชนแ กส วนรวม
การพฒั นาครอบครวั หมบู า น ตําบล อาํ เภอ จงั หวัด และประเทศ การพฒั นาสงั คมในหนว ยยอ ย
นาํ ไปสูก ารพัฒนาสงั คมท่ีเปนหนวยใหญ มักจะมีจุดเร่ิมตนท่ีเหมือนกัน คือ การพัฒนาที่ตัวบุคคล ซ่ึง
บุคคลเหลา นจี้ ะกระจายอยูตามสงั คมตา ง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงประชาชนจํานวนมาก มักจะอาศัยอยูตาม
ชนบท ถา ประชาชนเหลานไ้ี ดรบั การพฒั นาใหเปน บุคคลท่มี ีจิตใจดีงาม มีความเอื้อเฟอ มีคุณธรรม รูจัก
การพ่งึ พาตนเอง มีความรว มมือรว มใจ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรค มีความเชอ่ื มั่นในภมู ปิ ญ ญาของตนเอง
และพรอมท่ีจะรับความรูใหม ๆ เชน ดานวิชาการ วิชาชีพ หรือแมกระท่ังขาวสารขอมูลท่ีจะเปน
ประโยชนตอตนเองและสังคมแลว ประชาชนเหลาน้ีก็จะเปนกลุมคนที่มีคุณภาพและมีคุณคาตอ
สงั คมไทย ซึง่ สามารถเปนตวั ขบั เคลื่อนความเจริญกา วหนา ใหแกป ระเทศในอนาคต
การพัฒนา ไมวาจะเปนชนบทหรอื ในเมือง ถาไดม กี ารฝก ใหคนไดม ีความสามารถและมีการ
เรยี นรทู ีจ่ ะเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน นับไดวาเปนปจจัยพ้ืนฐานท่ีสําคัญ ซ่ึงการพัฒนาคนท่ีดี
ทส่ี ุด คือ การรวมกลุมประชาชนใหเปน องคก ร เพ่ือพัฒนาคนในกลุม เพราะกลมุ คนน้ัน จะกอใหเกิดการ
เรียนรู ฝกการคดิ และการแกปญ หา หรือกลมุ ท่ฝี ก ฝนดานบุคลกิ ภาพของคน ฝกในการทํางานรวมกัน ซึ่งจะ
ชว ยใหค นไดเ กดิ การพัฒนาในดานความคดิ ทศั นคติ ความมเี หตุผล ซ่ึงเปนรากฐานท่ีสําคัญของระบอบ
ประชาธิปไตย

38

2. การพฒั นาชมุ ชน และสงั คม
การพฒั นาชุมชน และสังคม หมายถึง การทํากิจกรรมท่ีมีผลตอคุณภาพชีวิตของทุกคนใน

ชุมชนรวมกัน ดังน้ันการพัฒนาชุมชนและสังคม จึงตองใชการมีสวนรวมของประชาชน รวมกันคิด
เก่ียวกับปญหาตาง ๆ เชน ยาเสพติด ส่ิงแวดลอมท่ีถูกทําลาย ปญหาที่ไมพึงประสงคอ่ืน ๆ ตัดสินใจ
รว มกนั ในกิจกรรมทีเ่ ปน ปญหาสว นรวม เหตทุ ่ีตองใหป ระชาชนเขา มามสี วนรว ม เนอื่ งจากประชาชนรูวา
ความตอ งการของเขาคืออะไร ปญหาคืออะไร และจะแกป ญหานัน้ อยางไร ถา ประชาชนชว ยกนั แกป ญ หา
กจิ กรรมทกุ อยางจะนาํ ไปสคู วามตอ งการทแ่ี ทจรงิ

หลกั การพัฒนากับการมีสว นรว มของประชาชน
1. การมีสวนรว มในการคนหาปญหาและสาเหตุของปญหา

เปน ขั้นตอนท่สี ําคญั ท่ีสดุ เพราะถา ประชาชนไมส ามารถเขาใจปญหาและหาสาเหตุของ
ปญหาดวยตนเองไมไ ด กจิ กรรมตาง ๆ ที่ตามมากจ็ ะไมเ กดิ ประโยชน เนื่องจากประชาชนขาดความรู
ความเขาใจ และไมสามารถมองเหน็ ความสําคญั ของกิจกรรมน้นั

สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ประชาชนที่อยูกับปญหาและรูจักปญหาของตนเองดีท่ีสุด แตอาจ
มองปญ หาไมอ อกน้ัน อาจจะขอความรวมมือจากเพ่ือนหรือขาราชการทีร่ ับผิดชอบในเร่ืองนั้น ๆ มาชวย
วเิ คราะหป ญ หาและหาสาเหตุของปญหา

2. การมสี ว นรว มในการวางแผนการดาํ เนินงาน
ในการวางแผนการดําเนนิ งานหรือกจิ กรรม เจาหนาท่ขี องรฐั ควรทจี่ ะตอ งเขาใจประชาชน

และเขา ไปมีสวนรวมในการวางแผน โดยคอยใหคําแนะนํา ปรึกษา หรือช้ีแนะกระบวนการดําเนินงาน
ใหก บั ประชาชนจนกวาจะเสรจ็ สนิ้ กระบวนการ

3. การมสี ว นรวมในการลงทนุ และปฏิบัติงาน
เจาหนาท่ีรัฐควรจะชวยสรางแรงบันดาลใจและจิตสํานึกใหประชาชน โดยใหรูสึกถึง

ความเปน เจา ของใหเกดิ สาํ นึกในการดแู ลรกั ษาหวงแหนส่ิงนน้ั ถา การลงทุนและการปฏิบัติงานทั้งหมด
มาจากภายนอก ในกรณีท่เี กดิ ความเสียหายประชาชนจะไมรูสาํ นึกหรอื เดือดรอ นตอความเสยี หายทีเ่ กดิ ขน้ึ
เพราะไมเ ดอื ดรอนเนื่องจากไมใ ชข องตนเองจึงไมม ีการบํารุงรักษา ไมตอ ง หวงแหน

นอกจากจะมีการเขามามสี ว นรว มในการปฏบิ ตั ิงานดว ยตนเองจะทาํ ใหเ กดิ ประสบการณต รง
โดยเรียนรูจากการดําเนนิ กิจกรรมอยา งใกลช ดิ และสามารถดําเนินกิจกรรมชนิดนั้นดวยตนเองตอไปได
นอกเหนือจากการพัฒนาตนเองในดานบุคลิกภาพ อารมณ สังคม สติปญญาแลว บุคคลควรมีคานิยมท่ี
เก้ือหนุนในการพัฒนาสังคมอีกดวย ไดแก การมีระเบียบวินัย ความอดทน ขยันขันแข็ง มานะอดออม
ไมสุรยุ สรุ าย ซื่อสัตย การเออื้ เฟอ เผือ่ แผ ตรงตอเวลา

39

4. การมสี วนรวมในการตดิ ตามและประเมนิ ผลงาน
ควรใหประชาชนไดเขา มามีสวนรวมในการติดตามและประเมนิ ผลงาน เพื่อทจ่ี ะสามารถ

บอกไดวางานทท่ี าํ ไปนั้นไดร ับผลดเี พยี งใด กอ ใหเ กดิ ประโยชนห รอื ไม ดังนั้น ในการประเมินผลควรท่ี
จะตอ งมที ั้งประชาชนในชมุ ชนนน้ั และบุคคลภายนอกชมุ ชนชวยกันพิจารณาวา กิจกรรมท่ีกระทําลงไป
นน้ั เกิดผลดหี รือไมด ีอยา งไร ซึ่งจะทําใหประชาชนเหน็ คณุ คา ของการทํากจิ กรรมนัน้ รวมกัน

ตัวอยา งที่ 1 การมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรกั ษว ัฒนธรรม
ในการอนรุ ักษว ฒั นธรรมดง้ั เดิมของหมูบานวัฒนธรรมถลาง บานแขนน หมบู านวัฒนธรรมถลาง

จงั หวดั ภูเก็ต จัดเปน หมูบา นที่สืบสานความรดู ัง้ เดมิ ของภเู กต็ ต้งั แตสมัยทาวเทพกระษัตรี อีกท้ังวัฒนธรรม
ในการปรุงอาหารซึ่งเปนอาหารตํารับเจาเมืองในสมัยโบราณของภูเก็ต และศิลปวัฒนธรรมดานนาฏศิลป
ของภูเก็ต เชน การรํามโนราห ไดมกี ารถา ยทอดและเปด โอกาสใหผ ทู ่สี นใจเขารว มสืบสานวฒั นธรรมดง้ั เดิม
และสามารถท่ีจะพฒั นาเปนชุมชนท่ีมคี วามเขมแข็ง ซงึ่ เปนผลสบื เนือ่ งมาจากการสงเสริมการมีสวนรวม
ของประชาชนในการสบื สานวัฒนธรรมทองถิ่นใหอยูอยางยง่ั ยืน

ตวั อยา งท่ี 2 การมสี วนรว มของประชาชนในการอนุรักษส่ิงแวดลอมในเขตวนอุทยานแหงชาติสิรินาถ
จงั หวัดภเู กต็
เปนผลสบื เน่ืองจากการบุกรกุ ทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการเขาไปขุดคลอง

การปลอ ยนํา้ เสยี จากสถานประกอบการ สงผลใหป ระชาชนท่ีอยบู ริเวณโดยรอบไดรบั ผลกระทบเสียหาย
จากการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทําใหประชาชนและภาครัฐ ไดเขามามีสวนรวมใน
การจัดระบบการบําบัดนํ้าเสีย และการขุดลอกคูคลอง เพื่อปองกันและอนุรักษส่ิงแวดลอมใหคงอยูใน
สภาพท่ีเปน ธรรมชาตติ อไป

ตวั อยา งที่ 3 การบรหิ ารจดั การของเสยี โดยเตาเผาขยะและการบาํ บัดของเสียของเทศบาลนครภูเก็ต
จงั หวัดภูเกต็
สบื เนือ่ งจากปรมิ าณขยะทีม่ ีมากถึง500 ตนั ตอ วนั ซงึ่ เกินความสามารถในการกําจดั โดยเตาเผาที่

มีอยูสามารถกําจัดขยะได 250 ตนั ตอ วัน หลมุ ฝง กลบของเทศบาลมเี พียง 5 บอ ซ่ึงถูกใชงานจนหมด และไม
สามารถรองรบั ขยะไดอีก

ประชาชนไดเขาไปมีสวนรวมโดยใหความรวมมือในการคัดแยกขยะกอนท้ิง ซ่ึงแยกตาม
ลักษณะของขยะ เชน

40

1. ขยะอินทรยี  หรือขยะเปยกที่สามารถยอ ยไดต ามธรรมชาติ เทศบาลนครภูเก็ต ไดนําไปทํา
ปุยหมกั สําหรับเกษตรกร

2. ขยะรไี ซเคลิ เชน แกว พลาสตกิ กระดาษ ทองแดง เปนตน นําไปจําหนาย
3. ขยะอันตราย เชน ถานไฟฉาย หลอดไฟ เปน ตน นาํ ไปฝง กลบและทาํ ลาย
4. ขยะทว่ั ไปท่จี ะนาํ เขาเตาเผาขยะเพ่ือทําลาย
ในการจัดกระบวนการดงั กลาว สง ผลใหป ระชาชนมสี วนรว มในการสงเสริมสิง่ แวดลอมท่ีดี
ใหก ับจังหวดั ภเู กต็ อกี ท้งั เปน การบรู ณาการในการดําเนินกิจกรรมรวมกันระหวางสวนราชการเทศบาล
นครภูเกต็ และภาคประชาชน เปนการสรา งการมสี ว นรวมระหวางองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ กบั ประชาชน
ในการรว มกันสรางสรรคส งิ่ แวดลอ มที่ดตี อกนั

กิจกรรมบทที่ 4

ขอ 1 ใหผูเ รียนแบง กลุม 3 – 4 คน ตอ 1 กลมุ และใหร วมกนั ศึกษารูปแบบขั้นตอนในการวางแผน โดย
ชว ยกันระดมความคดิ อภปิ ราย จากน้ันทาํ การสรปุ และรวมกันจัดทําแผนการพัฒนาชุมชนหรือหมูบาน
ของผเู รียน ใหม คี วามเปนอยูท ่ดี ี โดยยึดหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง มากลุม ละ 1 แผน
ขอ 2 ใหผเู รยี นศึกษาตวั อยา งของการมสี ว นรว มของภาคประชาชน ในการเขารวมพฒั นาสังคม จากนนั้
ใหร วมกนั จดั ทําแนวทางการบริหารจัดการ โดยการมีสว นรวมของประชาชนในดานตอไปน้ี

1. การอนุรกั ษสิ่งแวดลอม
2. การอนรุ กั ษด า นศลิ ปวัฒนธรรมไทย
3. การรณรงคปอ งกนั ยาเสพติด
4. การรณรงคปองกนั ไขห วดั 2009
5. การรณรงคก ารเลอื กใชผ ลิตภัณฑข องไทย

(ใหเ ลอื กเฉพาะดา นใดดา นหนง่ึ เทา นั้น)

41

บทท่ี 5
เทคนคิ การมีสว นรว มในการจดั ทาํ แผน

สาระสําคัญ
แผนมปี จ จยั สําคัญ คือ สิง่ ที่ตอ งการใหเ กดิ ขน้ึ การจดั ทาํ แผนใหเ ปนทย่ี อมรบั จาํ เปน ตองมี

วิธีการรวมมือ รวมตัดสินใจ ใหประสบการณต รงในการเรยี นรู ความตอ งการกระบวนการแกป ญ หา และ
ผลลพั ธท่จี ะเกิดขน้ึ
ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวัง

เม่อื ศกึ ษาบทท่ี 5 จบแลว ผเู รียนสามารถ
1. มีความรู ความเขา ใจ แนวคดิ เกีย่ วกับการมสี วนรว มของประชาชนในการจดั ทาํ แผน
2. บอกขน้ั ตอนการจดั ทาํ เวทปี ระชาคม การจดั สนทนากลมุ การทําประชาพจิ ารณ ลักษณะ
ของการสมั มนาและกระบวนการประชามติได
3. บอกลักษณะสําคัญของการจดั ทาํ แผนและโครงการได
4. บอกวธิ ีการเขียนรายงานและโครงงานได
ขอบขา ยเนอื้ หา
เร่อื งท่ี 1 เทคนิคการมสี วนรว มในการจัดทาํ แผน
เร่ืองที่ 2 การจดั ทาํ แผน
เรือ่ งที่ 3 การเผยแพรสูการปฏิบัติ

42

เรอ่ื งท่ี 1 เทคนคิ การมีสวนรวมในการจดั ทาํ แผน

1.1 การมีสว นรวมของประชาชนในการจดั ทาํ แผน
การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรว มในการจดั ทาํ แผน ตดั สนิ ใจ ในการวางโครงการ

สําหรบั ประชาชนเอง มวี ัตถุประสงคเ พอื่
1.1.1 ใหป ระชาชนยอมรบั ในแผนการดาํ เนนิ งาน และพรอ มจะรว มมือ เปนการลด

การตอตา น และลดความรสู ึกแตกแยกจากโครงการ
1.1.2 ใหประชาชนไดรวมตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั สถานการณ ปญ หาความตองการ ทศิ ทางของ

การแกปญหา และผลลัพธทจ่ี ะเกิดข้นึ
1.1.3 ใหประชาชนมีประสบการณต รงในการรวมแกปญ หาของประชาชนเอง

ทําใหประชาชนเกิดการเรียนรใู นกระบวนการแกป ญ หา
1.2 การจัดทาํ เวทปี ระชาคม
เวทีประชาคม เปนวิธกี ารกระตุนใหเ กดิ การเรียนรูอ ยางมีสว นรว ม ระหวางคนท่ีมีประเด็นหรือ

ปญ หารวมกันโดยใชเ วทีในการสอื่ สาร เพื่อการรบั รูและเขาใจในประเด็น/ปญหาและชวยกันหาแนวทางแกไข
ประเด็นปญหาน้นั ๆ ซึ่งมีขนั้ ตอนในกระบวนการจดั ทําเวทปี ระชาคม ดังน้ี

1.2.1 เตรยี มการ
การเตรียมทีมงานจัดเวทีประชาคม ควรแบง เปน 2 สว น คอื
1) ผอู ํานวยการเรยี นรหู ลกั หรอื วิทยากรกระบวนการหลกั ท่มี ีหนาทข่ี ับเคล่ือนการมี

สว นรวมเวทีประชาสังคมท้ังกระบวน และเปนวิทยากรหลกั ท่ที าํ ใหเ กดิ การแสดงความคิดเหน็ รว มกนั
ระหวางผเู ขา รวมอภปิ รายในเวทปี ระชาคม

2) ผูสนบั สนุนวทิ ยากรกระบวนการ ซึ่งอาจจะแสดงบทบาทเปน วทิ ยากรรอง หรอื ผูจด
บนั ทึกการประชุม ผูสนบั สนนุ ฯ มหี นา ทีเ่ ตมิ คาํ ถามในเวทีเพื่อใหประเดน็ บางประเดน็ สมบูรณมากย่ิงข้ึน
สงั เกตลกั ษณะทาทแี ละบรรยากาศของการอภปิ ราย สรปุ ประเด็นทอี่ ภปิ รายไปแลว และใหขอมูลเพ่ิมเติม
ท่ีเกี่ยวกับกลุมและบรรยากาศแกวิทยากรหลัก หากพบวาทิศทางของกระบวนการเบ่ียงเบนไปจาก
วตั ถปุ ระสงค หรอื ประเด็นท่ตี ้ังไว

1.2.2 ดาํ เนนิ การเวทีประชาคม
ในกระบวนการนผี้ อู าํ นวยการเรยี นรูหรือวิทยากรกระบวนการหลกั มบี ทบาทมากที่สดุ

ขน้ั ตอนในกระบวนการน้ปี ระกอบดว ย
1) การทาํ ความรูจ ักกนั ระหวา งผเู ขา รว มอภปิ ราย และทีมงานจัดการซึ่งวิธีการอาจจะให

หลากหลายกจิ กรรมขนึ้ อยกู บั กลมุ และภูมหิ ลังกลุม จุดมงุ หมายของข้ันตอนน้ี คือ การละลายพฤติกรรม
ในกลมุ และระหวางกลมุ กบั ทีมงาน เพอื่ สรา งบรรยากาศที่ดีระหวา งการอภิปราย


Click to View FlipBook Version